/// พระเครื่อง เครื่องราง หลากหลายคณาจารย์ ยอดนิยม///

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย โต๊ะหมู่, 20 พฤษภาคม 2024.

  1. โต๊ะหมู่

    โต๊ะหมู่ หลุยส์ พุทธคุณ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กุมภาพันธ์ 2022
    โพสต์:
    601
    ค่าพลัง:
    +9
    ปิดบูชาครับผม
     
  2. โต๊ะหมู่

    โต๊ะหมู่ หลุยส์ พุทธคุณ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กุมภาพันธ์ 2022
    โพสต์:
    601
    ค่าพลัง:
    +9
    1fab7.png นางพญา โรงพยาบาลสงฆ์ ปี 2500 พระเนื้อดินผสมผง 1fab7.png

    ที่ทาง รพ.สงฆ์ จัดสร้าง คณะกรรมการแพทย์ โรงพยาบาลสงฆ์ ได้มีมติให้ดำเนินการสร้างพระเครื่อง โดยเงินที่ได้จากการดำเนินการดังกล่าว ทางคณะแพทย์จะใช้เพื่อการรักษาโรคภัยไข้เจ็บ การประกอบพิธีถูกต้องตามตำราทั้งทางพุทธเวทย์ และ ไสยเวทย์ พระที่สร้างมีสองประเภท คือ เนื้อโลหะ (พระกริ่ง รพ.สงฆ์) และ เนื้อดินเผาผสมผงศักดิ์สิทธิ์ โดยเนื้อดินเผามีสามพิมพ์ ได้แก่ พิมพ์พระรอด พิมพ์นางพญา และ พิมพ์ชินราช
    มวลสาร - ดินจากสังเวชณียสถาน ผงว่านและ เกษรต่างๆ ผงอิทธิเจ ปถมัง มหาราช ตรีนิสิงเห ที่ได้จากพระอาจารย์มีชื่อในสมัยนั้นกว่า 700 รูป โดยให้นายแพทย์ผู้อำนวยการโรงพยาบาลประจำจังหวัดในสมัยนั้นเป็นผู้ประสานงาน ผสมผงพระกรุเก่า อาทิเช่น พระสมเด็จวัดระฆัง สมเด็จวัดสระเกศ ผงพระกรุลำพูน ฯลฯ ทำพิธีพุทธาภิเศกสองครั้ง
    -ครั้งที่หนึ่ง สามวันสามคืน ระหว่างวันที 7 – 9 มีนาคม 2500
    -ครั้งที่สอง สามวันสามคืน ระหว่างวันที่ 1 – 2 พฤษภาคม 2500
    สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต) เป็นองค์ประธาน
    พร้อมพระเกจิดัง 108 รูป ร่วมปลุกเสกในพิธี อาทิเช่น
    1.หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
    2.หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก
    3.หลวงปู่นาค วัดระฆัง
    4.หลวงพ่อแฉ่ง วัดบางพัง
    5.หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม
    6.หลวงพ่อทองสุข วัดโตนดหลวง
    7.หลวงพ่อเมี้ยน วัดพระเชตุพน
    8.หลวงพ่อถิร วัดป่าเลย์ไลยก์
    9.หลวงพ่อโชติ วัดตะโน
    10.หลวงพ่ออั้น วัดพระญาติการาม
    11.หลวงพ่อแจ่ม วัดวังแดงเหนือ
    12.หลวงปู่ใจ วัดเสด็จ
    13.หลวงพ่อแต้ม วัดพระลอย
    14.หลวงพ่อแดง วัดทุ่งคอก
    15.หลวงพ่อหลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่
    16.พ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน
    17.หลวงพ่อบุญธรรม วัดพระปฐมเจดีย์
    18.หลวงพ่อไพฑูรย์ วัดโพธิ์นิมิต
    19.หลวงพ่อหลาย วัดราษฎร์บำรุง
    20.หลวงพ่อกึ๋น วัดดอนยานาวา
    21.หลวงพ่อเหรียญ วัดหนองบัว
    22.หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม
    23.หลวงพ่อแสวง วัดกลางสวน
    24.พระครูปลัดเกีรติ วัดมหาธาตุ
    25.พระครูปลัดบุญรอด วัดประดู่พัฒนา
    26.ท่านเจ้าคุณปภัสสรมุนี วัดมิ่งเมือง
    เมื่อ พ.ศ.2500 คณะกรรมการแพทย์ได้มีศรัทธาบำเพ็ญพุทธบูชา โดยจัดสร้างพระพุทธรูปชนิดต่างๆ รวมทั้งพระเครื่องอีกหลายชนิด
    เป็นพิธีอันมโหฬารถูกต้องตามพุทธเวทย์ และครบถ้วนตามพิธีกรรมทุกประการ มีวัตถุประสงค์โดยย่อดังนี้
    1.เพื่อเป็นอนุสรณ์ในมงคลสมัยที่พระพุทธศาสนายุกาลจำเริญมาได้ครบ 2500 ปี
    2.เพื่อได้รวบรวมทุนทรัพย์จากผู้มีจิตศรัทธา สร้างพระพุทธรูปต่างๆในครั้งนี้
    สำหรับตั้งเป็นทุนเพื่อวินิจฉัยค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาการของแพทย์เพื่อเป็นประโยชน์แก่มนุษย์ชนทั่วไป
    โดยจะกล่าวแต่ที่เป็นพระเครื่องเท่านั้น ดังมีใจความดังนี้
    นายแพทย์ผู้อำนวยการโรงพยาบาล ในแต่ละจังหวัด
    ได้ขอผงศักดิ์สิทธิ์จากพระอาจารย์ที่ได้ลงอักขระในแผ่นโลหะสำหรับหล่อพระพุทธรูปโดยขอจังหวัดละ 10 องค์
    แต่ได้ผงมาจากพระอาจารย์ทั้งหมด 709 องค์ รวมทั้งดินจากสังเวชนียสถานทั้ง 4 แห่ง.
    นอกจากนี้ยังได้ผงชินและผงศักดิ์สิทธิ์เก่าแก่อีกมาก หลังจากนั้นนำผงมาประสมรวม ณ พระวิหารโรงพยาบาลสงฆ์
    จากนั้นนำผงมาประสมใส่ในพระเครื่องดินเผา โดยคลุกเคล้าอย่างละเอียดทั่วทุกองค์พระที่สร้าง
    คณะกรรมการได้สร้างพระเครื่องดินเผารวม 3 ชนิด คือ
    1.พระพุทธชินราช สำหรับประจำตัวชาย
    2.พระนางพญา สำหรับประจำตัวหญิง
    3.พระรอด สำหรับประจำตัวเด็ก
    โดยได้แยกทำ 2 แห่ง คือ
    1.พระพุทธชินราชและพระนางพญา
    ประกอบพิธีสร้างที่พระวิหารหลวง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.พิษณุโลก ประกอบพิธีสร้าง เมื่อ 30 และ 31 มกราคม 2500.
    ในวันที่ 30 ม.ค. 2500 ได้มีการนำพิมพ์พระ และผงศักดิ์สิทธิ์มาตั้งไว้ภายในพระวิหาร
    วงสายสิญจน์จากองค์พระหลวงพ่อพระพุทธชินราช ลงล้อมสิ่งของเครื่องพิธีทั้งปวง โดยเริ่มจุดเทียนชัยเวลา 19.00 น.
    มีเจ้าคณะจังหวัดเป็นประธานเจริญพระพุทธมนตร์และมีพระสงฆ์นั่งปรกบริกรรมปลุกเศกทั้งคืนโดยมีหลวงพ่อไซ้ วัดช่องลม
    จ.อุตรดิตถ์เป็นประธาน.รุ่งขึ้นเวลาเช้าได้ปฐมฤกษ์ท่านเจ้าคุณพระธรรมวโรดม วัดพระเชตุพน ได้พิมพ์พระเป็นปฐมฤกษ์
    พระสงฆ์สวดชัยมงคลคาถาแล้วดับเทียนชัย แล้วทำการพิมพ์พระจนได้ครบจำนวน
    2.พระรอด
    ประกอบพิธีสร้างที่ พระวิหารหลวง วัดพระธาตุหริภุญชัย จ.ลำพูน
    ได้ประกอบพิธีสร้างในวันที่ 31 ม.ค. 2500 โดยเริ่มตั้งแต่เวลา 08.05 น.ได้มีการเจริญพระพุทธมนตร์และสวดเบิกตามแบบเมืองเหนือ
    โดยประกอบพิธีการสร้างพระรอดแบบเก่าแต่ครั้งก่อน เสร็จพิธีแล้วได้นำผงศักดิ์สิทธิ์คลุกเคล้าลงในดินที่จะพิมพ์เป็นองค์พระ
    หลังจากนั้นจึงนำพระทั้งหมดมาเข้าพิธีพุทธาภิเษก และฉลองที่โรงพยาบาลสงฆ์ รวมเป็น 3 ครั้งด้วยกัน โดยทำการฉลองในวันที่

    "ปิดบูชา"

    2-0.jpg 2-1.jpg 2-2.jpg 2-3.jpg showimage.jpg showimage (3).jpg showimage (2).jpg showimage (1).jpg SANY0596.JPG SANY0597.JPG SANY0598.JPG SANY0599.JPG SANY0600.JPG SANY0601.JPG SANY0602.JPG SANY0603.JPG SANY0604.JPG SANY0605.JPG db865d189e0455244407ecfe4106d72b_full.jpg
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กรกฎาคม 2024 at 17:38
  3. โต๊ะหมู่

    โต๊ะหมู่ หลุยส์ พุทธคุณ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กุมภาพันธ์ 2022
    โพสต์:
    601
    ค่าพลัง:
    +9
    ปิดบูชาครับ
     
  4. โต๊ะหมู่

    โต๊ะหมู่ หลุยส์ พุทธคุณ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กุมภาพันธ์ 2022
    โพสต์:
    601
    ค่าพลัง:
    +9
    1fab7.png เหรียญเสมา 3 รอบรัชกาลที่ 9 หรือ เหรียญอนุสรณ์มหาราช ปี 2506 1fab7.png

    มีคนอีกจำนวนมากที่ไม่รู้ว่า เหรียญนี้ไม่ใช่แค่เป็นเหรียญที่ระลึก ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมายุครบ 3 รอบ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2506 เท่านั้น แท้จริงเป็นเหรียญที่ได้ผ่านพิธีการปลุกเสกอย่างยิ่งใหญ่ ณ อุโบสถวัดราชบพิธ ถึง 2 วาระด้วยกัน โดยพระคณา จารย์ที่โด่งดังในปี 2506 ซึ่งพระเครื่องของท่านเหล่านั้น ปัจจุบันเราเล่นหากันเป็นแสนเป็นล้าน เช่น อาจารย์ทิม วัดช้างไห้ ผู้สร้างหลวงพ่อทวดอันลือลั่น หลวงพ่อทบ วัดชนแดน หลวงพ่อเต๋ พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ ฯลฯ เหรียญอนุสรณ์มหาราช สร้างในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเฉลิมพระชนม์พรรษาครบ 3 รอบ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2506 เหรียญเสมา (รูปอาร์มหรือโล่ห์) เป็นเนื้ออัลปาก้า (เนื้อเงินและทองคำก็มี)
    ผ่านพิธีปลุกเสกใหญ่ ณ อุโบสถวัดราชบพิธ 2 วาระด้วยกัน ครั้งแรกวันที่ 29-30 พ.ย.2506 และครั้งที่ระหว่างวันที่ 5-6-7 เมษายน 2507
    รายนามพระคณาจารย์ที่ปลุกเสกวันที่ วันที่ 29 - 30 พฤศจิกา2506 ณ.พระอุโบสถวัดราชบพิธ(พิธีครั้งที่ 1)
    1. หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก อยุธยา
    2. หลวงพ่อพระครูโพธิสารประสาธน์ วัดโพธิสัมพันธ์ บางละมุง ชลบุรี
    3. หลวงพ่อพระวรพจรน์ปัญญาจารย์ วัดอรัญญิกาวาส ชลบุรี
    4. หลวงพ่อเมือง วัดท่าแหน แม่ทะ ลำปาง
    5. หลวงพ่อพระราชหระสิทธิคุณ วัดราชธานี สุโขทัย
    6. หลวงพ่อเงิน (พระราชธรรมาภรณ์ )วัดดอนยายหอม นครปฐม
    7. หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม นครปฐม
    8.พ่อท่านคล้าย วัดสวนขวัญ ฉวาง นครศรีธรรมราช
    9. พระครูวิสัยโสภณ (อาจารย์ทิม) วัดช้างไห้ ปัตตานี
    รายนามพระคณาจารย์ที่ปลุกเสกวันที่ 5 เมษายน 2507
    1. พระสุเมธมุนี เจ้าคณะวัดบางหลวง ปทุมธานี
    2. พระสุนทรศีลสมาจาร (หลวงพ่อผล) วัดหนัง ธนบุรี
    3. พระครูปลัดบุญรอด วัดประดู่พัฒนาราม นครศรีธรรมราช
    4. หลวงพ่อทบ วัดสว่างอรุณ ชนแดน เพชรบูรณ์
    5. พระครูนนทกิจวิมล ( หลวงพ่อชื่น) วัดตำหนักเหนือ นนทบุรี
    6. หลวงพ่อบัว วัดป่าบ้านตาด อุดรธานี
    7. พระครูพุทธมนต์วราจารย์ (พระปลัดสุพจน์) วัดสุทัศน์ พระนคร
    8. พระครูบวรธรรมกิจ (หลวงปู่เทียน) วัดโบสถ์เชียงราก ปทุมธานี
    9. หลวงพ่อหอม วัดขากหมาก ระยอง
    รายนามพระคณาจารย์ที่ปลุกเสกวันที่ 6 เมษายน 2507
    1. พระครูพิทักษ์วิการกิจ (หลวงพ่อสา) วัดราชนัดดา พระนคร
    2. พระครูสถาพรพุทธมนต์(หลวงพ่อสำเนียง) วัดเวฬุวนาราม บางเลน นครปฐม
    3. พระครูธรรมิตรนุรักษ์ วัดเขาหลัก ท่าศาลา นครศรีธรรมราช
    4. พระครูรักขิตวันมุนี (หลวงพ่อถีร์) วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี
    5. พระเทพสังวรวิมล (หลวงพ่อเจียง) วัดเจริญสุขาราม สมุทรสงคราม
    6. หลวงพ่อสำเภา วัดหงส์รัตนาราม บางกอกใหญ่ ธนบุรี
    7. พระครูบาวัง วัดบ้านเด่น จ.ตาก
    8. พระมุจรินทร์โมลี (หลวงปู่ดำ) วัดมุจรินทร์ หนองจิก ปัตตานี
    รายนามพระคณาจารย์ที่ปลุกเสกวันที่ 7 เมษายน 2507
    1. หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก บางไทร อยุธยา
    2. พระครูโพธิสารประสาธน์ (อาจารย์บุญมี) วัดโพธิสัมพันธ์ ชลบุรี
    3. พระวราพจน์ปัญญาจารย์ (หลวงพ่อวัดป่า) วัดอรัญญิกาวาส ชลบุรี
    4. หลวงพ่อเมือง วัดท่าแหน แม่ทะ ลำปาง
    5. พระราชประสิทธิคุณ (หลวงพ่อทิม) วัดราชธานี สุโขทัย
    6. พระราชธรรมาภรณ์ (หลวงพ่อเงิน) วัดดอนยายหอม นครปฐม
    7. หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม นครปฐม
    8. พระมงคลเทพมุนี (หลวงพ่อเมี้ยน) วัดพระเชตุพน พระนคร
    9. พระครูวิสัยโสภณ (อาจารย์ทิม) วัดช้างไห้ โคกโพธิ์ ปัตตานี
    การเริ่มพิธีนั้น พระเจริญคาถาภารวาณจะ ตั้งแต่เวลา 15.00 น.ของแต่ละวัน พระคณาจารย์ทุกรูปจะผลัดเปลี่ยนกันนั่งปรกบริกรรมกันตลอดเวลา จนตลอดรุ่งของทุกวัน จนถึงเช้าตรู่วันที่ 8 เมษายน 2507 เวลา 6.00 น. พระอาจารย์ที่นั่งปรกวันที่สามทั้งหมดทุกรูปประชุมพร้อมกันปลุกเสกเงียบเป็น เวลา 30 นาทีพอครบเวลาตามที่กำหนด เจ้าหน้าที่ลั่นฆ้องชัย พราหมณ์ เป่าสังข์แกว่งบัณเฑาะว์ ปี่พาทย์ทำเพลง 3 ลา พระคณาจารย์ทุกรูปประพรมน้ำพุทธมนต์เหรียญเสมาทั้งหมดที่เข้าพิธีเสร็จแล้ว เจิม พระพิธีธรรมเจริญคาถาดับเทียนชัย สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ดับเทียนชัย พราหมณ์เริ่มพิธีเบิกแว่นเวียนเทียนสมโภชเป็นเสร็จการพิธี

    "500"

    3-0.jpg 3-1.jpg 3-2.jpg 3-3.jpg 5253f48c78177573140c0edaafa3dc22.png
     
  5. โต๊ะหมู่

    โต๊ะหมู่ หลุยส์ พุทธคุณ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กุมภาพันธ์ 2022
    โพสต์:
    601
    ค่าพลัง:
    +9
    ปิดบูชาครับ
     
  6. โต๊ะหมู่

    โต๊ะหมู่ หลุยส์ พุทธคุณ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กุมภาพันธ์ 2022
    โพสต์:
    601
    ค่าพลัง:
    +9
    1fab7.png ตะกรุดสามกษัตริย์ในตลับสีผึ้ง สุดยอดเครื่องรางสายเมตตามหานิยม 1fab7.png
    สีผึ้งมีความเชื่อกันมาช้านานว่ามีพุทธคุณเป็นเลิศในด้านมหาเสน่ห์ เปี่ยมด้วยพลังอิทธิฤทธิ์ ยิ่งใครทาแล้วไปเจรจาค้าขายก็จะมีเมตตามหาเสน่ห์ต่อผู้พูดคุย พบเจอ ยุคนี้เก่งอย่างเดียวอาจจะไม่พอ เราต้องมากับความโชคดี

    "500"

    4-0.jpg 4-1.jpg 4-2.jpg 4-3.jpg
     

แชร์หน้านี้

Loading...