ประกาศข่าวแผ่นดินไหว(&การคาดการณ์)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 28 กันยายน 2006.

  1. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="96%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=headnews vAlign=top>จากกำแพงเมืองจีนถึงเขื่อนศรีนครินทร์
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=4></TD></TR><TR><TD class=dessubmmenu1><CENTER>[​IMG]</CENTER>


    จากเหตุแผ่นดินวิปโยคในมณฑลเสฉวน ประเทศจีน มาถึงเขื่อนศรีนครินทร์ จ.กาญจนบุรี การเฝ้าระวังอย่างไร้ทิศทางของไทย กับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กเครื่องมือทำลายล้างที่รอวันผลาญชีวิตผู้คน
    ซากปรักหักพังของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กในเมืองตู้เจียงหยาน เทศบาลนครชิ่ง มณฑลเสฉวน สาธารณรัฐประชาชนจีน ฝังกลบร่างไร้วิญญาณของเด็กนักเรียน ผู้ป่วย และผู้คนนับพันๆ คน กลายเป็นภาพหลอนจากเหตุธรณีพิโรธที่เกิดขึ้นอีกครั้ง วัดความรุนแรงได้ 7.8 ริกเตอร์ เมื่อช่วงบ่ายวันที่ 12 พฤษภาคมที่ผ่านมานั้น รศ.ดร.เป็นหนึ่ง วานิชชัย หัวหน้าโครงการลดภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวในประเทศไทย สถาบันพัฒนาเทคโนโลยี (เอไอที) มองเห็นความเสี่ยงบางอย่างที่แฝงอยู่ในโศกนาฏกรรมครั้งนี้หากว่าเกิดกับประเทศไทย !?!
    นั่นคือมณฑลเสฉวนมีอาคารเก่า และส่วนใหญ่เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กเหมือนในเมืองไทย ! <CENTER>[​IMG]</CENTER>


    รศ.ดร.เป็นหนึ่งอธิบายว่า พื้นที่เกิดแผ่นดินไหวในจีนครั้งนี้เคยเกิดแผ่นดินไหวมาก่อน เพราะเป็นรอยเลื่อนของเปลือกโลก เช่นเดียวกับพม่าและอินโดนีเซีย ส่วนประเทศไทยเป็นเพียงรอยเลื่อนรอง ซึ่งไม่มีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.8 ริกเตอร์ได้ หากเกิดขึ้นจริงก็จะมีความรุนแรงสูงสุดแค่ 6.8-7.2 ริกเตอร์ ทว่าก็มีศักยภาพทำลายอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีอยู่ทั่วประเทศไทยได้
    อย่างไรก็ตาม รศ.ดร.เป็นหนึ่งเชื่อว่า แผ่นดินไหวที่จีนครั้งล่าสุดนี้จะไม่กระตุ้นทำให้เกิดแผ่นดินไหวในไทย
    "เมื่อ 2 ปีก่อน มีแผ่นดินไหวขนาด 6.2 ริกเตอร์ ที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย มีผู้เสียชีวิต 5,000 คน พบเห็นซากปรักหักพังของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กเช่นเดียวกัน ในส่วนเมืองไทยพื้นที่ภาคเหนือมีความเสี่ยงสูงสุดที่จะเกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.8-7.2 ริกเตอร์ ดังนั้นกรมทรัพยากรธรณีจึงสำรวจหารอยเลื่อนกันอยู่ หากเกิดแผ่นดินไหวแค่เพียง 6.5-5 ริกเตอร์ กินพื้นที่ยาว 20 กิโลเมตร รัศมีครอบคลุม 30-40 กิโลเมตร พาดผ่านชุมชนจะเกิดอะไรขึ้น" รศ.ดร.เป็นหนึ่งตั้งคำถาม ขณะที่ประเทศไทยบังคับใช้ฎหมายควบคุมอาคารสูงในพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวในภาคเหนือ กาญจนบุรี กทม.และปริมณฑลแล้ว แต่ยังเป็นเรื่องใหม่เกินที่จะปรับตัวได้ทัน <CENTER>[​IMG]</CENTER>


    นอกจากรอยเลื่อนรองที่มีอยู่เกลื่อนประเทศไทยแล้ว ยังมีรอยเลื่อนที่ซ่อนเร้นรอการค้นหาอีกไม่น้อย ขณะที่เมืองหลวงของไทยที่เคยมีข่าวลือว่า มีรอยเลื่อนพาดผ่านแต่ก็ยังไม่ได้รับการยืนยันเป็นหลักฐานแน่ชัด แต่ที่รู้ชัดๆ คือยามเกิดแผ่นดินไหวทั้งในประเทศลาว พม่า อินโดนีเซีย และจีน ที่อยู่ห่างจากไทยร่วมพันกิโลเมตร ยังสะเทือนมาถึงมหานครแห่งสยามได้
    พื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติแผ่นดินไหวในไทย รศ.ดร.เป็นหนึ่งยังให้น้ำหนักอยู่ในภาคเหนือและ จ.กาญจนบุรี ทว่าแม้ภาคเหนือจะมีโอกาสเกิดขึ้นบ่อยครั้งกว่า แต่หากเกิดแผ่นดินไหวที่กาญจนบุรีจะมีความรุนแรงและส่งผลกระทบต่อชีวิตผู้คนมากกว่า !!!
    "ถ้าเกิดแผ่นดินไหวที่กาญจนบุรีจะมีผลกระทบต่อโครงสร้างพื้นฐานอาคาร บ้านเรือน และเขื่อนศรีนครินทร์ได้รับความเสียหาย เกิดน้ำทะลักท่วมตัวเมือง จึงต้องมีการเตือนภัยและเตรียมรับมือ โดยต้องเตรียมอาคารให้ทนแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวให้ได้ แม้ว่าเราจะมีกฎหมายรองรับในเรื่องนี้แล้ว แต่ก็ยังเป็นเรื่องใหม่ มีมูลค่าการก่อสร้างสูง ขณะเดียวกันกฎหมายฉบับนี้ควบคุมเพียงอาคารสูง 15 เมตรเท่านั้น ไม่ครอบคลุมถึงอาคารบ้านเรือนทั่วไป และเมืองไทยไม่มีอาคารที่สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กที่ทนแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวได้ การหลบอยู่ภายในอาคารก็จะไม่ช่วยอะไร" รศ.ดร.เป็นหนึ่งแนะนำ <CENTER>[​IMG]</CENTER>


    ทั้งนี้ สถิติการเกิดแผ่นดินไหวทั่วโลก 5 อันดับรุนแรงที่สุดในรอบ 30 ปี อันดับ 1 เป็นพิบัติภัยสึนามิ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 เกิดแผ่นดินไหวบริเวณเกาะสุมาตรา-ทะเลอันดามัน ขนาด 9.1 ริกเตอร์ มีผู้เสียชีวิต 283,106 คน รองลงมาคือแผ่นดินไหวที่เมืองตงซาน ประเทศจีน เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2519 มีผู้เสียชีวิตกว่า 2.5 แสนคน บาดเจ็บ 8 แสนคน
    อันดับ 3 แผ่นดินไหวขนาด 7.6 ริกเตอร์ ที่ประเทศปากีสถาน เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2548 มีผู้เสียชีวิต 8.6 หมื่นคน อันดับ 4 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.1 ริกเตอร์ ที่เม็กซิโก เมื่อวันที่ 19-21 กันยายน 2528 มีผู้เสียชีวิต 7.5 หมื่นคน และอันดับ 5 เกิดแผ่นดินไหวทางภาคตะวันตกของประเทศอิหร่าน ขนาด 6.3 ริกเตอร์ เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2533 มีผู้เสียชีวิตราว 4-5 หมื่นคน ขณะที่ประเทศไทยเองก็ยังไม่มีหลักประกันใดๆ ที่จะมั่นใจว่าโศกนาฏกรรมจากแผ่นดินไหวจะไม่เกิดขึ้น !!! <CENTER>[​IMG]</CENTER>

    http://www.komchadluek.net/2008/05/17/x_scoo_p001_202444.php?news_id=202444
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="96%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=headnews vAlign=top>ถ้าธรณีพิโรธ 7 ริกเตอร์ที่ กทม. เมืองทั้งเมืองจะราพณาสูร !?!
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=4></TD></TR><TR><TD class=dessubmmenu1><CENTER>[​IMG]</CENTER>


    สมมติว่า.. ถ้าเกิดแผ่นดินไหวขึ้นในใจกลางเมืองหลวงของประเทศไทย ความรุนแรงแค่ 7 ริกเตอร์ อะไรจะบังเกิดขึ้น ผู้เชี่ยวชาญฟันธงว่า เมืองทั้งเมืองต้องราบเป็นหน้ากลองแน่ๆ เพราะ กทม.เป็นพื้นที่ดินอ่อน นี่เป็นแค่สมมติฐาน เพียงเพื่อให้เราเตรียมรับมือกับภัยพิบัตินี้เท่านั้น หาใช่ทำให้ใครแตกตื่นไม่ รายละเอียดหน้า 2
    ในขณะที่มหันตภัยทางธรรมชาติกำลังทวีความรุนแรงขึ้นทุกขณะ พายุไซโคลนนาร์กีสถล่มพม่า ผู้คนล้มตายสูญหายนับแสนชีวิต ตามติดมาด้วยแผ่นดินไหวที่มณฑลเสฉวน สาธารณรัฐประชาชนจีน วัดขนาดความรุนแรงได้ 7.8 ริกเตอร์ ประชาชนนับหมื่นถูกฝังอยู่ใต้ซากปรักหักพัง จนหลายฝ่ายต่างตื่นตัวหันมาให้ความสนใจกับมาตรการป้องกันและเตือนภัย เพื่อรองรับสถานการณ์วิกฤติที่อาจจะเกิดขึ้น
    ประเทศไทยเองก็เช่นเดียวกัน นักวิชาการด้านธรณีวิทยา นักวิชาการด้านอุตุนิยมวิทยา ตลอดจนนักวิชาการที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ต่างก็หันมาให้ความสนใจกับวิกฤติทางธรรมชาติ เพื่อหาทางป้องกันและเยียวยาเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันขึ้น
    กระทั่งมีคำถามว่า ถ้าเกิดแผ่นดินไหวขนาด 7 ริกเตอร์ ที่ กทม.จะมีสภาพอย่างไร ?
    "เมืองจะราพณาสูร !?!"
    คือคำตอบของ รศ.ดร.ปัญญา จารุศิริ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยธรณีวิทยาแผ่นดินไหวและธรณีแปรสัณฐาน ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    รศ.ดร.ปัญญาแจกแจงทำความเข้าใจว่า หากศูนย์กลางแผ่นดินไหวเกิดขึ้นที่ กทม. เมืองทั้งเมืองจะพังพินาศจนราพณาสูร เนื่องจากใต้ กทม.และรอบๆ ปริมณฑลมีรอยเลื่อนอยู่ แต่ไม่มีใครสามารถบอกได้ว่าเป็นรอยเลื่อนที่มีพลังหรือไม่ ?
    อย่างไรก็ตาม หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยธรณีวิทยาแผ่นดินไหวฯ บอกว่า ไม่จำเป็นต้องมากถึงขนาด 7 ริกเตอร์ หากศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ที่ กทม. เพียงแค่ 5 ริกเตอร์ เมืองทั้งเมืองก็ราพณาสูรได้เช่นกัน
    แต่ถ้าเกิดแผ่นดินไหวขนาด 7 ริกเตอร์ ที่ จ.กาญจนบุรี หรือชายแดนไทย-พม่า บริเวณ อ.ทองผาภูมิ ก็นับเป็นสิ่งน่ากลัวเช่นเดียวกัน ขึ้นอยู่กับค่าของการสั่นว่าจะพอดีกับรอยเลื่อนใต้ กทม.หรือไม่ ด้วยดินใต้ กทม.เป็นดินอ่อน ดังนั้นการขยายคลื่นจะทำได้มาก 3-4 เท่า จากที่ควรจะเป็น และหากเป็นเช่นนั้นก็จะสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวง
    "เมื่อ 1,500-2,000 ปีก่อน เคยเกิดแผ่นดินไหวที่ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี วัดความสั่นสะเทือนได้ 7 ริกเตอร์ มาแล้วครั้งหนึ่ง สมัยนั้น กทม.ยังไม่เกิดด้วยซ้ำ เลยไม่มีข้อมูลทางประวัติศาสตร์ว่าได้รับผลกระทบหรือไม่ ทว่าปัจจุบันนี้ กทม.เต็มไปด้วยเมืองและอาคารสูง ถ้าเกิดขึ้นจริงก็เป็นเรื่องน่าห่วง"
    และหากเกิดแผ่นดินไหวที่กาญจนบุรี หรือชายแดนไทย-พม่า ด้านตะวันตก จะส่งผลต่อเขื่อนศรีนครินทร์หรือไม่ ? โดยส่วนตัว รศ.ดร.ปัญญาเชื่อว่าวิศวกรของ กฟผ.ได้คำนวณโครงสร้างเอาไว้แล้วว่า น่าจะรองรับได้ เขื่อนไม่น่าจะแตก แต่ขณะเดียวกันก็ไม่ใช่ว่าโอกาสที่เขื่อนจะแตกไม่มี
    รศ.ดร.ปัญญาอธิบายว่า โอกาสที่เขื่อนจะแตกหรือไม่ขึ้นอยู่กับเวลาของการสั่นสะเทือน หากเกิดแผ่นดินไหวนานๆ เขื่อนก็เปรียบไม่ต่างอะไรกับแก้วที่มีน้ำ เมื่อมีแรงสั่นน้ำก็จะกระฉอกออกมา อาจจะส่งผลให้ดินบริเวณนั้นถล่มก็เป็นได้ หากไม่เตรียมพร้อมอพยพประชาชนท้ายเขื่อนก็จะเป็นอันตราย
    "ไม่มีใครบอกได้หรอกว่าแผ่นดินจะไหว 4 วินาที หรือ 4 นาที ถ้า 4 นาทีก็แย่"
    ขณะเดียวกัน รศ.ดร.ปัญญาอธิบายด้วยว่า หลายคนนึกภาพเขื่อนแตกว่าเหมือนกับการยกกำแพงกั้นน้ำออก เขื่อนจะราพณาสูรลงอย่างรวดเร็ว น้ำจะไหลทะลักออกมาทั้งเขื่อน แท้ที่จริงแล้วจะไม่เป็นเช่นนั้น เขื่อนจะค่อยๆ แตกเป็นรอยร้าว เป็นรูปลดปล่อยน้ำออกมา น้ำก็จะไหลไปตามแม่น้ำ ชาวบ้านใกล้ริมน้ำและท้ายน้ำจะได้รับผลกระทบ แต่ถ้ามีการเตือนภัยที่ดีก็จะช่วยได้มาก
    ด้าน ดร.สมิทธ ธรรมสโรช ประธานอำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ แม้จะไม่อยากพูดถึงการเกิดแผ่นดินไหวใน กทม. เพราะเกรงประชาชนจะแตกตื่น ทว่าบนสมมติฐานหากเกิดแผ่นดินไหว 7 ริกเตอร์ ที่ กทม. ดร.สมิทธให้ความเห็นว่า เมืองหลวงของประเทศไทยคงไม่เป็นเมือง จะเห็นตึกหลายๆ ตึกถล่มลงมา เนื่องจาก กทม.ตั้งอยู่บนเลนหรือดินปากแม่น้ำ จะทำให้แผ่นดินทรุดตัวหากเกิดแผ่นดินไหวขึ้น ประกอบกับรัฐบาลและวิศวกรไทยไม่มีการคำนวณโครงสร้างตึกให้รองรับแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง
    "เคยคุยกับวิศวกรหลายคนในเมืองไทย ทุกคนพูดเหมือนกันหมดว่า เป็นเรื่องน่าห่วงอย่างมาก หากผู้มีอำนาจไม่ยอมศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ แล้วออกเป็นพระราชบัญญัติหรือกฎหมายเกี่ยวกับความมั่นคงของรากฐานและโครงสร้างตึก หากประเทศไทยเกิดแผ่นดินไหวก็คงเหมือนกับที่เกิดขึ้นที่ประเทศจีน ก็บอกแล้วว่าแผ่นดินไหวเกิดขึ้นทันที ไม่มีใครสามารถรู้ตัวได้ก่อน ทำได้เพียงข้อปฏิบัติหลังจากเกิดแผ่นดินไหวเท่านั้นเอง"
    อย่างไรก็ตาม ดร.สมิทธไม่อยากให้คนไทยวิตกกังวลเกี่ยวกับพิบัติภัยแผ่นดินไหว เพราะเป็นเรื่องของธรรมชาติ และประเด็นสำคัญคือ ประเทศไทยไม่ได้อยู่แนวเดียวกับประเทศญี่ปุ่นที่เป็นแนวภูเขาไฟ
    ขณะที่ รศ.ดร.เป็นหนึ่ง วานิชชัย หัวหน้าโครงการลดภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวในประเทศไทย สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (เอไอที) ไม่ขอตอบคำถามจากสมมติฐานข้างต้น ด้วยเห็นว่าเป็นไปไม่ได้
    แต่ถ้าเกิดแผ่นดินไหวที่ จ.กาญจนบุรี ซึ่งมีรอยเลื่อนใหญ่พอสมควรและมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวขนาดความรุนแรงมากกว่า 7 ริกเตอร์ หรืออาจจะสูงถึง 7.3-7.5 ริกเตอร์ รศ.ดร.เป็นหนึ่งบอกว่า จะส่งผลกระทบต่อ กทม.อย่างรุนแรงมากกว่า จ.กาญจนบุรี
    สาเหตุที่ กทม.จะได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงมากกว่ากาญจนบุรี แม้ว่าจะอยู่ห่างกันกว่า 200 กิโลเมตร ในความเห็นของ รศ.ดร.เป็นหนึ่ง ก็เหมือนกับนักวิชาการข้างต้นให้ข้อสรุปไปแล้ว คือ สภาพดินใน กทม.เป็นดินอ่อน แรงสั่นสะเทือนที่ลดลงแล้วจะเพิ่มระดับความรุนแรงขึ้นได้ ประกอบกับ กทม.มีความเป็นเมืองมากกว่า จึงได้รับผลกระทบมากกว่า
    ส่วนผลกระทบจากความเสียหายใน กทม.นั้น รศ.ดร.เป็นหนึ่งไม่สามารถตอบได้ เพราะต้องดำเนินการเก็บข้อมูลอาคารระดับต่างๆ ในพื้นที่และจำนวนประชากรที่อาศัยอยู่ จึงจะคำนวณผลกระทบที่เกิดขึ้นได้
    "ขณะนี้กรมอุตุนิยมวิทยาได้ว่าจ้างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีแห่งเอเชียเก็บข้อมูลอาคารต่างๆ ใน กทม. เพื่อเป็นฐานข้อมูลที่จะตอบคำถามถึงผลกระทบเหล่านี้ได้"
    อย่างไรก็ตาม รศ.ดร.เป็นหนึ่งยกตัวอย่างผลกระทบจากเหตุแผ่นดินไหวในประเทศเม็กซิโก ขนาดความรุนแรง 8 ริกเตอร์ ศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ห่างจากเมืองหลวงไป 400 กิโลเมตร ยังทำความเสียหายแก่อาคารเล็กๆ ถึง 2% และอาคารสูง 20% บางตึกถล่มลงมาทั้งตึก มีผู้เสียหายเป็นหมื่นคน ในขณะที่ กทม.ยังมีอาคารที่อ่อนแออยู่เยอะ ทั้งหมดนี้อยู่บนสมมติฐาน "ถ้า" เกิดแผ่นดินไหว 7 ริกเตอร์ ที่ กทม.เท่านั้น !?!

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.komchadluek.net/2008/05/17/x_scoo_p001_202655.php?newsid=202655
     
  3. Ben31

    Ben31 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2008
    โพสต์:
    32
    ค่าพลัง:
    +17
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD class=subtitle colSpan=8>รายงานแผ่นดินไหวในรอบ 15 วัน </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#d9d9d9 cellSpacing=0 borderColorDark=#ffffff cellPadding=3 width="100%" borderColorLight=#d9d9d9 border=1><TBODY><TR class=RH><TD>วันที่</TD><TD>เวลา</TD><TD>จุดศูนย์กลาง</TD><TD>ละติจูด</TD><TD>ลองจิจูด</TD><TD>ขนาด</TD><TD>ลึกจากพื้นดิน</TD><TD>หมายเหตุ</TD></TR><TR class=RADS align=middle><TD>16 พ.ค. 51</TD><TD>07:33</TD><TD align=left>NORTHERN SUMATRA, INDONESIA</TD><TD>4&deg; 25' 48'' N</TD><TD>96&deg; 37' 12'' E</TD><TD>5.2 </TD><TD>21 </TD><TD align=left></TD></TR><TR class=RDS align=middle><TD>14 พ.ค. 51</TD><TD>04:48</TD><TD align=left>LUZON, PHILIPPINES</TD><TD>16&deg; 33' 00'' N</TD><TD>122&deg; 18' 00'' E</TD><TD>5.3 </TD><TD>60 </TD><TD align=left></TD></TR><TR class=RADS align=middle><TD>13 พ.ค. 51</TD><TD>21:14</TD><TD align=left>LUZON, PHILIPPINES</TD><TD>16&deg; 36' 00'' N</TD><TD>122&deg; 20' 24'' E</TD><TD>5.3 </TD><TD>60 </TD><TD align=left></TD></TR><TR class=RDS align=middle><TD>13 พ.ค. 51</TD><TD>17:29</TD><TD align=left>NORTHERN SUMATRA, INDONESIA</TD><TD>4&deg; 32' 24'' N</TD><TD>95&deg; 11' 24'' E</TD><TD>5.6 </TD><TD>60 </TD><TD align=left></TD></TR><TR class=RADS align=middle><TD>13 พ.ค. 51</TD><TD>05:57</TD><TD align=left>TAIWAN REGION</TD><TD>24&deg; 02' 24'' N</TD><TD>122&deg; 38' 24'' E</TD><TD>5.0 </TD><TD>12 </TD><TD align=left></TD></TR><TR class=RDS align=middle><TD>12 พ.ค. 51</TD><TD>13:27</TD><TD align=left>มณฑลเสฉวน ประเทศจีน</TD><TD>31&deg; 54' 00'' N</TD><TD>102&deg; 42' 00'' E</TD><TD>7.6 </TD><TD></TD><TD align=left></TD></TR><TR class=RADS align=middle><TD>04 พ.ค. 51</TD><TD>14:55</TD><TD align=left>อ. ปลายพระยา จ. กระบี่ ประเทศไทย</TD><TD>8&deg; 38' 20'' N</TD><TD>98&deg; 44' 10'' E</TD><TD>2.7 </TD><TD></TD><TD align=left></TD></TR><TR class=RDS align=middle><TD>04 พ.ค. 51</TD><TD>13:59</TD><TD align=left>ประเทศพม่า</TD><TD>21&deg; 34' 10'' N</TD><TD>98&deg; 04' 49'' E</TD><TD>3.6 </TD><TD></TD><TD align=left>จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวห่างจาก อ.เมืองเชียงราย ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ 256 กิโลเมตร </TD></TR><TR class=RF><TD></TD><TD>เวลาไทย</TD><TD></TD><TD></TD><TD></TD><TD>ริกเตอร์</TD><TD>กิโลเมตร</TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. Ben31

    Ben31 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2008
    โพสต์:
    32
    ค่าพลัง:
    +17
    <TABLE borderColor=#d9d9d9 cellSpacing=0 borderColorDark=#ffffff cellPadding=3 width="100%" borderColorLight=#d9d9d9 border=1><TBODY><TR><TD class=subTitle colSpan=3>การวัดปริมาณน้ำฟ้าหรือหยาดน้ำฟ้า</TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>1</TD><TD>น้ำฟ้า หรือ หยาดน้ำฟ้า</TD><TD>Precipitation</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>2</TD><TD>เม็ดฝน</TD><TD>Rain drop</TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>3</TD><TD>ฝนละออง หรือ ฝนหยิม</TD><TD>Drizzle</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>4</TD><TD>เม็ดฝนละออง</TD><TD>Drizzle drop</TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>5</TD><TD>ฝนซู่หรือฝนไล่ช้าง</TD><TD>Shower</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>6</TD><TD>ฝนซู่ หรือ ฝนไล่ช้าง</TD><TD>Rain shower</TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>7</TD><TD>ฝนแนวปะทะ</TD><TD>Frontal rain</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>8</TD><TD>ฝนชะช่อมะม่วง หรือฝนชะลาน</TD><TD>Mangoshower </TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>9</TD><TD>น้ำฟ้าฟ้าคะนอง</TD><TD>Thundery precipitation</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>10</TD><TD>ฝนฟ้าคะนอง</TD><TD>Thundery rain</TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>11</TD><TD>น้ำฟ้าท้องถิ่น หรือน้ำฟ้าเฉพาะแห่งหรือบางแห่ง</TD><TD>Local precipitation</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>12</TD><TD>ฝนตกท้องถิ่น หรือฝนเฉพาะแห่งหรือบางแห่ง</TD><TD>Local rainfall</TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>13</TD><TD>จำนวนฝน หรือปริมาณฝน</TD><TD>Rainfall amount</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>14</TD><TD>ความแรงของน้ำฟ้า</TD><TD>Rainfall intensity</TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>15</TD><TD>วันที่มีฝนตก</TD><TD>Rainy day</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>16</TD><TD>ฤดูฝน </TD><TD>Rainy season</TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>17</TD><TD>ฤดูแล้ง</TD><TD>Dry season</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>18</TD><TD>น้ำท่วม หรือ น้ำขัง</TD><TD>Flood</TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>19</TD><TD>น้ำท่วมฉับพลัน หรือน้ำป่า</TD><TD>Flash flood</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>20</TD><TD>น้ำเอ่อท่วม</TD><TD>Inundation</TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>21</TD><TD>ภัยแล้ง</TD><TD>Drought </TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>22</TD><TD>ระยะแล้ง</TD><TD>Dry spell</TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>23</TD><TD>ฝนวัดจำนวนไม่ได้</TD><TD>Trace</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>24</TD><TD>ฝนเล็กน้อย</TD><TD>Slight rain</TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>25</TD><TD>ฝนปานกลาง</TD><TD>Moderate rain </TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>26</TD><TD>ฝนหนัก</TD><TD>Heavy rain</TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>27</TD><TD>ฝนหนักมาก</TD><TD>Very heavy rain</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>28</TD><TD>ฝนหนักมากที่สุด เสมือนฟ้ารั่ว</TD><TD>Torrential rain</TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>29</TD><TD>ฝนเป็นบางแห่ง</TD><TD>Isolated rain or showers</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>30</TD><TD>ฝนเป็นแห่ง ๆ </TD><TD>Widely scattered rain or showers</TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>31</TD><TD>ฝนกระจาย</TD><TD>Scattered rain or showers</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>32</TD><TD>ฝนเกือนทั่วไป</TD><TD>Almost widespread rain</TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>33</TD><TD>ฝนเป็นบริเวณกว้าง หรือฝนทั่วไป</TD><TD>Widespread rain</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>34</TD><TD>น้ำป่าไหลหลาก</TD><TD></TD></TR><TR bgColor=#f2fafc><TD align=middle>35</TD><TD>น้ำล้นตลิ่ง </TD><TD>Overbank Flow</TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD align=middle>36</TD><TD>ฝน</TD><TD>Rain</TD></TR></TBODY></TABLE>

    ขอบพระคุณ กรมอุตุนิยมวิทยา เป็นอย่างสูงhttp://www.tmd.go.th/met_dict.php
     
  5. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    Magnitude 5.6 - SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA

    2008 May 18 12:17:24 UTC

    Instrumental Intensity

    <MAP name=Instrumental_Intensity_imap><AREA title="Station Epicenter: S3.08 E101.49 M=5.6" shape=CIRCLE coords=299,312,7 href="javascript:quake()" name="quake"><AREA title="Station About Intensities" shape=RECT coords=45,572,548,593 href="http://www.abag.ca.gov/bayarea/eqmaps/doc/mmi.html" name="intensity"></MAP>[​IMG]
    Peak Ground Acceleration

    <MAP name=Peak_Ground_Acceleration_imap><AREA title="Station Epicenter: S3.08 E101.49 M=5.6" shape=CIRCLE coords=299,312,7 href="javascript:quake()" name="quake"></MAP>Available Formats: JPG (76 kB) || PS (350 kB) || Contours (5 kB)[​IMG]
    Peak Ground Velocity

    <MAP name=Peak_Ground_Velocity_imap><AREA title="Station Epicenter: S3.08 E101.49 M=5.6" shape=CIRCLE coords=299,312,7 href="javascript:quake()" name="quake"></MAP>Available Formats: JPG (76 kB) || PS (350 kB) || Contours (8 kB)[​IMG]
    Uncertainty

    Available Formats: JPG (49 kB) || PS (24 kB)[​IMG]
    0.3 sec Period

    <MAP name=0.3_sec_Period_imap><AREA title="Station Epicenter: S3.08 E101.49 M=5.6" shape=CIRCLE coords=299,312,7 href="javascript:quake()" name="quake"></MAP>Available Formats: JPG (82 kB) || PS (350 kB)[​IMG]
    1.0 sec Period

    <MAP name=1.0_sec_Period_imap><AREA title="Station Epicenter: S3.08 E101.49 M=5.6" shape=CIRCLE coords=299,312,7 href="javascript:quake()" name="quake"></MAP>Available Formats: JPG (82 kB) || PS (350 kB)[​IMG]
    3.0 sec Period

    <MAP name=3.0_sec_Period_imap><AREA title="Station Epicenter: S3.08 E101.49 M=5.6" shape=CIRCLE coords=299,312,7 href="javascript:quake()" name="quake"></MAP>Available Formats: JPG (82 kB) || PS (350 kB)[​IMG]
    Decorated

    Available Formats: JPG (108 kB) || PS (884 kB) || TXT - Info Sheet (8 kB)[​IMG]
    Bare

    Available Formats: JPG (110 kB) || PS (884 kB) || TXT - Info Sheet (8 kB)[​IMG]
     
  6. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    Magnitude 5.0 - OFFSHORE COQUIMBO, CHILE

    2008 May 18 17:14:49 UTC


    Earthquake Location [​IMG] [​IMG]
     
  7. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    Magnitude 5.6 - SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA

    2008 May 18 12:17:24 UTC


    [​IMG]
     
  8. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    Magnitude 5.1 SICHUAN-GANSU BORDER REG, CHINA

    Monday, May 19, 2008 at 06:06:54 UTC


    Earthquake Location
    [​IMG] [​IMG]
    [​IMG]
    <SMALL minmax_bound="true">Major Tectonic Boundaries: Subduction Zones -purple, Ridges -red and Transform Faults -green </SMALL>
    [​IMG]
    <SMALL minmax_bound="true">Major Tectonic Boundaries: Subduction Zones -purple, Ridges -red and Transform Faults -green </SMALL>[​IMG]
    Map of CHINA
     
  9. littlelucky

    littlelucky เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    295
    ค่าพลัง:
    +1,938
    <table border="0" bordercolor="white"><tbody><tr><th align="left">Date </th><th> </th> <th align="left">Time </th><th> </th> <th align="left">Description of Location </th><th> </th> <th align="left">Magnitude </th><th> </th> <th align="left">Depth (km) </th><th> </th></tr></tbody></table><table border="0" bordercolor="white"><tbody><tr><th align="left">19th May 2008</th><th> </th><th align="left">14:26</th><th> </th><th align="left">Northern Sumatra, Indonesia</th><th> </th><th align="center">5.9</th><th> </th><th align="left">11.60 </th><th> </th><th align="left">More Details</th><th> </th></tr></tbody></table>แผ่นดินไหว ในระดับตื้นครับ คงเกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก แบบที่เกิดในจีน
    ระวังด้วยครับ


    --------------------------------------------------
    Magnitude 6.2 - NORTHERN SUMATRA, INDONESIA


    2008 May 19 14:26:50 UTC
    Where can I find...?

    Earthquake Details

    <table id="parameters" summary="Earthquake Details"><tbody><tr><th>Magnitude</th><td>6.2 (Preliminary magnitude — subject to revision)</td></tr> <tr><th>Date-Time</th><td>
    • Monday, May 19, 2008 at 14:26:50 UTC
    • Monday, May 19, 2008 at 09:26:50 PM at epicenter
    </td></tr> <tr><th>Location</th><td> 2.000°N, 99.200°E</td></tr> <tr><th>Depth</th><td>38 km (23.6 miles) set by location program</td></tr> <tr><th>Region</th><td>NORTHERN SUMATRA, INDONESIA</td></tr> <tr><th>Distances</th><td>
    • 56 km (34 miles) NE (53°) from Sibolga, Sumatra, Indonesia
    • 186 km (116 miles) SSE (161°) from Medan, Sumatra, Indonesia
    • 299 km (186 miles) WNW (303°) from Pekanbaru, Sumatra, Indonesia
    • 305 km (190 miles) WSW (246°) from KUALA LUMPUR, Malaysia
    </td></tr> <tr><th>Location Uncertainty</th><td>Error estimate not available</td></tr> <tr><th>Parameters</th><td>NST=010, Nph=010, Dmin=104.5 km, Rmss=0.16 sec, Gp=130°,
    M-type=moment magnitude (Mw), Version=1</td></tr> <tr><th>Source</th><td></td></tr> <tr><th>Event ID</th><td>at00120721</td></tr></tbody></table>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 พฤษภาคม 2008
  10. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    Magnitude 6.2 - NORTHERN SUMATRA, INDONESIA

    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
     
  11. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    Population Exposure
    Population per ˜1 square km from Landscan 2005
    [​IMG]
    Selected City Exposure

    <TABLE class=citysum style="CURSOR: pointer" cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 _counted="undefined"><TBODY><TR><TH class=mmi>MMI</TH><TH class=cityname>City</TH><TH class=population>Population</TH></TR><TR><TD class=mmi style="BACKGROUND-COLOR: rgb(166,255,97)">V</TD><TD class=cityname style="BACKGROUND-COLOR: rgb(166,255,97)">Padangsidempuan</TD><TD class=population style="BACKGROUND-COLOR: rgb(166,255,97)">100k</TD></TR><TR><TD class=mmi style="BACKGROUND-COLOR: rgb(122,255,148)">V</TD><TD class=cityname style="BACKGROUND-COLOR: rgb(122,255,148)">Sibolga</TD><TD class=population style="BACKGROUND-COLOR: rgb(122,255,148)">79k</TD></TR><TR><TD class=mmi style="BACKGROUND-COLOR: rgb(123,255,181)">V</TD><TD class=cityname style="BACKGROUND-COLOR: rgb(123,255,181)">Bandar</TD><TD class=population style="BACKGROUND-COLOR: rgb(123,255,181)">31k</TD></TR><TR><TD class=mmi style="BACKGROUND-COLOR: rgb(124,255,188)">V</TD><TD class=cityname style="BACKGROUND-COLOR: rgb(124,255,188)">Rantauprapat</TD><TD class=population style="BACKGROUND-COLOR: rgb(124,255,188)">103k</TD></TR><TR><TD class=mmi style="BACKGROUND-COLOR: rgb(125,255,201)">IV</TD><TD class=cityname style="BACKGROUND-COLOR: rgb(125,255,201)">Makassar</TD><TD class=population style="BACKGROUND-COLOR: rgb(125,255,201)">1k</TD></TR><TR><TD class=mmi style="BACKGROUND-COLOR: rgb(126,255,234)">IV</TD><TD class=cityname style="BACKGROUND-COLOR: rgb(126,255,234)">Teluknibung</TD><TD class=population style="BACKGROUND-COLOR: rgb(126,255,234)">25k</TD></TR><TR><TD class=mmi style="BACKGROUND-COLOR: rgb(126,255,235)">IV</TD><TD class=cityname style="BACKGROUND-COLOR: rgb(126,255,235)">Kisaran</TD><TD class=population style="BACKGROUND-COLOR: rgb(126,255,235)">129k</TD></TR><TR><TD class=mmi style="BACKGROUND-COLOR: rgb(127,255,245)">IV</TD><TD class=cityname style="BACKGROUND-COLOR: rgb(127,255,245)">Pematangsiantar</TD><TD class=population style="BACKGROUND-COLOR: rgb(127,255,245)">209k</TD></TR><TR><TD class=mmi style="BACKGROUND-COLOR: rgb(130,252,255)">IV</TD><TD class=cityname style="BACKGROUND-COLOR: rgb(130,252,255)">Sunggal</TD><TD class=population style="BACKGROUND-COLOR: rgb(130,252,255)">157k</TD></TR><TR><TD class=mmi style="BACKGROUND-COLOR: rgb(130,252,255)">IV</TD><TD class=cityname style="BACKGROUND-COLOR: rgb(130,252,255)">Medan</TD><TD class=population style="BACKGROUND-COLOR: rgb(130,252,255)">1750k</TD></TR><TR><TD class=mmi style="BACKGROUND-COLOR: rgb(131,252,255)">IV</TD><TD class=cityname style="BACKGROUND-COLOR: rgb(131,252,255)">Binjai</TD><TD class=population style="BACKGROUND-COLOR: rgb(131,252,255)">228k</TD></TR></TBODY></TABLE>
    Shaking Intensity
    MMI
    [​IMG]
     
  12. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    Magnitude 5.6 - EASTERN RUSSIA-N.E. CHINA BORDER REGION

    2008 May 19 10:08:35 UTC

    [​IMG]
     
  13. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    Magnitude 5.2 - LAKE BAYKAL REGION, RUSSIA

    2008 May 20 20:42:44 UTC


    Historic Seismicity
    [​IMG]
     
  14. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    Magnitude 5.7 - SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA

    2008 May 20 17:08:00 UTC

    [​IMG]
     
  15. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    Magnitude 5.4 - CENTRAL PERU

    2008 May 20 21:37:12 UTC

    [​IMG]
     
  16. kikinlala

    kikinlala เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    4,939
    ค่าพลัง:
    +8,843
    เข้ามาอ่าน อยากรู้ว่าเป็นอย่างไร แต่ก็ดูไม่ค่อยเป็นเลยค่ะ
     
  17. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    รายงานแผ่นดินไหวในรอบ 15 วัน <table bordercolordark="#ffffff" bordercolorlight="#d9d9d9" border="1" bordercolor="#d9d9d9" cellpadding="3" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr class="RH"> <td>วันที่</td> <td>เวลา</td> <td>จุดศูนย์กลาง</td> <td>ละติจูด</td> <td>ลองจิจูด</td> <td>ขนาด</td> <td>ลึกจากพื้นดิน</td> <td>หมายเหตุ</td> </tr> <tr class="RADS" align="center"><td>23 พ.ค. 51</td><td> 01:58</td><td align="left">NORTHERN SUMATRA, INDONESIA</td><td>1° 50' 24'' N</td><td>98° 57' 36'' E</td><td>5.4 </td><td>40 </td><td align="left"> </td></tr><tr class="RDS" align="center"><td>22 พ.ค. 51</td><td> 06:23</td><td align="left">SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA</td><td>4° 30' 00'' S</td><td>101° 04' 48'' E</td><td>5.3 </td><td>27 </td><td align="left"> </td></tr><tr class="RADS" align="center"><td>22 พ.ค. 51</td><td> 05:22</td><td align="left">SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA</td><td>4° 02' 24'' S</td><td>101° 16' 48'' E</td><td>5.6 </td><td>2 </td><td align="left"> </td></tr><tr class="RDS" align="center"><td>22 พ.ค. 51</td><td> 03:17</td><td align="left">SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA</td><td>4° 19' 12'' S</td><td>102° 21' 36'' E</td><td>5.3 </td><td>56 </td><td align="left"> </td></tr><tr class="RADS" align="center"><td>21 พ.ค. 51</td><td> 00:07</td><td align="left">SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA</td><td>3° 21' 36'' S</td><td>101° 14' 24'' E</td><td>5.6 </td><td>40 </td><td align="left"> </td></tr><tr class="RDS" align="center"><td>20 พ.ค. 51</td><td> 19:22</td><td align="left">SIMEULUE, INDONESIA</td><td>2° 09' 00'' N</td><td>96° 46' 48'' E</td><td>5.0 </td><td>33 </td><td align="left"> </td></tr><tr class="RADS" align="center"><td>19 พ.ค. 51</td><td> 21:49</td><td align="left">NORTHERN SUMATRA, INDONESIA</td><td>1° 49' 12'' N</td><td>98° 58' 12'' E</td><td>5.1 </td><td>10 </td><td align="left"> </td></tr><tr class="RDS" align="center"><td>19 พ.ค. 51</td><td> 21:26</td><td align="left">NORTHERN SUMATRA, INDONESIA</td><td>1° 41' 24'' N</td><td>99° 12' 36'' E</td><td>5.8 </td><td>10 </td><td align="left"> </td></tr><tr class="RADS" align="center"><td>18 พ.ค. 51</td><td> 19:17</td><td align="left">SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA</td><td>3° 10' 48'' S</td><td>101° 22' 12'' E</td><td>5.7 </td><td>48 </td><td align="left"> </td></tr><tr class="RDS" align="center"><td>18 พ.ค. 51</td><td> 09:59</td><td align="left">NIAS REGION, INDONESIA</td><td>1° 22' 48'' N</td><td>97° 09' 00'' E</td><td>5.0 </td><td>30 </td><td align="left"> </td></tr><tr class="RADS" align="center"><td>16 พ.ค. 51</td><td> 07:33</td><td align="left">NORTHERN SUMATRA, INDONESIA</td><td>4° 25' 48'' N</td><td>96° 37' 12'' E</td><td>5.2 </td><td>21 </td><td align="left"> </td></tr><tr class="RDS" align="center"><td>14 พ.ค. 51</td><td> 04:48</td><td align="left">LUZON, PHILIPPINES</td><td>16° 33' 00'' N</td><td>122° 18' 00'' E</td><td>5.3 </td><td>60 </td><td align="left"> </td></tr><tr class="RADS" align="center"><td>13 พ.ค. 51</td><td> 21:14</td><td align="left">LUZON, PHILIPPINES</td><td>16° 36' 00'' N</td><td>122° 20' 24'' E</td><td>5.3 </td><td>60 </td><td align="left"> </td></tr><tr class="RDS" align="center"><td>13 พ.ค. 51</td><td> 17:29</td><td align="left">NORTHERN SUMATRA, INDONESIA</td><td>4° 32' 24'' N</td><td>95° 11' 24'' E</td><td>5.6 </td><td>60 </td><td align="left"> </td></tr><tr class="RADS" align="center"><td>13 พ.ค. 51</td><td> 05:57</td><td align="left">TAIWAN REGION</td><td>24° 02' 24'' N</td><td>122° 38' 24'' E</td><td>5.0 </td><td>12 </td><td align="left"> </td></tr><tr class="RDS" align="center"><td>12 พ.ค. 51</td><td> 13:27</td><td align="left">มณฑลเสฉวน ประเทศจีน</td><td>31° 54' 00'' N</td><td>102° 42' 00'' E</td><td>7.6 </td><td> </td><td align="left"> </td></tr><tr class="RF"> <td> </td> <td>เวลาไทย</td> <td> </td> <td> </td> <td> </td> <td>ริกเตอร์</td> <td>กิโลเมตร</td> <td> </td> </tr></tbody></table>
    แผ่นดินไหวสุมาตร ถี่ เกินไปแระ ระวังกันไว้ด้วยนะ
     
  18. amm.

    amm. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 มกราคม 2008
    โพสต์:
    243
    ค่าพลัง:
    +613
    หรือจะเกี่ยวกับภูเขาไฟที่จะระเบิด...
     
  19. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,116
    ค่าพลัง:
    +62,425
    นั่นสิครับ ตอนนี้ภูเขาไฟเหมือนใกล้ถึงเวลาแสดงผลรึเปล่า?
     
  20. kowmoo

    kowmoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    331
    ค่าพลัง:
    +1,896
    คุณfalkman คิดเมี๋ยนกันเลย ธรรมชาติรอมนุษย์เผลอ
     

แชร์หน้านี้

Loading...