{{หลวงพ่อคูณ257}}ศึกษาพระสมเด็จ/เบญจภาคีองค์ครู26ขุนแผนพรายกุมาร4ลพ.พรหม68พ่อท่านคลิ้ง105

ในห้อง 'วิธีดูพระเครื่อง-เครื่องรางของขลัง' ตั้งกระทู้โดย Amuletism, 2 มกราคม 2012.

  1. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    ขอร่วมอนุโมทนาบุญด้วยครับ
    ผมก็เคยไปกราบท่านมาแล้ว
    หากท่านไม่ติดกิจนิมนต์
    ท่านจะลงมาพบญาติโยมทุกวัน
    เวลา 10.00/14.00 น. ครับ
    จะรอดูเหรียญนะครับ
     
  2. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    หลังสมเด็จวัดระฆัง แบบหลังเรียบ (ปริอ้า)

    หลังสมเด็จวัดระฆัง แบบหลังเรียบ (ปริอ้า)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  3. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    หลังสมเด็จวัดระฆัง แบบหลังกระดาน

    หลังสมเด็จวัดระฆัง แบบหลังกระดาน
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  4. captainzire

    captainzire เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,551
    ค่าพลัง:
    +2,822
    เหรียญหลวงพ่อจรัญ ฉลองอายุวัฒนะมงคล ๗ รอบ เนื้อนวโลหะ

    เหรียญหลวงพ่อจรัญ ฉลองอายุวัฒนะมงคล ๗ รอบ เนื้อนวโลหะ เหรียญที่ 1
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 เมษายน 2012
  5. Galangal

    Galangal Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    160
    ค่าพลัง:
    +40
    สมเด็จพระบางขุนพรหมพิมพ์เกศบัวตูมรึปล่าวคับท่าน
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • SNC15723.JPG
      SNC15723.JPG
      ขนาดไฟล์:
      4.6 MB
      เปิดดู:
      83
    • SNC15724.JPG
      SNC15724.JPG
      ขนาดไฟล์:
      4.5 MB
      เปิดดู:
      65
  6. captainzire

    captainzire เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,551
    ค่าพลัง:
    +2,822
    เหรียญหลวงพ่อจรัญ ฉลองอายุวัฒนะมงคล ๗ รอบ เนื้อนวโลหะ เหรียญที่ 2

    เหรียญหลวงพ่อจรัญ ฉลองอายุวัฒนะมงคล ๗ รอบ เนื้อนวโลหะ เหรียญที่ 2

    ราคาออกจากวัด 1000 บาทครับ
    เนื้ออื่นที่ดีกว่านี้หมดแล้ว
    คาดว่าเนื้อนวโลหะก็จะหมดในไม่ช้าครับ
    เนื้อทองแดง/เนื้อทองเหลือง เหรียญละ 200 บาทครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 01.jpg
      01.jpg
      ขนาดไฟล์:
      419.2 KB
      เปิดดู:
      64
    • 02.jpg
      02.jpg
      ขนาดไฟล์:
      399 KB
      เปิดดู:
      86
  7. captainzire

    captainzire เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,551
    ค่าพลัง:
    +2,822
    ตำนานย่อเมืองหริภุญชัย

    มีตำนานเมืองเหนือเล่าว่า ก่อนสมัย ๑๒๐๐ ปี มีกษัตริย์องค์หนึ่งครองเมืองลำพูน มีนิสัยโลเล มิอยู่ใน ทศพิธราชธรรม เสวยแต่น้ำจันทร์มัวเมาด้วยอิสสตรี ไม่มีศีลธรรม ประชาชนถูกกดขี่ข่มเหง เสนาข้าราชการบริพาสล้วนแต่ประจบสอพลอ เทพยดารักษาเมืองก็พิโรธ ก็เกิดโรคภัยพลเมืองล้มตายและแล้วพระพิรุณก็กระหน่ำ จึงมีอุทกภัยเกิดขึ้น น้ำนองท่วมท้น มนุษย์และสัตว์หนีมิทันล้มตายไปกับแม่น้ำคงคา ครั้งเมื่อน้ำลดลงแล้วเมือง หริภุญชัยก็เป็นเมืองร้างไปเสียแล้ว สาเหตุที่ทำให้เมืองลำพูนร้าง น้ำท่วมตาย เพราะเจ้าเมืององค์นี้ได้มีแม่หม้ายไปร้องทุกข์กล่าวหาว่าลูกได้ตีแม่จึงนำความไปฟ้องเจ้าเมืองเพื่อให้ตัดสินคดีที่ลูกตีแม่ครั้งนี้ เจ้าเมืองฟังแล้วกลับตรัสตอบว่า เด็งดัง เพราะลูก “เพราะฉะนั้นการที่ลูกตีแม่จึงไม่มีความผิดใดๆ” ทำให้แม่หม้ายคนนั้นเสียอกเสียใจอย่างมาก จึงนั่งลงกราบแม่ธรณี อธิษฐานสาปแช่งเจ้าเมืองให้มีอันเป็นไป ในทันใดนั้นดินฟ้าอากาศก็เกิดวิปริตเกิดน้ำท่วมบ้านเมืองอย่างฉับพลัน ราษฎรจมน้ำตายเจ้าเมืองก็ตายตามไปด้วย คงเหลือแต่คนมีบุญมีศีลธรรม คนใจบาปหยาบช้าถูกน้ำพลัดจมน้ำตายหมด บ้านเมืองก็ว่างเปล่าไม่มีผู้นำมาเป็นเวลานานปี ต่อมาพระฤๅษีรำพึงแล้วก็คิดว่าเราจะปล่อยประละเลยไม่แก้ไขเห็นทีชาวเมืองลำพูนทั้งมวลจะระส่ำระส่าย จึงได้เชิญฤๅษีผู้น้องทั้งสาม อาทิเช่น พระฤๅษีสุกกทันต ผู้อยู่นครละโว้ และเชิญฤๅษีจากทิศต่างๆ รวมทั้งสิ้น ๑๐๐ ตน โดยท่านสุเทพ ฤๅษีเป็นประธาน ช่วยกันสร้างนครขึ้นใหม่เริ่มแต่เวลา ๙.๐๐ นาฬิกาของวันอาทิตย์ ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๓ ปีขาล พุทธศักราช ๑๑๙๘ มวลประชาราษฎร์ที่หนีอุทกภัยก็ให้มาร่วมกันสร้างเมืองใหม่ จนเป็นที่เรียบร้อยแล้วเมื่อ ปีพุทธศักราช ๑๒๐๓ พระฤๅษีก็ให้นามเมืองใหม่นี้ว่า “นครหริภุญชัย” ในบรรดาพระฤๅษีก็ปรึกษากันว่าจะหาใครผู้ใดมาเป็นเจ้าเมืองเพื่อปกครองประชาราษฏร์ให้อยู่ดีมีสุขต่อไป ในที่สุดท่านฤๅษีสุเทพก็นึกถึงบุตรีบุญธรรม “อาหญิงวี” ของพ่อ ซึ่งท่านได้ทราบแล้วว่าได้ทรงเป็นราชินีแห่งละโว้ จึงได้ปรึกษากับท่านฤๅษีผู้น้องทั้งสามที่จะเอาพระนางจามเทวีมาครองเมืองลำพูน ทุกคนต่างเห็นดีเห็นชอบกันทั้งนั้น ครั้นในวันต่อมาท่านฤๅษีสุเทพจึงมอบสาส์นให้นายคะวะยะ คือ นายควายนำไปให้พระเจ้าอยู่หัวนครละโว้ ๑ ฉบับ และทูลพระราชินีเป็นส่วนพระองค์ ๑ ฉบับ เมื่อละโว้ได้รับข่าวสารจากพระฤๅษี ได้พิจารณากันอยู่เป็นเวลานานพอควรครั้นจะปฏิเสธอย่างไรก็ไม่ได้ มีแต่คิดๆๆ เนื่องจากเมืองลำพูดเดือดร้อนแสนสาหัส ราษฎรขาดผู้นำพระนางก็มานึกถึงพระคุณของพระฤๅษีผู้เป็นบิดาเลี้ยงมาก่อน ทางหมู่ไพร่ฟ้าประชาราษฎร์ทั้งปวงแห่งนครละโว้ได้รับทราบเรื่องราวก็พากันมาฟังข้อตกลงกันล้นหลามอยู่ภายนอกพระราชวัง ต่างก็มีความอาลัยรักพระนางอย่างยิ่งที่จะต้องอำลาจากกรุงละโว้ไปครองเมืองหริภุญชัยตามคำขอของพระฤๅษี ในที่สุดทางกรุงละโว้ก็ตกลงให้พระนางจามเทวีขึ้นมาครองเมืองหริภุญชัย ก่อนจะออกเดินทางพระนางจามเทีได้เอานักปราชญ์บัณฑิตและพระสงฆ์เป็นจำนวนอย่างละ ๕๐๐ มีวัตถุที่สำคัญที่นำมาครั้งนั้นก็คือ พระแก้วขาว ๑ องค์ เวลานี้ประจำอยู่ที่วัดเชียงมั่น จังหวัดเชียงใหม่ สำหรับพระรอดหลวงก็มีประจำอยู่ที่วัดมหาวัน จังหวัดลำพูน ฝีมือทำได้สวยงามมาก พระนางจามเทวีเดินทางจากกรุงละโว้ถึงเมือง หริภุญชัยเป็นเวลานาน ๗ เดือน เวลานั้นพระนางมีครรภ์ได้ ๓ เดือน เมื่อมาถึงวันเดือนปีพุทธศักราช ๑๒๐๖ พระนางจามเทวีก็ขึ้นครองราชย์ปกครองชาวเมืองหริภุญชัย ขณะที่ขึ้นครองราชย์ได้ ๗ วัน พระนางจามเทวีก็ประสูติพระโอรส ๒ องค์ ในวันเพ็ญเดือน ๓ เป็นฝาแฝด จึงให้นามว่า “มหันตยศ และ อนันตยศ” ต่อมาพระนางจามเทวีได้ส่งพระราชโอรสองค์เล็กคือ อนันตยศ ไปสร้างเมืองนครลำปาง ส่วนพระมหันตยศ ผู้เป็นพี่ให้สืบราชสมบัติที่เมืองลำพูน พระนางจามเทวีมีช้างผู้ก่ำงาเขียวคู่บารมี เวลานี้อัฐิของช้างคู่บารมีของพระนามจามเทวีบรรจุไว้ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้โรงเรียนจักรคำคณาทรฯ พระนางจามเทวีครองราชสมบัติอยู่ ๕๒ ปี จึงสวรรคต รวมพระชนมายุได้ ๙๒ ปี อัฐิของพระนามจามเทวีบรรจุไว้ที่วัดกู่กุด ซึ่งเป็นวัดคู่บารมีของพระนางจามเทวีได้สร้างขึ้นเมื่อศตวรรษที่ ๑๓ เมืองหริภุญชัยมีพระนางจามเทวีเป็นกษัตริย์องค์แรกปกครอง สืบๆ กันมามาจนถึง ๔๙ พระองค์ มีพระยายีบาเป็นองค์สุดท้าย รวมอายุเมือง ๖๑๘ ปี พระยายีบาก็ได้เสียงเมืองให้แก่พระยาเม็งรายเมื่อ จุลศักราช ๖๔๓ (พุทธศักราช ๑๘๒๔) ปีมะโรง เดือน ๖ ขึ้น ๔ ค่ำ สาเหตุที่ต้องเสียเมืองหริภุญชัยครั้งนี้เนื่องจากพระยายีบาไปหลงเชื่อขุนฟ้าเพราะความประจบสอพลอ จึงทำให้ชาวเมืองลำพูนต้องเดือนร้อนพากันจงเกลียดพระองค์อย่างมาก จึงเป็นเหตุให้พระยาเม็งรายเข้ายึดเมืองหริภุญชัยได้อย่างง่ายดาย เมื่อพระยายีบาหนีออกเมืองไปถึงดอยกลางป่าก็คิดนึกได้ที่เสียรู้ขุนฟ้าเป็นไส้ศึกให้พระยาเม็งรายก็เสียใจหลั่งน้ำตาร้องไห้ สถานที่น้ำตาตกนี้จึงมีชื่อว่า “ดอยพระยายีบาร้องไห้” มาจนทุกวันนี้ffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    · หลวงมิลังคะหลงเสน่ห์งามจามเทวี <O:p></O:p>
    ขอย้อนกล่าวถึงแม่หม้ายงามจามเทวีกับหลวงมิลังคะ ที่ทำให้หลวงมิลังคะหลงเสน่ห์งามจามเทวีจนไม่รู้จะกินจะนอน แม้จะหลับจะนอนจะตื่นขึ้นก็ยังฝันถึงเสมอ จึงได้แต่งทูตมาสู่ขอพระนางจามเทวีแต่พระนางจามเทวีไม่สนพระทัยจึงไม่ให้คำตอบใดๆ ทั้งสิ้น จึงเป็นเหตุให้หลวงมิลังคะเกิดโทสะยกไพร่พลมาประชิดเมือง เวลานั้นพระนางคิดว่าขืนสู้รบกับหลวงมิลังคะบ้านเมืองคงพังแน่ จึงต้องออกอุบายกับหลวงมิลังคะว่า ถ้าหลวงมิลังคะพุ่งเสน้า (ธนู) จากดอยสุเทพ เชียงใหม่ มาตกกลางเมืองลำพูนก็จะยอมแต่งงานตามสัญญาคำมั่น ทันใดนั้นหลวง มิลังคะก็ดีอกดีใจมีความหวังจะได้แต่งงานกับพระนางจามเทวี ๑๐๐% จะได้พระนางจามเทวีมาเป็นคู่ครอง จึงถือธนูขึ้นไปสู่บนดอยสุเทพ แล้วก็นึกถึงคาถาอาคมเสร็จเรียบร้อยก็ได้พุ่งเสน้าจากบนดอยสุเทพมาตกที่นอกเมืองทิศตะวันตกห่างจากกำแพงเมืองไม่กี่วา สถานที่เสน้าตกปัจจุบันนี้ชาวบ้านเรียกกันว่า “หนองเสน้า” เมื่อพระนางเห็นฤทธิ์เดชจึงหวั่นกลัวยิ่งนัก ถ้าหากให้มีการพุ่งเสน้าเป็นครั้งที่ ๒-๓ คงจะต้องมาตกกลางเมืองแน่ พระนางจามเทวีจึงออกกลอุบายแก้มนต์คาถาของหลวงมิลังคะ โดยเอาผ้าถุงชั้นใน (ซิ่นใน) เย็บเป็นหมวกจัดส่งไปให้หลวงมิลังคะสวมใส่ เมื่อหลวงมิลังคะได้รับของฝากก็ดีใจเป็นที่สุดแล้วก็สวมใส่พร้อมกับพุ่งเสน้าเป็นครั้งที่ ๒-๓ เสน้าที่พุ่งกลับตกห่างจากตัวเมืองหลายเท่า หลวงมิลังคะเสียรู้หมดกำลังใจที่จะพุ่งเสน้าอีกต่อไป ความหวังที่จะได้พระนางมาครองก็หมดสิ้นไป ส่วนหลวงมิลังคะก็หาความงามมิได้เลย ต่อมาทั้งสองตระกูลได้สืบพันธุ์กันทางสายลูกฯ <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    · หมวดเบ็ดเตล็ด<O:p></O:p>
    พระลบหรือพระนักรบ<O:p></O:p>
    ขอกล่าวถึง “พระลบ” สักเล็กน้อยเพื่อเป็นข้อคิด “พระลบ” เป็นพระที่สร้างแปลกประหลาดกว่าพระพิมพ์อื่นๆ ในบรรดาพระพิมพ์ทั้งหลายของเมืองลำพูน พระนางจามเทวีเป็นกษัตริย์องค์แรกของเมืองลำพูนเป็นผู้จัดสร้าง ได้บรรจุไว้ที่กรุหนองเสน้านอกเมืองลำพูน ใกล้กับบริเวณที่หลวงมิลังคะพุ่งเสน้ามาตก สาเหตุก็มาจากต้องการพระนางจามเทวีเป็นพระมเหสี แต่มาพ่ายแพ้กลอุบายพระนางจามเทวี แม้แต่พระโอรสกษัตริย์พม่าก็มาหลงเสน่ห์งามจามเทวีได้ยกทัพมาตีกรุงละโว้ (ลพบุรี) ในที่สุดพระโอรสพม่าก็แพ้สงครามตายเพราะความรัก “พระลบ” บางคนก็เรียกว่า “พระมหาเสน่ห์นิยม” บางคนก็เรียกว่า “พระนักรบ” พระลบเวลานี้หาได้ยากมาก การสร้าง “พระลบ” ของพระนางจามเทวีก็เพื่อเป็นอนุสรณ์ฝากไว้กับชาวลำพูน “พระลบ” จึงแปลกกว่าพระพิมพ์อื่นๆ “พระลบ” ไม่มีจุดเด่นทางด้านความสวยงามขององค์พระ หมายถึงพระไม่งาม รายละเอียดแทบจะไม่มี ความลึกและคมชัดไม่มีเลย แต่มีหลายพิมพ์ เช่น พิมพ์ใหญ่ฐานสามชั้น พระลบพิมพ์เล็กฐานเดียว พระลบพิมพ์สามง่าม (เขาเรียกพระลบตัวขอม) พระลบพิมพ์ตุ๊กตา พระลบพิมพ์พระรอด ส่วนเนื้อพระลบแปลกสะดุดตามาก เนื้อดูหยาบ แต่แกร่งมากที่สุด สีของเนื้อพระลบแดงเข้มจัด สีคล้ายว่านแบบหนึ่งที่แดงจัด หรือคล้ายเนื้อหินศิลาแลง เนื้อมีส่วนผสมที่ไม่มีพระใดเหมือนพระลบ จึงมีชื่อเรียกกันว่า “พระนักรบ” หรือ “พระนักรัก” เพราะพระนาง จามเทวีเป็นทั้งนักรบและเป็นที่รักของคนทั่วไป ใครผู้ใดมีพระลบไว้ก็เท่ากับมีพระพิมพ์นางพญา พิษณุโลก<O:p></O:p>


    <O:p></O:p>
    • · สรุปตำนานพระนางจามเทวี หริภุญชัยผสมละโว้<O:p></O:p>
    พระนางจามเทวี เกิดที่บ้านหนองดู่ อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน ได้ไปเป็นราชธิดาราชวงศ์ปฐมกษัตริย์ลพบุรี ตำนานเมืองลพบุรีกล่าวว่า พระยากาฬวรรณดิส เป็นต้นกษัตริย์เมืองลพบุรี เดิมเป็นกษัตริย์อยู่ที่จังหวัดตาก ได้ให้พราหมณ์ในสำนักไปสร้างเมืองลพบุรี เมื่อสร้างเสร็จแล้วจึงได้ย้ายไปครองราชย์ เมื่อปีพุทธศักราช ๑๐๑๒ หลังจากพระยากาฬวรรณดิสสวรรคตแล้ว รัชทายาทของพระองค์คือ พระยาพาลีราช ได้ครองเมืองลพบุรีแทน ทำให้อาณาจักรเมืองลพบุรีแผ่ไปไกลมาก เมื่อปีพุทธศักราช ๑๒๐๕ พระเจ้ากรุงละโว้จึงได้ให้พระนางจามเทวี ราชธิดาไปครองเมืองหริภุญชัยตามคำเชิญของชาวเมืองหริภุญชัยฯ<O:p></O:p>


    <O:p></O:p>
    • · พระฤๅษีสร้างเมืองหริภุญชัย<O:p></O:p>
    มีตำนานกล่าวไว้ว่า เมื่อประมาณปีพุทธศักราช ๑๒๐๓ พระฤๅษีวาสุเทพได้ร่วมกับพระสหายสร้างเมืองหริภุญชัย คล้ายรูปเปลือกหอย เมื่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว พระฤๅษีวาสุเทพจึงได้ให้นายคะวะยะนำสาส์นมาเชิญพระนางจามเทวีและพระเจ้ากรุงละโว้ เพื่อขอพระนางจามเทวีไปปกครองเมืองหริภุญชัย พระนางจามเทวีได้เสด็จจากเมืองละโว้ ปีพุทธศักราช ๑๒๐๕ เป็นเวลานาน ๗ เดือนมาถึงเมืองหริภุญชัย ปีพุทธศักราช ๑๒๐๖ พระฤๅษีและชาวเมืองหริภุญชัยก็ได้ทำพิธีอัญเชิญพระนางจามเทวีขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์พระองค์แรก ปรากฎว่ามีพระมหากษัตริย์สืบราชวงศ์มาถึงพระยายีบา จำนวน ๔๙ พระองค์ พระยายีบาเป็นองค์สุดท้าย รวมราชวงศ์พระนางจามเทวีครองเมืองลำพูนได้นาน ๖๑๘ ปี สิ้นสุดราชวงศ์ ปีพุทธศักราช ๑๘๒๔ <O:p></O:p>


    <O:p></O:p>
    • · รายนามกษัตริย์ ครองเมืองลำพูนหริภุญชัย <O:p></O:p>
    ตามที่ได้ค้นคว้าจากตำนานต่างๆ เรียงตามลำดับดังนี้<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>


    <TABLE style="WIDTH: 100%; mso-cellspacing: 1.5pt; mso-yfti-tbllook: 1184" class=MsoNormalTable border=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #f0f0f0; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0.75pt; PADDING-RIGHT: 0.75pt; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #f0f0f0; PADDING-TOP: 0.75pt"><TABLE style="mso-cellspacing: 0in; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-padding-alt: 0in 0in 0in 0in" class=MsoNormalTable border=1 cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #f0f0f0; PADDING-BOTTOM: 0in; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0in; WIDTH: 492.75pt; PADDING-RIGHT: 0in; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #f0f0f0; PADDING-TOP: 0in" vAlign=top width=657 colSpan=2>
    รายนามกษัตริย์ ครองเมืองหริภุญชัย<O:p></O:p>




    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #f0f0f0; PADDING-BOTTOM: 0in; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0in; WIDTH: 253.5pt; PADDING-RIGHT: 0in; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #f0f0f0; PADDING-TOP: 0in" vAlign=top width=338>
    ๑. พระนางจามเทวี เป็นปฐมกษัตริย์<O:p></O:p>




    ๒. พระมหันตยศ พระโอรสองค์ที่ ๑ ครองเมืองลำพูน<O:p></O:p>




    พระอนันตยศ พระโอรสองค์ที่ ๒ ครองเมืองลำปาง<O:p></O:p>




    ๓. พระยากูมัญญาราช<O:p></O:p>




    ๔. พระยาสุทันตะ<O:p></O:p>




    ๕. พระยาสุวรรณมัญชุ<O:p></O:p>




    ๖. พระยาสังสาระ<O:p></O:p>




    ๗. พระยาปทุมราช<O:p></O:p>




    ๘. พระยากุลเทวะ<O:p></O:p>




    ๙. พระยาธรรมมิกราช<O:p></O:p>




    ๑๐. พระยามิลักขะมหาราช<O:p></O:p>




    ๑๑. พระยาโนการาช<O:p></O:p>




    ๑๒. พระยาพาลราช<O:p></O:p>




    ๑๓. พระยากุตตะราช<O:p></O:p>




    ๑๔. พระยาเสละราช<O:p></O:p>




    ๑๕. พระยาอุตตราช<O:p></O:p>




    ๑๖. พระยาโยจะราช<O:p></O:p>




    ๑๗. พระพรหมมทัตราช<O:p></O:p>




    ๑๘. พระยามุกขะราช<O:p></O:p>




    ๑๙. พระยาตระ<O:p></O:p>




    ๒๐. พระยาโยวราช<O:p></O:p>




    ๒๑. พระยากมะละราช<O:p></O:p>




    ๒๒. พระยาจุเลระ<O:p></O:p>




    ๒๓. พระยาพินไตย<O:p></O:p>




    ๒๔. พระยาสุเทวราช<O:p></O:p>




    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #f0f0f0; BORDER-LEFT: #f0f0f0; PADDING-BOTTOM: 0in; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0in; WIDTH: 239.25pt; PADDING-RIGHT: 0in; BORDER-TOP: #f0f0f0; BORDER-RIGHT: #f0f0f0; PADDING-TOP: 0in" vAlign=top width=319>
    ๒๕. พระยาเตโว<O:p></O:p>




    ๒๖. พระยาไชยะละราช<O:p></O:p>




    ๒๗. พระยาเสละ<O:p></O:p>




    ๒๘. พระยาตาญะราช<O:p></O:p>




    ๒๙. พระยาสักกีราช<O:p></O:p>




    ๓๐. พระยานันทะสะ<O:p></O:p>




    ๓๑. พระยาอินทวระ<O:p></O:p>




    ๓๒. พระยารักนะคะราช<O:p></O:p>




    ๓๓. พระยาอิทตยราช<O:p></O:p>




    ๓๔. พระยาสัพพสิทธิ์<O:p></O:p>




    ๓๕. พระยาเชษฐะราช<O:p></O:p>




    ๓๖. พระยาจักกะยะราช<O:p></O:p>




    ๓๗. พระยาถวิลยะราช<O:p></O:p>




    ๓๘. พระยาการาช<O:p></O:p>




    ๓๙. พระยาสิริปุญญาราช<O:p></O:p>




    ๔๐. พระยาเลทะนะราช<O:p></O:p>




    ๔๑. พระยาตัญญะราช<O:p></O:p>




    ๔๒. พระยาไทยอำมาตะ<O:p></O:p>




    ๔๓. พระยาอำมาตปะนะ<O:p></O:p>




    ๔๔. พระยาทาวะมะ<O:p></O:p>




    ๔๕. พระยากราช<O:p></O:p>




    ๔๖. พระยาเยทะ<O:p></O:p>




    ๔๗. พระยาอ้าย<O:p></O:p>




    ๔๘. พระยาเสตะ<O:p></O:p>


    ๔๙. พระยายีบา (เป็นองค์สุดท้ายราชวงศ์จามเทวี)<O:p></O:p>





    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    <O:p></O:p>
    บ้านเมืองสมัยพระนางจามเทวี ประชาราษฎร์อยู่เย็นเป็นสุข พระยาเม็งรายมหาราช ยึดครองเมืองลำพูน ปีพุทธศักราช ๑๘๒๔ ต่อมาได้ไปสร้างเมืองเชียงใหม่ เป็นเมืองหลวงของลานนาไทย ปีพุทธศักราช ๑๘๓๙ มีเจ้าผุ้ครองนครเมืองสืบต่อกันมาจำนวน ๒๐ พระองค์ พระเจ้าเมกุฏิ องค์ที่ ๒๐ เป็นองค์สุดท้าย ราชวงศ์เม็งรายครองลานนาไทยได้นาน ๒๖๒ ปี พระเจ้าบุเรงนองแห่งพม่ายึดลานนาไทยจากพระเจ้าเมกุฏิ ปีพุทธศักราช ๒๑๐๑ มาถึงปีพุทธศักราช ๒๑๒๙ พระนเรศวรมหาราชรบกับพระเจ้าบุเรงนองแห่งพม่าชนะจึงขับไล่พวกพม่าออกลานนนาไทยฯ<O:p></O:p>
    อ้างอิง konmeungbua
     
  8. captainzire

    captainzire เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,551
    ค่าพลัง:
    +2,822
    10 อันดับ พระกรุล้านนา ยอดนิยม

    [​IMG]
     
  9. captainzire

    captainzire เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,551
    ค่าพลัง:
    +2,822
    [​IMG]
     
  10. captainzire

    captainzire เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,551
    ค่าพลัง:
    +2,822
    [​IMG]
     
  11. captainzire

    captainzire เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,551
    ค่าพลัง:
    +2,822
    [​IMG]
     
  12. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    ผมเดาว่าคุณ CaptainZire กำลังจะคุยเรื่องพระรอดแน่นอนเลย
    ยังไง ผมขอเสียมารยาท ชวนคุยนอกเรื่องสักนิด
    แต่จริงๆ ก็ไม่ได้นอกเรื่องเสียทีเดียว เพราะเป็นพระสกุลลำพูนเหมือนกัน
    เป็นพระบาง ลำพูนครับ พระรอดยังคงเป็นแค่ฝันสำหรับผมครับ
    เพราะนอกจากจะแพงแล้ว ยังหายากยิ่งอีกด้วย
    แล้วเราค่อยมาช่วยกันไล่เรียงเรื่องพระรอด และพระสกุลลำพูนอื่นๆกันต่อ

    พระบาง สีเขียวครก กรุวัดดอนแก้ว ลำพูน
    องค์นี้เป็นพระที่ผมเห็นครั้งแรกก็หลงเสนห์เลยครับ
    เรียกว่ากำไม่ยอมวางเลย เดี๋ยวมือดีจะคว้าไป
    ทั้งๆ ที่ทุนทรัพย์ยังไม่พร้อม แต่ก็ยอมไม่ได้ครับ
    เมื่อก่อนได้เห็นพระคง เขียวครกของเพืื่อน
    ก็อยากได้มาก ที่ผ่านมาได้พระคง พิกุล ฟอร์มดีมาสององค์
    และตามหาพระคงเขียวเรื่อยมา จนในที่สุดก็มาได้พระบางเขียวแทน
    เนื้อจัดดีครับ ใบโพธิ์ชัดมากๆ แถมมีหน้ามีตาอีก
    วันนั้น ผมถือเป็นโชคจริงๆ ที่เข้าไปพันธ์ุทิพย์
    ว่าจะไม่ไปแล้วเชียว แสดงว่าท่านจะมาโปรดผมจริงๆ ครับ


    [​IMG]
     
  13. brutus

    brutus เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    1,250
    ค่าพลัง:
    +2,082
    ขออนุญาตครับ ว่าองค์นี้ใช่ สมเด็จวัดเกศไชโย พิมพ์ 7 ชั้น หูประบ่า หรือเปล่าครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSC02088.jpg
      DSC02088.jpg
      ขนาดไฟล์:
      944.8 KB
      เปิดดู:
      86
    • DSC02089.jpg
      DSC02089.jpg
      ขนาดไฟล์:
      894.2 KB
      เปิดดู:
      59
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 เมษายน 2012
  14. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    หากจะพิจารณาสมเด็จบางขุนพรหมที่ไม่มีคราบดินปูนเกาะหนา
    ก็ต้องพิจารณาเป็นกลุ่มบางขุนพรหมกรุเก่า
    อย่างไรก็ดี เมื่อเนื้อพระองค์นี้แล้ว อายุการสร้างยังไม่ถึงครับ
    เนื้อพระยังสดอยู่มาก บนผิวหน้าพระที่เป็นคราบแป้ง
    ไม่ใช่ลักษณะของคราบกรุ พิมพ์ก็ยังไม่ถูกครับ
    น่าจะเป็นพระสมเด็จที่เกจิสร้างมากกว่าครับ
     
  15. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    ผมว่ารู้สึกว่าเนื้อพระองค์นี้ยังไม่แห้งเท่าที่ควร มวลสารบางอย่างไม่ปรากฏ
    อย่างไรก็ตาม ต้องเรียนตามตรงว่าพระสมเด็จเป็นที่ดูองค์จริงจะดีกว่าในภาพ
    เพราะจะเห็นมวลสารและองค์ประกอบอื่นๆ ได้ชัดเจนกว่่า
    ผมจะขอให้รายละเอียด ในองค์ประกอบสำคัญในการพิจารณา ดังนี้ครับ
    สมเด็จเกศไชโย พิมพ์เจ็ดชั้น หูประบ่า ส่วนใหญ่ที่พบจะเป็นเนื้อค่อนข้างหยาบ
    เนื้อจัดและแกร่ง เท่าที่พบส่วนใหญ่จะแตกลายงา
    พุทธลักษณะ พระเกศจะจรดซุ้ม ฐานชั้นล่างสุด (ชั้นที่เจ็ด) จะจรดซุ้มเหมือนพิมพ์ใหญ่
    หูทั้งสองข้างจะยาวกว่าทุกพิมพ์ ยาวปาดถึงหัวไหล่ ปลายหูขวาช่วงจรดปลายไหล่จะเรียวเล็ก
    หัวเข่าสองข้างคล้ายท่อนกระดูกเหมือนพิมพ์ใหญ่
    ฐานชั้นแรกปลายจะเรียวงอนขึ้นเป็นฐานสำเภาเหมือนพิมพ์ใหญ่
    ฐานชั้นสองจะงอนขึ้นเล็กน้อย ในขณะที่ชั้นสามจะโก่งระหว่างตรงกลางเล็กน้อยครับ
     
  16. brutus

    brutus เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    1,250
    ค่าพลัง:
    +2,082
    ขอบคุณ คุณAmuletism ครับ ได้ความรู้ดีๆ อีกแล้ว เดี๋ยวผมจะลองไป พิจารณาใหม่ ตามที่กรุณาถ่ายทอดความรู้ให้นะครับ
     
  17. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    พระบาง ลำพูน

    [​IMG]

    พระสกุลลำพูนเป็นพระศิลปะทวารวดีและศิลปะศรีวิชัย ที่มีอายุเก่าแก่อยู่ในราว 1,200 ปี ประกอบด้วย พระรอด พระคง พระฤๅ พระเปิม และพระบาง ฯลฯ นับได้ว่าเป็นพระกรุที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดของภาคเหนือทีเดียว

    "พระบาง" หนึ่งในพระสกุลลำพูนซึ่งมีพุทธลักษณะคล้ายคลึงกับ "พระคง" มาก แต่จะแตกต่างกันโดยสิ้นเชิงในด้านพุทธคุณ "พระคง" จะเน้นพุทธานุภาพไปทางด้านแคล้วคลาด คงกระพันชาตรี เหมือน "พระรอด" ด้วยสมัยก่อนอยู่ในช่วงศึกสงคราม แต่ "พระบาง" พุทธคุณจะเน้นไปทางเมตตามหานิยมและเสน่ห์ ที่จะทำให้รักษาเนื้อรักษาตัวรอดอยู่ได้นั่นเอง (อันนี้เป็นข้อมูลตามตำราใหม่ๆนะครับ)

    <O:p</O:pตามตำนาน "พระบาง" สร้างโดยฤๅษีวาสุเทพเช่นเดียวกับพระรอดและพระคง มีขนาดและเนื้อมวลสารใกล้เคียงกับพระคงอย่างที่แยกออกได้ยากมากๆ องค์พระประธานประทับนั่ง ขัดสมาธิเพชร แสดงปางมารวิชัย ภายในซุ้มใบโพธิ์ เหนืออาสนะฐานบัวเม็ดเป็นจุดไข่ปลาเรียงอยู่ด้านหน้าโดยรอบ 2 ชั้นคล้ายคลึงกับ "พระคง" แต่ "พระบาง" จะมีความอ่อนช้อยงดงามคล้ายอิสตรีมากกว่ากล่าวคือ พระพักตร์จะยาวเป็นรูปไข่มากกว่า พระอุระสูงกว่าคล้ายหน้าอกสตรี พระวรกายก็ดูสูงโปร่งและบอบบางกว่า การหักศอกด้านซ้ายก็จะดูอ่อนช้อยกว่าเป็นลักษณะ "อ่อนข้อ" แม้กระทั่งผนังโพธิ์กิ่งด้านหลังเส้นแสงก็ดูอ่อนสลวยกว่าพระคง แต่จะมีจำนวนน้อยมาก เรียกได้ว่าพระคง 100 องค์มีพระบางติดมาเพียง 1 องค์เท่านั้น

    "พระบาง" มีการค้นพบทั้งหมด 3 กรุ คือ กรุวัดพระคง กรุวัดดอนแก้ว และกรุวัดบ้านครูขาว ซึ่งแต่ละกรุก็จะมีลักษณะเฉพาะแตกต่างกันดังนี้

    พระบาง กรุวัดดอนแก้ว เป็นพระที่มีเนื้อละเอียดที่สุดในทุกกรุ พระพักตร์เป็นผลมะตูม พระนลาฏกว้าง ขนาดขององค์พระก็ค่อนข้างสูงกว่าปกติและแคบกว่าพระบางกรุอื่น องค์พระค่อนข้างบางอย่างเห็นได้ชัดและขอบพระเรียบสม่ำเสมอ เป็นกรุที่ได้รับความนิยมสูงที่สุด

    ส่วนพระบาง กรุวัดบ้านครูขาว (กรุเทศบาล) จะมีความแตกต่างที่เด่นชัดที่สุดทำให้ง่ายต่อการพิจารณา คือเนื้อขององค์พระจะมี 2 เนื้อ คือ เนื้อดินปนกรวดและเนื้อดินหยาบ ซึ่งไม่มีในกรุใดเลย สำหรับพุทธลักษณะจะค่อนข้างเหมือนกับพระบาง กรุวัดดอนแก้ว

    <O:p</O:pพระบาง กรุวัดพระคง ลักษณะเนื้อหามวลสารเหมือนกับพระคงมากที่สุด แต่พุทธลักษณะขององค์พระจะค่อนข้างล่ำ และด้านหลังพระจะอูมนูนคล้ายพระคงมาก


    ปัจจุบัน "พระบาง" ถือได้ว่าเป็นพระกรุเก่าแก่ที่หาดูหาเช่าของแท้ๆ ได้ยากมาก เช่นเดียวกับพระสกุลลำพูนพิมพ์อื่นๆ ดังนั้น จะเลือกเช่าหาต้องพิจารณาให้แน่ใจจริงๆ นอกจากดูตำหนิ พิมพ์ทรงแล้ว ยังต้องดูความเก่าของดินให้เป็นด้วยครับ

    <O:p</O:p
    ความเห็นที่แตกต่างจากตำราพระเครื่องรุ่นเก่าชั้นครูหลายเล่ม <O:p</O:p
    ข้อมูลตามตำราเก่าๆ บอกว่าน่าจะมีพุทธคุณเหมือนกับพระรอดและพระคง เนื่องจากสันนิษฐานว่าสร้างในยุคเดียวกัน โดยบุคคลเดียวกัน หนังสืออมตะพระกรุ ของต้อย เมืองนนท์ บอกว่า คำว่า “พระบาง” เพี้ยนเสียงมาจากพระบัง เหมือนถึง พระบังภัยให้ผู้บูชาคล้าวคลาดปลอดภัย
    <O:p</O:p
    ในเรื่องพุทธลักษณะเปรียบเทียบระหว่างพระคงกับพระบาง เป็นพระที่มีความละม้ายคล้ายคลึงกันมาก เข้าใจว่าเป็นพระฝีมือช่างเดียวกันแต่ที่ต่างกันเนื่องจากการแกะแม่พิมพ์ที่ผิดเพี้ยนไป วิธีสังเกตความแตกต่างของพระบางกับพระคง ที่จำได้ง่ายก็คือ การวางแขนของพระคงจะทิ้งศอกตรง ส่วนพระบางจะกางศอกออกไม่ทิ้งดิ่ง ส่วนที่สองก็คือ ก้านโพธิ์ ใบโพธิ์ที่คมชัด และลึกกว่าพระบาง แต่ประเด็นเรื่องความล่ำขององค์พระ ไม่ต่างจากพระคงหรือบางองค์มากกว่าพระคงเสียอีก แต่ชลูดกว่าเล็กน้อย จนเซียนยุคเก่าหลายท่านบอกว่าองค์พระบางล่ำกว่าพระคง ต้องนำมาวางเทียบกันดูชัดๆ จึงจะเห็นครับ วางคู่กันแล้วท่านจะทึ่งครับ แต่ด้านหลังของพระบางกว่า ไม่อูมนูนเหมือนพระคง จึงเรียกว่าพระบาง<O:p</O:p
     
  18. atist

    atist เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,070
    ค่าพลัง:
    +293
    พระนางพญาสักองครับ

    พระนางพญาแท้ไหมครับ วัดนางพญาใช่ไหมครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  19. captainzire

    captainzire เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,551
    ค่าพลัง:
    +2,822
    (good)(good)(good)
    สวยงามสุดยอดจริงๆครับ สมัยนี้หาพระบางสภาพนี้ได้ ต้องถือว่าไม่ธรรมดาครับ
    ผมว่าวันนี้คนหันมาสะสมพระกันมากขึ้น พระสวยๆ สภาพดีๆ เข้ารังไปหมด
    จะหาพระสวยสภาพดี ในราคาที่พอรับได้นับว่าไม่ใช่เรื่องง่าย
    จึงต้องขอแสดงความยินดีกับพี่ Amuletism ด้วยครับ
    ขอบคุณที่นำมาแบ่งกันชม เนื้อเก่าจริงดูง่าย
    เมื่อไม่นานมานี้ ผมไปพันธ์ุทิพย์มาเห็นพระบาง สีพิกุล
    แบบหน้ารางๆ เค้าบอกตั้งแปด/เก้าหมื่น
    ในเวปท่าพระจันทร์เห็นมีพระบางเขียวอยู่องค์นึง
    หน้าตายังสู้องค์นี้ไม่ได้ เขาลงราคาไว้เกือบสี่แสน
    องค์นี้พี่ Amuletism ไปบุกมาเท่าไหร่หรือครับ
     
  20. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    ขอบคุณมากครับ คุณ CaptainZire สำหรับคำชม
    องค์นี้ก็ราคาไม่เบาครับ แต่ผมได้มาก็ภูมิใจ และถือว่าไม่แพงครับ
    เพราะหากไม่ตัดสินใจวันนั้น คงไม่มีโอกาสอีกครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...