ติดตามสถานะการณ์

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย สุกิจSukit, 8 มิถุนายน 2013.

  1. น้ำใสไหลเย็น

    น้ำใสไหลเย็น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,289
    ค่าพลัง:
    +4,452
    เมื่อหลายปีก่อน สุนัขที่บ้าน มีอาการคล้ายกัน แต่เป็นสุนัขตัวผู้

    ถ้าเป็นในคน เราคงเรียกหูดหงอนไก่ แต่สำหรับเคสนี้ไม่รู้เรียกอะไรดี

    ตอนนั้นลักษณะคือ มีเนื้อบานขนาดใหญ่มากๆ จนไม่สามารถรูดหนังปิดได้ น่ะ

    ตอนแรกคิดว่ามันจะตาย ได้พาไปหาสัตวแพทย์ เค้าฉีดยาให้เข็มเดียว

    ไม่รู้ยาอะไร นานจนลืมแร่ะ แต่ดีขึ้นทันตา มีนะ ลองดู
     
  2. Spammer

    Spammer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    976
    ค่าพลัง:
    +3,498
    มาตรวัด ณ สามเสน กทม. 21:30 น. ถ้าขึ้นอีก 15 ซ.ม. ก็แดงแล้วจุดนี้ ช่วยลุ้นให้มันลดที เพราะลุ้นมาหลายวันน้องน้ำก็บวมเอาๆ สงสัยไปแวะทานทุเรียนนนท์มา เบื่อมากกกก...เวลาถนนน้ำท่วมขั่งเนี่ย...!!!
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  3. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    กระทรวงการคลังสหรัฐคาดจะเริ่มเบี้ยวหนี้วันแรก 22 ต.ค.2556

    [​IMG]

    กระทรวงการคลังระบุว่า ถ้าหากสภาคองเกรสไม่เพิ่มเพดานหนี้ กระทรวงการคลังก็จะหมดโอกาสในการกู้เงินใหม่ภายในวันที่ 17 ต.ค. โดยในวันนั้นทางกระทรวงจะมีเงินสดเหลืออยู่เพียง 3 หมื่นล้านดอลลาร์ และเงินจำนวนนี้จะหมดไปภายในเวลาเพียงไม่กี่สัปดาห์

    นายแจ็ค ลูว์ รมว.คลังสหรัฐ กล่าวว่า "ไม่มีใครรู้แน่ชัดว่าผลกระทบจะอยู่ในระดับที่เลวร้ายเพียงใด ถ้าหากเราก้าวข้ามเส้นนั้นไป"

    นายลูว์ กล่าวย้ำจุดยืนของรัฐบาลสหรัฐที่ว่า รัฐบาลจะไม่เจรจาต่อรองกับพรรครีพับลิกันในเรื่องเพดานหนี้

    นายลูว์ กล่าวว่า "เราไม่สามารถเผชิญกับคำขู่เรื่องการปิดหน่วยงานรัฐบาลหรือคำขู่เรื่องการไม่ชำระค่าใช้จ่ายของเราได้ตลอดเวลา" และกล่าวเสริมว่า "เราจำเป็นต้องเจรจาต่อรองกันอย่างจริงจังและประนีประนอม ประนอมกันอย่างจริงจัง และเราจำเป็นต้องเลิกใช้วิธีการเอาชนะโดยการสร้างความเสี่ยงแบบนี้"

    สำนักงานงบประมาณสภาคองเกรสคาดการณ์ว่า สหรัฐอาจจะเริ่มผิดนัดชำระหนี้ในบางรายการในระหว่างวันที่ 22-31 ต.ค. โดยสหรัฐมีกำหนดต้องชำระหนี้จำนวนมากในวันที่ 24 ต.ค.และ 31 ต.ค.

    ผู้นำทางการเงินทั่วโลกกังวลว่า วิกฤติสหรัฐอาจสร้างความเสียหายต่อประเทศอื่นๆในยุโรป เอเชีย แอฟริกา และ ทวีปอเมริกา ขณะที่เศรษฐกิจโลกกำลังฟื้นตัวขึ้นอย่างไม่ต่อเนื่อง

    ที่มา บางส่วนจากบทความของคุณสุทธิชัย หยุ่น เตือนศก.โลกป่วนสหรัฐผิดชำระหนี้

    ภาพประกอบจากอินเตอร์เนต
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 ตุลาคม 2013
  4. Spammer

    Spammer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    976
    ค่าพลัง:
    +3,498
    ภาคกลางตอนบนๆ บริเวณเขื่อนเจ้าพระยา หน้าเขื่อนและหลังเขื่อน
    พบว่าสถานการณ์กำลังดีวันดีคืน เมื่อดูจากแนวกราฟเลข 4

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  5. Spammer

    Spammer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    976
    ค่าพลัง:
    +3,498
    ที่สามเสน ดูเหมือนจะลดแล้ว ตามรูปด้านล่าง

    [​IMG]

    (ที่คลองลัดโพธิ์ก็ลดพอๆกัน คลองนี้เขาทำมาดีจริงๆ ช่วยได้เยอะเลย)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  6. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,654
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Piyacheep S.Vatcharobol ได้แชร์ลิงก์ผ่าน Kongpop U-yen
    6 ชั่วโมงที่แล้ว
    ข่าวออกมาเรื่อยๆ ล่าสุดวันจันทร์ที่ ๗ ตุลาคม
    larger asteroids that hit the Earth’s surface strike more frequently than we think
    หรือเข้าใจง่ายๆว่า อุกาบาตวิ่งชนโลกถี่มากกว่าที่เราคิดคาดการณ์ไว้

    คำว่า "ฝนอุกาบาต" คงไม่ไกลเกินไปแล้วใช่ไหมครับ?
    นับถอยหลังไปเรื่อยๆ เมื่อดาวหางไอซอนกำลังพุ่งเขาหาดวงอาทิตย์
    เปรียบประดุจสายล่อฟ้า เคลื่อนเข้าหา โรงไฟฟ้า
    อะไรอะไรก็ย่อมเกิดขึ้นได้เสมอ

    "After all, he added, Earth experiences an airburst explosion similar in energy to Hiroshima almost every year, but they are more likely to happen over the ocean or uninhabited areas and go unnoticed by people other than the scientists who track them. Geological evidence also suggests that larger asteroids that hit the Earth’s surface strike more frequently than we think. In Argentina alone, scientists have found glass that was formed in impacts from about eight or nine large events that occurred in the last 10 million years."
    -----------------------------------------------------------------------
    [​IMG]

    Russian Meteor Explosion Might Mean Earth Gets Hit More Often Than We Think
    BY ADAM MANN10.07.139:30 AM
    ข้อมูลจาก Russian Meteor Explosion Might Mean Earth Gets Hit More Often Than We Think - Wired Science

    The latest analysis of the bollide that burst over Chelyabinsk, Russia in February suggests that the risk from such airbursts — which occur when friction in our atmosphere heats up a meteor — may be greater than previously thought.

    Meteorite collisions are often compared in size to nuclear explosions, but because they are speeding toward Earth they have momentum that makes them far more destructive. And to make matters worse, they may occur more often than currently estimated.


    On the morning of Feb. 15, a fireball lit up the skies above the town of Chelyabinsk. A 12,000-ton bollide estimated to be roughly 20 meters in diameter came screaming into the atmosphere at more than 42,000 mph. Locals could feel the heat from the blast while dozens of dashboard cameras made recordings of the event, which were disseminated widely on social media.

    The best estimates of how much energy was released by the Chelyabinsk explosion come from infrasound measurements taken by an array of sensors all over the world. These instruments detect low-frequency sound waves traveling through the atmosphere. The longer the waves’ period is, the larger the explosion. Infrasound measurements are calibrated from atmospheric nuclear testing done in the 1950s, which is why asteroid explosions are often described in megaton units. The bomb that exploded at Hiroshima had a yield of 16 kilotons while the most powerful nuclear weapon active in U.S. service, the B83 bomb, has a yield of up to 1.2 megatons. The Chelyabinsk blast is estimated to have been between 200 and 800 kilotons, on par with a huge atomic weapon.

    But meteors explode in a very different way than a typical nuclear bomb, says physicist Mark Boslough of the Sandia National Laboratories, who studies asteroid impacts and is presenting a talk today about the Chelyabinsk event at the American Astronomical Society’s 2013 Division for Planetary Science meeting in Denver.

    “When an asteroid explodes, its momentum is conserved and that explosion continues down toward the Earth,” Boslough said.

    For that reason, the people who live in Chelyabinsk explosion are very lucky to be alive, he added. If the bollide had come into the atmosphere at a less steep angle, its blast would have been aimed right at the ground, likely doing much more damage.

    That an airburst continues traveling in the same direction as a meteorite was only appreciated starting in the 1990s, particularly after the impact of Shoemaker-Levy 9 on Jupiter. This understanding has led to revisions in estimates of the size of the asteroid that exploded over the Siberian tundra in 1908. This blast, known as the Tunguska event, flattened trees over a 2,000-square-kilometer area.

    Scientists in the mid-20th century used nuclear blast comparisons to estimate Tunguska’s power. To make trees fall down over that large an area, a nuclear weapon would have to be 10 to 20 megatons. Now knowing how asteroid impact bursts can deliver more energy to the ground, the Tunguska bollide estimate has gotten smaller, suggesting that an object of roughly 100,000 tons entered the atmosphere and delivered a blast of between 3 and 5 megatons.

    Tunguska and Chelyabinsk are thought to be among the most powerful asteroid impacts in recent history. That both would come within about 100 years of one another is slightly worrying to scientists like Boslough.

    That’s because current estimates are that an impact the size of Chelyabinsk should happen roughly once a century while a Tunguska-level event should happen once every millennium. To see two such once-in-a-long-while events within close succession makes “you wonder if you’ve got your probabilities right,” said Boslough. He gave a rough back-of-the-envelope calculation suggesting that the chances of these two occurrences — plus a third airburst near South Africa in 1963 (.pdf) that was somewhere in size between Chelyabinsk and Tunguska and was was only observed by infrasound sensors — is somewhere on the order of 0.2 percent.

    Our current probability estimates of asteroid impacts are most calculated using astronomical data. Telescopes search for space rocks and note the number that cross Earth’s orbit. But models based on these asteroid surveys have a lot of assumptions built into them, mostly because detecting asteroids is a big challenge, particularly smaller ones that would cause airbursts, and we don’t know exactly how many more of them we have yet to find. It’s possible that we’ve missed many and that airbursts like Chelyabinsk and Tunguska happen more than once a century or millennium.

    Agreeing with this assessment is geoscientist Peter Schultz of Brown University, who said that Chelyabinsk “should be kind of an eye-opener.”

    After all, he added, Earth experiences an airburst explosion similar in energy to Hiroshima almost every year, but they are more likely to happen over the ocean or uninhabited areas and go unnoticed by people other than the scientists who track them. Geological evidence also suggests that larger asteroids that hit the Earth’s surface strike more frequently than we think. In Argentina alone, scientists have found glass that was formed in impacts from about eight or nine large events that occurred in the last 10 million years.

    “This is about a factor of five to 10 higher than what has been predicted,” said Schultz.

    On the other hand, that Chelyabinsk and Tunguska happened in close succession might just be a fluke. Boslough said that two data points in of themselves shouldn’t make us believe that asteroid impacts happen more frequently than we think.

    “That’s what we would call ‘not statistically significant,’” he said.

    As with anything relying on probability, we will simply have to wait and see. The longer we observe asteroid impacts on Earth, the better we will be able to estimate their frequency.

    It’s pretty much a guarantee that “eventually we’ll have a close encounter of a bad kind,” said Schultz.

    Adam Mann
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 203.jpg
      203.jpg
      ขนาดไฟล์:
      49.8 KB
      เปิดดู:
      601
  7. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,654
    ค่าพลัง:
    +97,150
  8. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,654
    ค่าพลัง:
    +97,150
    "ไอเออีเอ" เตรียมส่งทีมงานตรวจสอบโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชิมะ
    วันศุกร์ที่ 4 ตุลาคม 2556 เวลา 14:16 น. เดลินิวส์

    <iframe width="640" height="360" src="//www.youtube.com/embed/nB-8c64l_0Q?feature=player_embedded" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 4 ต.ค. ว่าทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ ( ไอเออีเอ ) ออกแถลงการณ์ระบุการส่งเจ้าหน้าที่ 16 คน เดินทางไปยังโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชิมะไดอิจิ ระหว่างวันที่ 14-21 ต.ค. นี้ เพื่อสังเกตการณ์และตรวจสอบการทำงานของบริษัทผลิตไฟฟ้าเทปโก ( โตเกียว ) ในการแก้ไขวิกฤตน้ำปนเปื้อนกัมมันตรังสีรั่วไหลจากโรงไฟฟ้า

    การเดินทางครั้งนี้เป็นไปตามคำเชิญของรัฐบาลญี่ปุ่น และเป็นการเดินทางลงพื้นที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่กำลังเกิดปัญหาแห่งนี้เป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ปี 2554 หรือหลังจากที่ญี่ปุ่นเพิ่งผ่านพ้นสึนามิครั้งใหญ่เมื่อวันที่ 11 มี.ค. 2554 โดยระหว่างวันที่ 16-18 ต.ค. จะเป็นการเดินทางเข้าไปยังโรงไฟฟ้าโดยตรง ก่อนส่งรายงานให้แก่ทางการญี่ปุ่น ซึ่งจะเป็นผู้นำเผยแพร่ออกสู่สาธารณะ

    ทั้งนี้ ถ้อยแถลงของไอเออีเอมีขึ้นในเวลาไล่เลี่ยกับที่นายนาโอมิ ฮิโรเสะ ประธานบริษัทเทปโก เดินทางเข้าชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการตรวจสอบของสำนักงานควบคุมนิวเคลียร์ญี่ปุ่น ( เอ็นอาร์เอ ) โดยฮิโรเสะถูกเอ็นอาร์เอตำหนิอย่างรุนแรงว่า ขาดประสิทธิภาพที่จะแก้ไขวิกฤตที่ยืดเยื้อมานานกว่า 2 ปี ซึ่งทั้งสองเหตุการณ์เกิดขึ้นเพียง 1 วัน หลังเทปโกออกมายอมรับว่า พบน้ำปนเปื้อนกัมมันตรังสีปริมาณสูง 430 ลิตร รั่วไหลออกมาจากหนึ่งในถังเก็บ
     
  9. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,654
    ค่าพลัง:
    +97,150
    คนดูดาว ได้แชร์ลิงก์
    เมื่อวานนี้
    ลุ้นว่าฝนดาวตกมังกร (Draconids) 9 พ.ย. 56 เวลา 0.30 น. หรือคืนวันที่ 8 จะถึงระดับพายุ 500 ดวงต่อชั่วโมงขึ้นไปหรือไม่?

    [​IMG]

    คลิกดูรายละเอียด - > IMO Meteor Shower Calendar 2013 | International Meteor Organization
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 204.jpg
      204.jpg
      ขนาดไฟล์:
      16.5 KB
      เปิดดู:
      552
  10. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,654
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Surviving Earth Changes 2013 and Beyond ได้แชร์ลิงก์ผ่าน Wonka Williams

    <iframe width="640" height="360" src="//www.youtube.com/embed/MDNghVpTr4Q?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
     
  11. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,654
    ค่าพลัง:
    +97,150
    [​IMG]

    ผบช.น.ชงกม.'ห้ามรถ7-10ปีวิ่งในกทม.'
    รอง ผบช.น.เดินหน้าแก้ปัญหาจราจร ปัดฝุ่นชงออกกม.ห้ามรถเก่าอายุ 7-10 ปี วิ่งใน กทม. คืนชีพ รถยก ลากรถจอดที่ห้ามจอดแทนล็อกล้อ เข้มรถถูกใบสั่งเสียค่าปรับภายใน7วัน

    เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พล.ต.ต.อดุลย์ ณรงค์ศักดิ์ รอง ผบช.น. รับผิดชอบงานด้านการจราจร กล่าวถึงแนวทางแก้ไขระบบงานจราจร กทม.ว่า เตรียมเสนอโครงการจำกัดอายุการใช้งานรถยนต์ต่อรัฐบาล อาทิ รถอายุเกิน 7-10 ปี ห้ามนำเข้ามาวิ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร หากนำเข้ามาวิ่งจะต้องเสียภาษีเทียบเท่ารถยนต์ใหม่ ซึ่งเป็นโครงการที่ได้แนวคิดมาจากประเทศญี่ปุ่น

    พล.ต.ต.อดุลย์ ยังกล่าวถึงกรณีการเตรียมนำรถยกมาใช้แก้ปัญหาการจอดรถในที่ห้ามจอดว่า จะเป็นการใช้ข้อกฎหมายเดิมคือ ความผิด พ.ร.บ.จราจรมาตรา 57 และ 59 ห้ามจอดในที่ห้าม ฝ่าฝืนมีโทษปรับไม่เกิน 500 บาท รวมทั้งเสียค่าเคลื่อนย้าย 500 บาท และค่าดูแลอีกวันละ 200 บาท โดยเปลี่ยนวิธีการบังคับใช้จากการล็อกล้อเป็นการใช้รถยก และจะบังคับใช้เฉพาะชั่วโมงเร่งด่วนเท่านั้น ซึ่งจะสามารถแก้ไขปัญหาการจราจรได้ดีกว่าการล็อกล้อ โดยหลังจากนี้ จะมีการประชุมกับกระทรวงคมนาคมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องถึงการบังคับใช้กฎหมาย และจะมีการประชาสัมพันธ์กับประชาชนได้ทราบ

    "เรื่องนี้อยู่ในแผน แต่ไม่เป็นโครงการเร่งด่วน โดยกำหนดรถวิ่งใน กทม. จะต้องมีอายุไม่เกิน 10 ปี ถ้าเกินคงต้องนำใปใช้ต่างจังหวัด ทั้งนี้รายละเอียดจะกำหนดในโครงการเพราะจะต้องนำเสนอรัฐบาลหมายความว่าเราจะต้องจัดตั้งศาลจราจรขึ้นมาเพื่อรองรับการทำงานของตำรวจจราจรเพราะทุกวันนี้กฎหมายอ่อนมาก จราจรออกใบสั่งไป แต่มาจ่ายค่าปรับไม่ถึง 25% คนไม่กลัวกฎหมายต่างกับ ฮ่องกง สิงคโปร์ ดังนั้นการปฏิบัติต่อไป ถ้าออกใบสั่งต้องมาเสียค่าปรับ ภายใน7 วัน แต่ถ้าดื้อไม่มาปรับ จะต้องขึ้นศาลจราจร เสียค่าปรับสูงและมีโทษจำคุกด้วยจะทำให้คนไทยมีวินัย" รอง ผบช.น.กล่าว

    ส่วนกรณีที่ผู้ตรวจการแผ่นดินเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาจราจร อาทิ การเสียค่าปรับกรณีทำการจราจรติดขัดนาทีละ 100 บาท พล.ต.ต.อดุลย์ กล่าวว่า แนวคิดดังกล่าวสามารถนำมาพัฒนาได้ แต่ขณะนี้ยังไม่มีกฎหมายรองรับ ซึ่งคาดว่าในอนาคตอาจมีการนำมาหารือและบังคับใช้ได้

    รอง ผบช.น.ยังกล่าวถึงการแก้ไขปัญหาตำรวจจราจรเรียกรับเงินจากผู้ขับขี่ที่กระทำความผิดตามที่มีคลิปภาพปรากฏในช่วงที่ผ่านมาว่า จากนี้ไปจะไม่มีการทุจริตคอร์รัปชั่นใดๆ เพราะจะนำระบบเทคโนโลยีตรวจจับการกระทำผิดด้วยอิเล็กทรอนิกส์ อาทิ กล้องวงจรปิด ซีซีทีวี ตามทางแยกสำคัญต่างๆ รวมถึงการนำระบบการเสียค่าปรับทางอิเล็กทรอนิกส์เข้ามาใช้ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่หลายประเทศทำกันเป็นระบบสามารถตรวจสอบข้อมูลได้ถูกต้องชัดเจน สามารถแก้ปัญหาการฉ้อโกงได้เป็นอย่างดี

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 205.jpg
      205.jpg
      ขนาดไฟล์:
      97.9 KB
      เปิดดู:
      569
  12. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,654
    ค่าพลัง:
    +97,150
    ต่างประเทศ : ข่าวทั่วไป
    วันจันทร์ที่ 7 ตุลาคม 2556

    จีนผวา!ไต้ฝุ่น'ฟิโทว์'อพยพปชช.กว่า5แสน
    ไต้ฝุ่น'ฟิโทว์'พัดเข้าสู่มณฑลตะวันออกของจีนแล้ว อพยพประชาชน 574,000 คน

    7 ต.ค.56 สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า จีนอพยพประชาชนหลายแสนคน ในพื้นที่ทางตะออกเฉียงใต้ของประเทศ พร้อมกับเรียกเรือประมงกลับเข้าฝั่ง และประกาศเตือนภัยระดับสูงสุดในระดับสีแดงเมื่อวันอาทิตย์ เนื่องจากพายุุไต้ฝุ่น ฟิโทว์ พัดเข้าฝั่ง หลังจากเคลื่อนตัวผ่านทางตอนใต้ของญี่ปุ่น เมื่อวันศุกร์

    ทั้งนี้ เมื่อช่วงเช้ามืดของวันนี้ ไต้ฝุุ่นฟิโทว์ ได้เคลื่อนตัวขึ้นฝั่งทางมณฑลตะวันออกของจีน หลังจากทางการสั่งอพยพประชาชน 574,000 คน ในมณฑลเจ้อเจียง และอีก 177,000 คน ในมณฑลฟูเจี้ยน ไปยังที่ปลอดภัย

    ด้านศูนย์อุตุนิยมวิทยาแห่งชาติของจีน ได้คาดการณ์ว่า บริเวณพื้นที่ชายฝั่งใน 5 มณฑล จะเผชิญฝนตกหนักและกระแสลมแรง ก่อนพายุจะเคลื่อนตัวต่อไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และอ่อนกำลังลงอย่างรวดเร็ว

    สำหรับ พายุ "ฟิโทว์" (FITOW) ตั้งโดยประเทศไมโครนีเซีย ในมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นชื่้อของดอกไม้สวย มีกลิ่นหอมและเป็นภาษาพื้นเมืองของเกาะยาป (Yap) และนับเป็นพายุลูกที่ 23 แล้ว ที่พัดเข้าจีนในปีนี้ โดยทหารในเขตกังนัน ของมณฑลเจ้อเจียง ได้สร้างคันกั้นน้ำเพื่อป้องกันบ้านเรือนของประชาชน ก่อนที่ฝนจะตกหนัก ส่วนในอีกหลายเขต พบว่า ประชาชนต้องเดินลุยตามบนถนน ส่วนคนอื่น ๆ วิดน้ำออกจากบ้าน และเมื่อเที่ยงวันของวันอาทิตย์ มีเรือประมงมากกว่า 65,000 ลำ ทะยอยกลับเข้าฝั่ง

    สำนักข่าวซินหัว รายงานว่า พายุไต้ฝุ่นฟิโทว์ มีความเร็วลม 151 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และพัดขึ้นฝั่งที่มณฑลฟูเจี้ยนเมื่อเช้ามืดของวันนี้ ทำให้เกิดฝนตกหนักและไฟดับเป็นบริเวณกว้าง ส่วนที่เขตชังหนาน พื้นที่แถบชายฝั่งของมณฑลเจ้อเจียง มีบ้านเรือนหลายหลังพังถล่มเพราะแรงลม ทางการได้เรียกร้องให้เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ ตรวจสอบความปลอดภัยของเขื่อน , อ่างเก็บน้ำ รวมถึงโรงงานสารเคมีต่าง ๆ ด้วย

    นอกจากนี้ อิทธิพลของพายุ ยังส่งผลให้การบริการรถไฟฟ้าความเร็วสูงในหลายเมืองในมณฑลเจ้อเจียง, ฟูเจี้ยน และเจียงซี ถูกระงับชั่วคราว เที่ยวบินที่สนามบินในเมืองเหวินโจว ต้องยกเลิกราว 27 เที่ยวบิน
     
  13. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,654
    ค่าพลัง:
    +97,150
    ศูนย์เตือนภัย พิบัติโลก ได้แชร์ รูปภาพ ของ Newsmania
    26 นาทีที่แล้ว
    วาฬกว่า 22 ตัว เกยตื้นตายบนชายหาดในสเปน เจ้าหน้าที่กำลังหาสาเหตุการตายอยู่

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 206.jpg
      206.jpg
      ขนาดไฟล์:
      68.3 KB
      เปิดดู:
      1,547
  14. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,654
    ค่าพลัง:
    +97,150
    Thanong Fanclub
    วันนี้ เวลา 8:00
    หนี้สหรัฐฯที่ต้องจ่ายระยะสั้น

    คลังสหรัฐฯมีภาระหนี้ที่จะต้องจ่าย$441,000ล้านในระหว่างวันที่ 24ตุลาคมถึงวันที่15 พฤศจิกายน ถ้ากฎหมายยกเพดานหนี้ไม่ผ่าน นรกแตกแน่

    เพราะว่าในวันที่17ตุลาคมเส้นตายของกฎหมายยกเพดานหนี้ที่ต้องเพิ่ม คลังสหรัฐฯจะมีเงินคงคลังเหลือแค่$30,000ล้าน ประคองหนี้ได้ไม่นาน

    จากตารางจะเห็นได้ว่า คลังครบกำหนดจ่ายหนี้ $93,000 ล้านในวันที่ 24 ตุลาคม; $105,780ล้าน ในวันที31 ตุลาคม; $54,000ล้านในวันที่7 พฤศจิกายน; $79,000ในวันที่ 14พฤศจิกายน; และ$64,200ล้านวันที่ 15พฤศจิกายน

    สรุปสหรัฐฯมีแต่หนี้ ยกเพดานหนี้ก็แค่แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า สหรัฐฯจะต้องพิมพ์เงินออกบอนด์จ่ายหนี้แบบแชร์แม่ชะม้อยแบบนี้ได้อีกนานเท่าใด

    thanong
    8/10/2013

    The Danger In Playing "Debt Ceiling Chicken": $440 Billion In Debt Maturing Before November 15 | Zero Hedge
     
  15. ธรรมแท้ว่าง

    ธรรมแท้ว่าง กายเบาใจเบา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    12,288
    ค่าพลัง:
    +12,620
    แกนแม่เหล็กโลกคงจะเคลื่อนจากเดิมเพื่อสลับขั้วจริงๆ
    แต่"เรด้า"ของสัตว์น้ำทั้งหลาย
    ยังคงทำงานแบบเดิมมันจึงลงทิศหลงทาง
    เกยตื้นเป็นว่าเล่น

    เห็นนักวิทยาศาสตร์หาสาเหตุกันบ่อยๆ
    เมื่อเกิดเหตุสัตว์น้ำเกยตื้น แต่ไม่เคยออกมาแถลง
    ให้สาธารณะรับทราบกันเลย
     
  16. สุกิจSukit

    สุกิจSukit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2013
    โพสต์:
    222,654
    ค่าพลัง:
    +97,150
    [​IMG]

    Kaokala Fc
    8 ต.ค. ญี่ปุ่นหมดทาง วอนนานาชาติช่วยแก้วิกฤตฟุคุชิมา

    หนังสือพิมพ์ เดลี่ เทเลกราฟ ของอังกฤษ รายงานเมื่อวันที่ 8 ตุลาคมนี้ ระบุว่า นาย ชินโสะ อาเบะ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นยืนยันในระหว่างการประชุมทางวิทยาศาสตร์นานาชาติที่นครเกียวโตว่า ทางการญี่ปุ่นพร้อมเปิดกว้างรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศ เพื่อช่วยแก้ปัญหาวิกฤตการณ์นิวเคลียร์ที่เลวร้ายที่สุดในรอบหลายทศวรรษ ที่โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ ฟุคุชิมา โดยคาดหวังว่าจะได้รับความรู้ที่ก้าวหน้าที่สุดและความชำนาญสำหรับใช้ในการควบคุมไม่ให้เกิดปัญหารั่วไหลโดยถาวรต่อไป

    นายอาเบะ เรียกร้องดังกล่าวหลังจากเกิดปัญหาจากที่เกิดปัญหารั่วไหลของสารกัมมันตภาพรังสีจากโรงไฟฟ้าฟุคุชิมา ออกมาเป็นระยะๆ หลังจากที่เกิดอุบัติเหตุใหญ่ทางนิวเคลียร์ขึ้นที่โรงไฟฟ้าแห่งนี้หลังแผ่นดินไหวและสึนามิเมื่อปี 2554

    นอกเหนือจากนั้นแล้ว เตาปฏิกรณ์ชำรุดที่ฟุคุชิมา ยังมีปัญหากัมมันตภาพรังสี รั่วไหลลงไปปนเปื้อนกับน้ำใต้ดิน ซึ่งยังไม่มีหนทางควบคุมไม่ให้รั่วไหลออกไปสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก ในขณะเดียวกัน ญี่ปุ่นก็ยังไม่สามารถตัดสินใจได้ว่า จะทำอย่างไรกับน้ำปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสีเข้มข้น ซึ่งเดิมเคยใช้เป็นน้ำในระบบหล่อเย็นของเตาปฏิกรณ์ก่อนหน้านี้ ในเวลาเดียวกับที่ ทางการญี่ปุ่นเริ่มถูกวิพากษ์วิจารณ์มากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะจากภายในประเทศ ในการรับมือกับปัญหานี้โดยเฉพาะในเรื่องของการไม่ยอมรับความช่วยเหลือจากนานาชาติเพื่อแก้ปัญหานี้อย่างถาวร

    ญี่ปุ่นหมดทาง วอนนานาชาติช่วยแก้วิกฤตฟุคุชิมา : มติชนออนไลน์
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • image.jpg
      image.jpg
      ขนาดไฟล์:
      57.2 KB
      เปิดดู:
      1,537
  17. iamprateep

    iamprateep เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    448
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,685
    เป็นเรื่องใหญ่มากๆซะแล้ว ... ใครมีทฤษฎีอะไรลองมาแชร์กันครับ
    ว่าจะควบคุมมันยังไงได้บ้าง จะได้ลองเทียบดูเพราะเขาเปิดให้นานาชาติร่วมหาทางออกแล้ว
    ไทยเราก็สามารถร่วมได้นะ ลองแบ่งปันกันครับ บริหารสมองกันก็ดีครับ เผื่อจะเจอวิธีการเด็ดๆเพื่อเพื่อนๆชาวญี่ปุ่น อย่าลืมว่าโลกเราน้ำเกือบทั้งโลก แล้วมันก็อาจหมุนเวียนมาถึงกันนะครับ ... ต้องการไอเดียครับ นายกญี่ปุ่นเขารับฟังแล้ว เปิดหมดแล้ว เพราะมันแน่นอกมากเกินไปน่ะ ...


    ... ^^ ...
     
  18. ชัยธนันท์

    ชัยธนันท์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    859
    ค่าพลัง:
    +1,488
    ต้องมีธรรมะในใจกันก่อนครับ โลกจึงจะสงบ
     
  19. Nirvana

    Nirvana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กุมภาพันธ์ 2005
    โพสต์:
    8,188
    ค่าพลัง:
    +20,865
    ว่าแร้วๆๆๆๆ.....!!!!

    น้า Mythi เพิ่นเว่าแร้ว....แม่น...บ่ [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 ตุลาคม 2013
  20. naproxen

    naproxen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    173
    ค่าพลัง:
    +742
    วิกฤตโรงไฟฟ้าฟุกุชิมา
    ผมเคยเสนอทางแก้ไว้แล้วโดยการใช้คอนกรีต แต่มีบางท่านไม่เข้าใจกล่าวตำหนิทั้งที่ไม่ทำความเข้าใจแนวคิดที่นำเสนอ ทั้งนี้เพราะยึดมั่นในสัญญาเดิมๆ

    วิกฤตโรงไฟฟ้าฟุกุชิมาผมเคยพูดกับคนใกล้ชิดไว้ตั้งแต่สัปดาห์แรกหลังสึนามิญี่ปุ่น

    วิกฤตโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมา เป็นวิกฤตจากความไม่รู้จริงเรื่องเตโชธาตุที่อยู่ในรูปกัมมันตรังสี

    หลักการแก้ไขโดยย่อ

    เตโชธาตุมีธรรมชาติแห่งการชนกัน ร้อนและทำให้รูปเคลื่อนตัวเปลี่ยนแปลง

    การใช้น้ำไปหล่อเย็นระบบที่มีการรั่วของสารกัมมันตรังสี เป็นการที่นำน้ำไปเก็บเตโชธาตุ
    น้ำเป็นของเหลวย่อมไหลตามแรงโน้มถ่วงได้ง่าย จึงควบคุมการเคลื่อนที่ได้ยาก จะต้องหยุดการเคลื่อนที่โดยเปลี่ยนจากของเหลวเป็นของแข็ง

    ถ้าเปลี่ยนน้ำที่มีสารกัมมันตรังสีเข้มข้นอยู่เป็นของแข็งแล้วจะไม่เกิดการระเบิดหรือ
    คำถามนี้แหละคือตัวการสำคัญที่ถ้าเข้าใจคำตอบ วิกฤตการนี้จะแก้ได้

    เตโชธาตุนั้นจะร้อนแรงจนระเบิดก็ต่อเมื่อเข้าใกล้กันและมีความหนาแน่นมากพอ

    แต่ความเข้มข้นของสารกัมกันตรังสีในน้ำปนเปื้อนที่ถูกเก็บไว้ในแท๊งยักษ์ที่โรงไฟฟ้าฟุกุชิมะ
    มีความเข้มข้นของสารกัมมันตรังสีที่ทำให้เกิดความร้อนแต่ไม่มากพอที่จะเกิดการระเบิด เพราะถ้าจะระเบิดต้องระเบิดไปแล้ว

    และความเข้มข้นสารกัมกันตรังสีของน้ำปนเปื้อนที่ถูกเก็บไว้ในแท๊งยักษ์ที่โรงไฟฟ้าฟุกุชิมะเมื่อถูกเปลี่ยนสภาพเป็นของแข็งด้วยคอนกรีต จะมีความเข้มข้นของสารกัมมันตรังสีที่ทำให้เกิดความร้อนแต่ไม่มากพอที่จะเกิดหลอมเหลวและไม่มากพอที่จะระเบิด สามารถทดสอบในสเกลเล็กได้เลย

    กระผมมีบุญบารมีจำกัด
    เรื่องวิกฤตโรงไฟฟ้าฟูกุชิมะนี้คงต้องอาศัยบารมีแห่งพระเจ้าธรรมิกราช พระองค์จะอธิบายอย่างละเอียดและเข้าใจได้โดยง่ายแก่มหาชนกลางปีพ.ศ.2560
    ขอขอบพระคุณทุกท่าน
     

แชร์หน้านี้

Loading...