ความทรงจำในอวัยวะปลูกถ่าย

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย NaCl, 14 มีนาคม 2007.

แท็ก: แก้ไข
  1. NaCl

    NaCl เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 ตุลาคม 2004
    โพสต์:
    180
    ค่าพลัง:
    +289
    Cellular Memory in Organ Transplants
    ความทรงจำในอวัยวะปลูกถ่าย

    Leslie A. Takeuchi, BA, PTA
    http://www.med.unc.edu/wellness/main/links/cellular memory.htm



    In my experience as a physical therapist assistant, I have come to acknowledge the relevance of thoughts, emotions and spiritual beliefs to healing. I recognize the art of physical therapy to be based upon empirical science and a dualism which views the mind and body as separate, thus drawing a sharp distinction between sensory experiences and physical reality, between subject and object, between mind and matter and between soul and body. However, I also recognize that even though my science provides a rational foundation, it does not allow for the importance of the subjectivity and wholeness I see in my patients whose bodies and minds are inseparable.



    ในประสพการณ์ของข้าพเจ้าในฐานะผู้ช่วยบำบัดความเจ็บป่วยทางกาย ข้าพเจ้าได้พบกับวามสัมพันธ์ระหว่างความคิด อารมณ์ และความเชื่อทางจิตวิญญาณ ในทางที่จะบรรเทาการเจ็บป่วยนั้น ข้าพเจ้ารู้เรื่องเกี่ยวกับศิลปะในการรักษาความเจ็บป่วยทางกายโดยมีพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์จากการสังเกตด้วยตนเอง และด้วยมุมมองที่ว่า ร่างกายและจิตใจนั้นแยกจากกัน นั้น แสดงให้เห็นความแตกต่างอย่างมากระหว่างประสพการณ์จากการสัมผัส และความจริงที่มันเป็น, ความต่างระหว่างชื่อเรียกกับสิ่งที่ถูกเรียก, ความต่างระหว่างความรับรู้และความจริง และระหว่างจิตกับกาย อย่างไรก็ตาม ข้าพเจ้าทราบดีว่าแม้ความคิดของข้าพเจ้าออกจะไปในแนววิทยาศาสตร์ทางจิต แต่ข้าพเจ้าก็ไม่ยอมให้ความสำคัญของความเชื่อส่วนตัว และการเหมารวมในสิ่งที่ข้าพเจ้าพบในบรรดาคนไข้ ผู้ซึ่งกายและจิตไม่สามารถแยกจากกัน







    In my work with the chronic pain population, I have taken a closer look at this relationship of mind and matter, body and emotions, for keys to how people heal. In this search, I looked into theories of emotions or memories being somehow stored in the tissues of the body and later manifesting in the physical form of pain or disease. What was most striking were the numerous reports of organ transplant recipients who later experienced changes in personality traits, tastes for food, music, activities and even sexual preference. Is it possible that our memories reside deep inside our bodily cells in addition to in our minds?



    ในงานของข้าพเจ้ากับกลุ่มคนไข้ที่ป่วยเรื้อรัง ข้าพเจ้าพยายามสังเกตความสัมพันธ์ของความรับรู้และความจริง, ร่างกายและอารมณ์ เพื่อเป็นกุญแจนำไปสู่การรักษาคนเหล่านั้น ในการค้นหานี้ ข้าพเจ้าดูทฤษฎีที่ว่า อารมณ์ และคงามทรงจำ ถูกบันทึกไว้ในเนื้อเยื่อของร่างกายด้วยวิธีการบางอย่าง และทำให้เกิดการเจ็บป่วยหรือโรคทางกายขึ้นมาในภายหลัง สิ่งที่เราเจอมากคือรายงานเกี่ยวกับผู้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ ซึ่งเขาเหล่านั้นมีประสพการณ์การเปลี่ยนไปทางด้านบุคลิกลักษณะ, รสนิยมในการรับประทานอาหาร, การฟังเพลง, กิจกรรมต่างๆ รวมทั้งความชอบส่วนตัวทางเพศ มันมีความเป็นไปได้ไหมว่าความทรงจำของเราถูกบรรจุไว้ในเซลต่างๆ ของร่างกายของเรา นอกเหนือจากอยู่ในใจเรา ?







    Current understandings about memory, for example, place this mental capacity solely as a function of the brain. However, the process of memory may be too complex to be explained by measuring brain activity through electroencephalograms or oxygen uptake as recorded on PET scans. Looking at memory as part of the quantum world of sub-atomic systems gives the visual image of tiny specks whizzing around every which way until there is a need for them to come together into some sort of pattern of awareness. But, where do the memories reside ?



    ความเข้าใจปัจจุบันเกี่ยวกับความทรงจำ ยกตัวอย่างเช่น การกำหนดว่าความสามารถทางความคิดจิตใจ เป็นหน้าที่ของสมองเพียงอย่างเดียว อย่างไรก็ตาม กระบวนการของความทรงจำนั้น มีความซับซ้อนยิ่ง จนเกินกว่าจะอธิบายด้วยเครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมอง หรือการวัดการใช้ออกซิเจนด้วย PET สแกน ลองมองดูว่าความทรงจำเป็นส่วนหนึ่งของโลกควันตัมของระบบที่เล็กกว่าอะตอม ซึ่งแสดงภาพที่มองเห็นได้ของอนุภาคจิ๋ว ที่หมุนไปรอบๆ ทุกทางที่เป็น จนมันมาพบกับรูปแบบที่จำเพาะ โดยรวมกันในรูปแบบหนึ่งซึ่งเป็นคุณลักษณะของความระลึกรู้ได้ด้วยตัวเอง แต่ ความสามารถจำจะในนั้นด้วยไหม ?







    Candace Pert, author of Molecules of Emotion: Why You Feel the Way You Feel, says, "Memories are stored not only in the brain, but in a psychosomatic network extending into the body . . . all the way out along pathways to internal organs and the very surface of our skin." After having discovered neuropeptides in all body tissues, Pert suggests that through cellular receptors, thoughts or memories may remain unconscious or can become conscious-raising the possibility of physiological connections between memories, organs and the mind.



    Candace Pert ผู้แต่งหนังสือเรื่อง โมเลกุลแห่งอารมณ์: ทำไมคุณมีความรู้สึกในอย่างที่คุณรู้สึก กล่าวว่า "ความทรงจำ ไม่ได้อยู่แค่ในสมอง แต่อยู่ในโครงข่ายประสาททั่วร่างกายคุณ .... ตลอดทั่วทั้งหมดไปถึงอวัยวะภายใน และผิวหนังชั้นนอกสุดของเรา" หลังจากที่มีการค้นพบนิวโรเปปไทด์ ในเนื้อเยื่อทุกส่วนในร่างกายของเรา Pert บอกว่ามันผ่านไปยังเซลลูล่าร์รีเซปต์เตอร์ ความคิดหรือความทรงจำอาจอยู่ในสภาวะไร้สำนึก หรือสามารถมีความระลึกรู้ขึ้นมาได้ถึงความเป็นไปได้ของการเชื่อมโยงระหว่างความทรงจำ, อวัยวะต่างๆ และความคิดจิตใจ







    University of Arizona scientists and co-authors of The Living Energy Universe, Gary Schwartz, PhD, and Linda Russek, PhD, propose the universal living memory hypothesis in which they believe that "all systems stored energy dynamically . . . and this information continued as a living, evolving system after the physical structure had deconstructed." Schwartz and Russek believe this may explain how the information and energy from the donor's tissue can be present, consciously or unconsciously, in the recipient.



    นักวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยอริโซน่า และผู้แต่งร่วมของหนังสือ จักรวาลพลังชีวิต ดร.Gary Schwartz, และ ดร.Linda Russek อธิบายเรื่องพื้นฐานของระบบความจำมีชีวิตในหนทางที่เขาพบและเชื่อ ว่า "ระบบทุกอย่างประจุพลังงานอยู่ในตัวอย่างเป็นพลวัตร ... และข้อมูลนี้ยังคงมีอยู่ต่อไปคล้ายมีชีวิตของมัน มันสร้างระบบของมันเองหลังจากโครงสร้างทางกายภาพถูกทำลายไปแล้ว" Schwartz และ Russek เชื่อว่านี่อาจเป็นคำอธิบายว่า ข้อมูลและพลังงานจากเนื้อเยื่อผู้บริจาค สามารถคงอยู่อย่างไร้สำนึก หรือมีความระลึกรู้ได้ในตัวผู้รับบริจาคนั้น







    Paul Pearsall, MD, a psychoneuroimmunologist and author of The Heart's Code, has researched the transference of memories through organ transplantation. After interviewing nearly 150 heart and other organ transplant recipients, Pearsall proposes the idea that cells of living tissue have the capacity to remember.



    Paul Pearsall นักจิตประสาทภูมิชีวิต (จิตวิทยา+ระบบประสาท+ระบบภูมิคุ้มกัน) และผู้แต่งหนังสือ รหัสแห่งหัวใจ ได้ทำวิจัยเรื่องการส่งผ่านความทรงจำผ่านการปลูกถ่ายอวัยวะ หลังจากที่ได้สัมภาษณ์ผู้รับหารปลูกถ่ายหัวใจ จำนวน 150 ดวง และอวัยวะอื่น Pearsall เสนอความคิดที่ว่า เซลของเนื้อเยื่อที่ยังมีชีวิต มีความสามารถในการเก็บความจำ







    Together with Schwartz and Russek, Pearsall conducted a study, published in the Spring 2002 issue of the Journal of Near-Death Studies, entitled, "Changes in Heart Transplant Recipients That Parallel the Personalities of Their Donors." The study consisted of open-ended interviews with 10 heart or heart-lung transplant recipients, their families or friends and the donor's families or friends. The researchers reported striking parallels in each of the cases. The following is a sampling of some these.



    Pearsall ทำงานร่วมกับ Schwartz และ Russek นำไปสู่การศึกษา ซึ่งเผยแผ่ในฤดูฝนปี 2002 ในวารสารการศึกษาภาวะใกล้ตาย หัวข้อ "ความเปลี่ยนแปลงในบุคลิกลักษณะของผู้รับการปลูกถ่ายอวัยวะไปเป็นเหมือนผู้บริจาคอวัยวะ" การศึกษานี้ประกอบด้วยการสัมภาษณ์ด้วยคำถามปลายเปิด กับครอบครัว หรือเพื่อนของผู้รับการปลูกถ่ายหัวใจ-ปอด, และครอบครัว หรือเพื่อนของผู้บริจาคอวัยวะ คณะวิจัยพบว่า มีความเหมือนกันในแต่ละกรณีศึกษาจริง ต่อไปนี้คือตัวอย่างกรณีศึกษาเหล่านั้น







    In one case, an 18-year-old boy who wrote poetry, played music and composed songs, was killed in an automobile accident. A year after he died his parents came across an audiotape of a song he had written, entitled, "Danny, My Heart is Yours," which was about how he "felt he was destined to die and give his heart to someone." The donor recipient "Danny" of his heart, was an 18-year-old girl, named Danielle. When she met the donor's parents, they played some of his music and she, despite never having heard the song, was able to complete the phrases.



    ในกรณีศึกษาหนึ่ง เด็กหนุ่มอายุ 18 ผู้ชอบเขียนกลอน เล่นดนตรี และแต่งเพลง ประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์เสียชีวิต หนึ่งปีหลังจากเขาตาย ครอบครัวของเขานำเทปเพลงซึ่งเป็นเพลงที่เขาได้เคยแต่งไว้ก่อนตาย ชื่อเพลงว่า "Danny หัวใจของฉันเป็นของเธอ" ซึ่งเกี่ยวกับ "ความรู้สึกที่เขาคิดว่าเขาต้องถูกลิขิตให้ตาย และมอบหัวใจให้กับใครคนหนึ่ง" ผู้รับบริจาคหัวใจของเขาคือ Danny เป็นเด็กหญิงอายุ 18 ปี ชื่อจริงว่า Danielle เมื่อเธอพบกับครอบครัวผู้บริจาค และเปิดเพลงให้เธอฟัง เธอซึ่งไม่เคยได้ยินเพลงนั้นมาก่อนเลยสามารถร้องเพลงนั้นจนจบประโยคได้







    In another case, a seven-month-old boy received a heart from a 16-month-old boy who had drowned. The donor had a mild form of cerebral palsy mostly on the left side. The recipient, who did not display such symptoms prior to the transplant, developed the same stiffness and shaking on the left side.



    ในอีกกรณีศึกษาหนึ่ง เด็กน้อยอายุเจ็ดเดือน รับหัวใจบริจาคจากเด็กอายุ 16 เดือน ซึ่งจมน้ำตาย ผู้ให้บริจาคมีปัญหากับการควบคุมร่างกายซีกซ้ายอย่างอ่อนๆ ตัวผู้รับบริจาคเอง ไม่เคยมีอาการดังกล่าวเลยก่อนหน้านี้ กลับมีอาการสั่น และควบคุมการเคลื่อนไหวได้ยากในซีกซ้ายเช่นเดียวกัน







    A 47-year-old Caucasian male received a heart from a 17-year-old African-American male. The recipient was surprised by his new-found love of classical music. What he discovered later was that the donor, who loved classical music and played the violin, had died in a drive-by shooting, clutching his violin case to his chest.



    ชายคอเคเซี่ยนอายุ 47 ปี รับหัวใจจากชายแอฟริกัน-อเมริกันอายุ 17 ปี ผู้รับบริจาคแปลกใจที่พบว่าตัวเองชอบเพลงคลาสสิค ซึ่งเขารู้ทีหลังว่าผู้บริจาคชอบเพลงคลาสสิค และเล่นไวโอลิน ซึ่งตายโดยถูกลอบยิงขณะขับรถ กอดกระเป๋าไวโอลินไว้แนบอก







    A 29-year-old lesbian and a fast food junkie received a heart from a 19-year-old woman vegetarian who was "man crazy." The recipient reported after her operation that meat made her sick and she was no longer attracted to women. If fact, she became engaged to marry a man.



    หญิงเลสเบี้ยนผู้ชอบอาหารจังค์ฟูด อายุ 29 รับหัวใจจากหญิงมังสวิรัตอายุ 19 ซึ่ง "บ้าผู้ชาย" ผู้รับบริจาครายงานว่าหลังจากที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ ว่า อาหารพวกเนื้อสัตว์ทำให้เธอป่วย และเธอก็ไม่ได้ชอบผู้หญิงด้วยกันอีกต่อไป ซึ่งจริงๆ แล้ว เธอมีแผนจะแต่งงานกับชายหนุ่ม







    A 47-year-old man received a heart from a 14-year-old girl gymnast who had problems with eating disorders. After the transplant, the recipient and his family reported his tendency to be nauseated after eating, a childlike exuberance and a little girl's giggle.



    ชายอายุ 47 ปี รับหัวใจบริจาคจากหญิงนักยิมนาสติกอายุ 14 ปี ผู้ที่มีปัญหาด้านการรับประทานอาหาร หลังจากการปลูกถ่ายฯ ผู้ที่รับบริจาคและครอบครัวรายงานว่า เขามีแนวโน้มว่ามักมีอาการปั่นป่วน อาเจียนหลังรับประทานอาหาร มีความร่าเริง ติงต๊องเกินปกติคล้ายเด็กๆ







    Aside from those included in the study, there are other transplant recipients whose stories are worth mentioning, such as Claire Sylvia, a woman who received a heart-lung transplant. In her book entitled, A Change of Heart: A Memoir, Ms. Sylvia describes her own journey from being a healthy, active dancer to becoming ill and eventually needing a heart transplant. After the operation, she reported peculiar changes like cravings for beer and chicken nuggets, neither of which she had a taste for prior to the transplant. She later discovered that these were favorites of her donor. She even learned that her donor had chicken nuggets in his jacket pocket when he died in a motorcycle accident.



    ในอีกรายงานหนึ่งนอกเหนือไปจากกรณีศึกษา มีเรื่องราวของผู้รับการปลูกถ่ายอวัยวะอีกหลายรายที่น่าสนใจ เช่น Claire Sylvia สุภาพสตรีผู้ซึ่งรับการปลูกถ่ายหัวใจ-ปอด เธอเขียนหนังสือชื่อว่า "บันทึก เปลี่ยนหัวใจใหม่" Sylvia บรรยายเกี่ยวกับชีวิตของเธอที่ดำเนินไป ตั้งแต่ยังเป็นนักเต้น ที่มีสุขภาพดี จนกระทั่งป่วย และจำเป็นต้องรับการปลูกถ่ายอวัยวะ หลังจากการผ่าตัด เธอบรรยายว่ามีสิ่งที่เปลี่ยนไปอย่างที่ไม่คาดคิด เช่น เธอเกิดชอบกินเบียร์ และนักเก็ตไก่ ทั้งที่เธอไม่เคยชอบของพวกนี้มาก่อน ต่อมาเธอก็ได้รู้ว่าความชอบอันนี้เป็นความชอบของผู้บริจาคอวัยวะ เธอยังรู้อีกด้วยว่า เจ้าของหัวใจของเธอ พกขาไก่ไว้ในกระเป๋าเสื้อขณะที่เขาตายด้วยอุบัติเหตุมอเตอร์ไซค์







    Another possible incidence of memory transfer occurred when a young man came out of his transplant surgery and said to his mother, "everything is copasetic." His mother said that he had never used that word before, but now used it all the time. It was later discovered that the word had been a signal, used by the donor and his wife, particularly after an argument, so that when they made up they knew everything was okay. The donor's wife reported that they had had an argument just before the donor's fatal accident and had never made up.



    อีกความเป็นไปได้ของการส่งผ่านความทรงจำ เกิดขึ้นเมื่อชายหนุ่มคนหนึ่งเพิ่งออกมาจากห้องผ่าตัเปลี่ยนอวัยวะ และพูดกับแม่ของเขาว่า "everything is copasetic." (ทุกอย่างเรียบร้อยดี) แม่ของเขากล่าวว่าเขาไม่เคยใช้คำแบบนั้นเลย (copasetic) แต่เดี๋ยวนี้เขาใช้คำนี้บ่อยมาก ต่อมาก็ได้ทราบภายหลังว่า คำดังกล่าวคือคำที่ใช้เป็นสัญญาณที่ใช้โดยเจ้าของอวัยวะและภรรยาของเขา โดยเฉพาะหลังจากมีอะไรกัน เขาใช้คำนี้เมื่อเสร็จ และทุกอย่างไปได้ดี ภรรยาของผู้บริจาคอวัยวะรายงานว่า เขาทั้งสองเพื่งมีอะไรกันก่อนหน้าที่จะเกิดอุบัติเหตุ และเขาไม่เสร็จ (อุบัติเหตุตอนกำลัง ... เลยป่าวเนี่ย ??)





    Another amazing story, reported by Pearsall, is that of an eight-year-old girl who received the heart of a ten-year-old girl who had been murdered. After the transplant, the recipient had horrifying nightmares of a man murdering her donor. The dreams were so traumatic that psychiatric help was sought. The girl's images were so specific that the psychiatrist and the mother notified the police. According to the psychiatrist, ". . .using the description from the little girl, they found the murderer. He was easily convicted with the evidence the patient provided. The time, weapon, place, clothes he wore, what the little girl he killed had said to him . . . everything the little heart transplant recipient had reported was completely accurate."





    เรื่องที่น่าทึ่งอีกเรื่องหนึ่งรายงานจาก Pearsall เป็นเรื่องของเด็กหญิงวัย 8 ขวบ ผู้ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะจากเด็กหญิงอายุ 10 ขวบ ผู้ถูกฆาตกรรม หลังจากปลูกถ่ายอวัยวะเสร็จแล้ว เด็กหญิงผู้รับการปลูกถ่ายได้ฝันร้ายตลอด เห็นชายผู้มาฆาตกรรมเจ้าของอวัยวะ ฝันนั้นเหมือนจริงมากและเกี่ยวข้องกัน รายละเอียดภาพที่เห็นมีลักษณะเฉพาะและมีรายละเอียดมากจนมารดาและจิตแพทย์ได้นำรายละเอียดไปให้ตำรวจ ด้วยรายละเอียดจากเด็กน้อย ทำให้สามารถสืบพบฆาตกร พวกเขาสามารถรวบรวมหลักฐานจากความช่วยเหลือของเด็ก ทั้งเวลา อาวุธ สถานที่ เสื้อผ้าที่ฆาตกรใส่ คำพูดที่เด็กหญิงน้อยพูดก่อนตาย ทุกสิ่งทุกอย่างที่เด็กหญิงผู้รับอวัยวะพูด ล้วนมีความถูกต้องแม่นยำอย่างสมบูรณ์





    Although medical science is not yet ready to embrace the ideas of cellular memory, one surgeon believes there must be something to it. Mehmet Oz, MD, heart surgeon at Columbia Presbyterian Medical Center, has invited an energy healer, Julie Motz, into the operating room during transplant surgery. Initially, Motz practiced energy healing to help reduce anxiety prior to surgery and depression following surgery. Then the team noticed that there seemed to be less incidence of rejection in these patients. They were curious to see what would happen if she were present during the operation. Motz registers, through sensations in her own body, the emotional state of the patient during the surgical procedure. Through her touch or words, Motz attempts to alleviate any worries, fears or anger the patient may be experiencing. She works with the recipient's ability to accept the new organ and also works with the donated tissue so it will accept a new body. The results have been favorable, and the team reports reduced rejection and increased survival rates. This may sound outrageous to those who never thought about tissues having feelings or caring about where they would reside, but Dr. Oz believes that it would be a disservice to ignore even the possibility that this method could help.





    ถึงแม้ว่าวิทยาศาสตร์ทางการพทย์ยังไม่พร้อมที่จะยอมรับความคิดเรื่องเซลลูล่าร์เมมโมรี่ ศัลยแพทย์ผู้หนึ่งก็เชื่อว่ามีบางอย่างอยู่จริงๆ Mehmet Oz, MD ศัลยแพทย์หัวใจที่ Columbia Presbyterian Medical Center ได้เชิญผู้มีพลังพิเศษเกี่ยวกับการรักษา Julie Motz มาร่วมงานในห้องผ่าตัดระหว่างการปลูกถ่ายอวัยวะ เริ่มแรก Motz ใช้การถ่ายพลังพิเศษให้ เพื่อช่วยลดความตื่นเต้นของคนไข้ก่อนการผ่าตัด และความรู้สึกหดหู่หลังการผ่าตัด หลังจากนั้นทีมผ่าตัดพบว่า มีการไม่ยอมรับอวัยวะของร่างกายลดลง และทำให้ทีมงานเริ่มสนใจว่า จะเกิดอะไรขึ้นหากให้เข้าไปทำพิธีในห้องผ่าตัดด้วย Motz สื่อผ่านความรู้สึกของคนไข้ที่กำลังผ่าตัดโดยผ่านตัวเธอเอง ผ่านคำพูดหรือสัมผัส Motz พยายามลดความกังวล ความกลัว และอารมณ์ที่รุนแรงลงมา เธอจัดการกับความสามารถของคนไข้ที่จะยอมรับอวัยวะใหม่ และตัวอวัยวะใหม่ ที่จะเข้ากันกับเนื้อเยื่อของคนไข้ ผลลัพธ์เป็นที่น่าพอใจ และทีมงานรายงานว่าให้ผลการรับอวัยวะใหม่ที่ดี เพิ่มอัตราการรอดชีวิตให้สูงขึ้น นี่อาจฟังดูประหลาด ไม่น่าเชื่อสำหรับผู้ที่ไม่เคยคิดว่าเนื้อเยื่อและอวัยวะมีความรู้สึกของมันเอง ว่ามันจะต้องไปอยู่ที่ไหน แต่ ดร.Mehmet Oz เชื่อว่า จะมีคนที่ไม่ยอมรับ แม้ว่าวิธีนี้มันจะได้ผลจริงๆ ก็ตาม





    More studies are being conducted with regard to the phenomenon of organ recipient and donor coincidences. Pearsall, Schwartz and Russek report that, "research is underway at the University of Arizona on a sample of more than 300 transplant patients to determine the incidence of such transcendent memory phenomena using semi-structured interviews and systematic questions."





    การศึกษายังดำเนินต่อไป เกี่ยวกับปรากฏการณ์ความจำของผู้รับอวัยวะและเจ้าของอวัยวะ Pearsall, Schwartz และ Russek รายงานว่า การค้นคว้ายังทำอยู่อย่างต่อเนื่องที่ มหาวิทยาลัยอริโซน่า ด้วยเคสตัวอย่างของคนไข้ปลูกถ่ายอวัยวะมากกว่า 300 คน เพื่อที่จะสืบทราบความจริงเกี่ยวกับความทรงจำในอวัยวะปลูกถ่าย โดยใช้คำถามสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง และคำถามแบบเป็นระบบ





    Intriguing questions remain. What percentage of transplant recipients actually do feel changes in behavior and personality or report changes in food preference or have new memories? Is there a higher incidence of tissue or organ acceptance in those patients who are aware of their consciousness or who have energy work done? Will ordinary science offer more evidence to support that memories are transferred-or will we need a new science? Perhaps more importantly, what does this transcendent phenomenon have to tell us about other healing events?





    คำถามที่ชวนสงสัยยังมีอยู่ เปอร์เซนต์ของคนไข้ที่มีนิสัยเปลี่ยนไป หรือมีความชอบในการรับประทานอาหารที่เปลี่ยนไป หรือมีความทรงจำใหม่มีจำนวนเท่าใด และจำนวนของคนไข้ที่ยอมรับกับอวัยวะใหม่ได้มีจำนวนเพิ่มขึ้นเท่าไหร่ หลังจากการบำบัดด้วยพลังพิเศษระหว่างผ่าตัด แล้ววิทยาศาสตร์มีหลักฐานอะไรมารองรับเรื่องเกี่ยวกับความทรงจำที่ส่งผ่านไป หรือเราต้องใช้ความรู้วิทยาศาสตรืที่ใหม่กว่านี้ ? บางที สิ่งที่สำคัญกว่าอาจจะเป็นว่า อะไรที่ปรากฏการณ์เหนือคำอธิบายนี้กำลังบอกเรา ?





    Leslie A. Takeuchi, BA, PTA is a physical therapist assistant and is currently a graduate student in Holistic Health Education at John. F. Kennedy University in Orinda, California. An article about Julie Motz's energy healing work appeared in the June/July issue of San Francisco Medicine in 2000. Her book, "Hand of Life" was published by Bantam Books in 1998.
     
  2. sutatip_b

    sutatip_b เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    3,197
    ค่าพลัง:
    +26,189
    น่าสนใจมากค่ะ
     
  3. หลับตา

    หลับตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    716
    ค่าพลัง:
    +3,151
    ผมว่าไม่แปลกนะ จิตกับกาย เป็นคนละส่วนกันก็จริง แต่ก็ทำงานสัมพันธ์กันตลอดเวลา
    มันทำงานกลมกลืนตลอดเวลาจนแยกไม่ทัน เป็นส่วนผสมผสานส่งข้อมูลไปมาระหว่างกัน มันผลักดันเราไปสู่ตัวตนของเรา

    สมมติ ผมหรือคุณผ่าตัดกล่องเสียงจนมีเสียงเหมือนพี่เบิรด์ ธงไชย ความเป็นตัวตนผมเมื่อทำงานกับร่างกายส่วนใหม่ มันก็ต้องต่างจากตัวตนเดิมก่อนมีเสียงเหมือนพี่เบิร์ด

    คนทำศัลยกรรม ก่อนและหลัง บุคลิกภาพก็เปลี่ยนไป

    เมื่อก่อนขับรถสามล้อ ต่อมาได้อะไหล่รถเบนซ์มาแทน นานเข้าความรู้สึกก็เปลี่ยนไป

    แต่ถ้ามีสติตามทัน ก็จะรู้ว่าก็แค่สมมติ ไม่หลงไปกับตัวตนมายา
     
  4. ประทีปแก้ว

    ประทีปแก้ว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2008
    โพสต์:
    3,506
    ค่าพลัง:
    +8,328
    : ความทรงจำในอวัยวะปลูกถ่าย

    น่าสนใจมากทีเดียว
    thaxx
     

แชร์หน้านี้

Loading...