ขอเชิญท่านที่มีความจงรักภักดีและเทิดทูนในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย จงรักภักดี, 28 เมษายน 2009.

  1. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,923
    ค่าพลัง:
    +6,434
    หลักฐานจากพงศาวดารพม่า

    พงศาวดารพม่าฉบับหอแก้วหรือมหาราชวงษ์พงศาวดารพม่าซึ่งกษัตริย์บาจีดอ โปรดให้นักปราชญ์ชำระขึ้นใน พ.ศ.2372 โดยยึดหนังสือ "มหายาซะวินซี" ที่บันทึกโดยนักปราชญ์อูกะลา(พ.ศ.2257-2281)กล่าวกันว่ามีความแม่นยำสูง ทั้งนี้เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับจดหมายเหตุร่วมสมัยของชาวยุโรป เช่น Gasparo Balbi , Carrsare Fredericke , Faria y Sousa , Peter Floris และบันทึกของบาทหลวงคณะเจซูอิต ซึ่งเพิ่งค้นพบใหม่ เช่นเดียวกับพงศาวดารไทย ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ
    พงศาวดารพม่าบันทึกว่า "เมืองแหน"(เมืองแหงหรือ อ.เวียงแหง- ดูหลักฐานด้านที่มาของภาษาหรือนิรุกติศาสตร์ ในหัวข้อถัดไป)เกี่ยวข้องกับการสงครามในรอบ 200 ปีเศษ ตั้งแต่พระเจ้าบุเรงนองยกทัพเข้ายึดเมืองเชียงใหม่ใน พ.ศ.2101 และเชียงใหม่ตกเป็นเมืองขึ้นพม่าจนถึง พ.ศ.2317 ดังนี้


    ครั้งที่ 1 ในปี จ.ศ.929(พ.ศ.2110)

    ..ออกญาธรรมราชา(ขุนพิเรนทรเทพหรือพระมหาธรรมราชา)ซึ่งเป็นพระราชบุตรเขยของพระเจ้ากรุงศรีอยุธยา ที่ครองเมืองพิศษณุโลกย์(พิษณุโลก) ได้มีใบบอกมากราบทูลพระเจ้าหงสาวดีว่า เจ้าเมืองเลียงเชียง(ล้านช้างหรือหลวงพระบาง สปป.ลาว) ได้ยกพลมาตีเมืองพิษณุโลกเป็นอันมากครั้นพระองค์ทรงทราบ จึงทรงจัดให้เจ้าประเทศราชเงี้ยว(ไทใหญ่)คือ เมืองไน(นาย)เจ้าฟ้า 1 เมืองยินเจ้าฟ้า 1 เมืองก่องเจ้าฟ้า 1 เมืองไมเจ้าฟ้า อนุผ่องเจ้าฟ้า 1 ย่องห้วยเจ้าฟ้า 1 รวม 6 ทัพ ช้าง 600 ตัว ม้า 6,000 ตัว
    ทหาร 60,000 คน ครั้นทรงจัดทัพเสร็จแล้ว
    มีรับสั่งให้ยกไปทาง"เมืองไน(นาย)" ครั้นกองทัพไปถึง"เมืองแหน" เป็นเมืองขึ้นของเชียงใหม ฝ่ายเจ้าเมืองเลียงเชียงทรงทราบว่ากองทัพกรุงหงสาวดียกทัพมาช่วย ก็รีบถอยหนี พระเจ้าหงสาวดีทรงทราบจึงมีท้องตราให้เรียก 6 กองทัพกลับ
    [​IMG]
    หลังจากนั้นอีก 38 ปีต่อมาพม่าก็บันทึกเหตุการ์ืสำคัญยิ่ง...ว่า..

    No title
     
  2. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,923
    ค่าพลัง:
    +6,434
    ครั้งที่ 2 ในปี จ.ศ.974

    ....
    ครั้นจุลศักราช 974 พระเจ้าอยุธยา พระนเรศ (สมเด็จพระนเรศวร) ทรงเสด็จยกกองทัพ 20 ทัพ ยกมาทางเชียงใหม่ จะไปตี เมืองอังวะ
    ครั้นเสด็จมาถึง " เมืองแหน" แขวงเมืองเชียงใหม่ ก็ทรงประชวรโดยเร็วพลัน
    ก็ สวรรคต ในที่นั้น
    [​IMG]4
    ภาพถ่ายจากดาวเทียมคลุมพื้นที่ตั้งแต่เชียงใหม่ ถึงเมืองปั่น(รัฐฉานใต้-พม่า)

     
  3. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,923
    ค่าพลัง:
    +6,434
    และครั้งสุดท้าย ในปี จ.ศ.1129 (พ.ศ.2317)

    ....ในขณะซึ่งพญาฉาปัน(พญาจ่าบ้าน)กับพญากาวิละ ไปเข้ากับอยุธยา นั้น ฝ่ายหัวเมืองขึ้นเชียงใหม่ 57 หัวเมือง ก็กระด้างกระเดื่องแข็งเมืองขึ้นทุกๆเมือง แล้วพญาฉาปันพูดกับพญาตากแสน(พระเจ้าตากสิน)ว่า ถ้าในเวลานี้เราตีเชียงใหม่ก็จะได้โดยง่าย แล้วพญาตากแสนจัดคนประมาณ 4 - 5 หมื่น ยกมาโดยด่วน ครั้นเห็นกองทัพสีหะปะเต๊ะ(เนเมียวสีหบดี) ก็มิได้หยุด ตรงเข้าตีตลุยเข้าไป
    ฝ่ายกองทัพสีหะปะเต๊ะ ทนฝีมือไม่ได้
    ก็แตกหนีถอยไปยัง "เมืองแหน" และจนต้องถอยไปอยู่"เมืองนาย"

    ข้อคำถาม "ถ้าหากท่านเป็นเนเมียวสีหบดี แม่ทัพพม่าผู้เจนศึก แต่ต้องมาพ่ายแพ้ในการรบ ถูกกองทัพพระเจ้าตากจู่โจมตี ขับไล่ออกจากเมืองเชียงใหม่จนต้องล่าถอยทัพแบบ"หนีตาย" กลับพม่าท่านจะเลือกใช้เส้นทางใดกลับ"เมืองนาย"พม่า ให้ไวที่สุดและถูกต่อต้านจากเมืองรายทางให้น้อยที่สุด เพื่อsave กำลังพลให้มากที่สุด ในขณะที่ทหารของท่านเสียขวัญ มีคนบาดเจ็บจากการสู้รบไปทั่ว การแบกหามทหารบาดเจ็บที่ทุลักทุเล ล่าช้า หนำซ้ำขาดแคลนเสบียงอาหารในการถอยทัพ
    ก.เส้นทางสั้นสายน้ำแตงผ่านเมืองแหงที่ใช้กันมาแต่เดิมและประหยัดเวลาในการเดินเ้ท้า 2-3 วัน เมื่อเทียบกับเส้นทางสายน้ำปิง
    ข.เส้นทางอ้อมและไกลตามสายน้ำปิง ที่อยู่ใกล้กับเมืองฝางประมาณ 4-6 ชั่วโมงเดินเท้า เมืองฝางเป็นเมืองใหญ่และขึ้นกับเมืองเชียงใหม่ อาจใช้โอกาสนี้ตีกระหนาบซ้ำให้กองทัพท่านเสียหาย แตกร่นไม่เป้นกระบวนหนักยิ่งขึ้น อีกทั้งเส้นทางสายนี้ยังไกลกว่าสายแรก ใช้เวลาเดินเท้านานกว่าประมาณ 2 - 3 วัน

    เอกสารอ้างอิง: มหาราชวงษ์พงศาวดารพม่า(๒๕๔๕)โรงพิมพ์พิฆเณศพริ้นติ้ง เซนเตอร์ จำกัด
     
  4. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,923
    ค่าพลัง:
    +6,434
    [​IMG]
    ภาพถ่ายจากดาวเทียมแลนด์แซต ๗ ครอบคลุมบริเวณพื้นที่ตั้งแต่เชียงใหม่ ถึง "เมืองนาย"(รัฐฉานใต้-พม่า)​
     
  5. โมเย

    โมเย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    876
    ค่าพลัง:
    +3,210
    เมื่อวานนี้ โมเยได้มีโอกาส ได้พบกับอาจารย์ ชัยยงค์ ชัยศรี

    ผู้เขียนหนังสือ การศึกษาเส้นทางเดินทัพและค้าขายสมัยโบราณ เชียงใหม่-เมืองกื้ด-เมืองคอง-เมืองแหง-เมืองนาย(พม่า)

    เจ้าของเวป http://www.naresuanthai.com/

    ท่าน แนะนำว่า หากมีโอกาสให้ลองไป นั่งสมาธิที่เมือง กึ๊ด ดูค่ะ

    ตัวท่านเอง ได้เขียนหนังสือด้วยการเขียน เชิงวิชาการ
    และประกอบกับ มีความศรัทธา อย่างยิ่ง ต่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

    และในวันที่ 3-5 มกราคมนี้

    ทาง มจ. ชาตรี เฉลิมยุคล และทีมงาน อาจารย์ ชัยยง ชัยศรี จะได้ดำเนินการสำรวจเส้นทางการเดินทางทัพของพระนเรศวร อีกครั้งหนึ่งค่ะ

     
  6. Fort_GORDON

    Fort_GORDON เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2008
    โพสต์:
    286
    ค่าพลัง:
    +488

    ขอยกมาอ้างอิงกันใหม่อีกครั้ง เช้านี้ก่อนเข้ากระทู้ ฟอร์ทได้เข้าไปอ่านข้อมูลต่างๆที่ได้เซฟไว้ในเครื่อง ก็พบหลายๆข้อความที่พี่ภาวิโตได้เคยเขียนไว้ในกระทู้ ฤๅจะเป็นพระราชปณิธานที่หาญมุ่งขององค์มหาราชพระองค์ดำ ก็ได้ตั้งใจไว้ว่าในโอกาสและจังหวะที่เหมาะสมก็จะนำมาลงเป็นครั้งคราวไป พอเข้ามาในกระทู้ก็ได้เฮเลย พี่ทางสายธาตุกรุณาจัดการเรียบร้อยแล้ว อย่างไรล่ะก็ ฟอร์ทขออนุญาตร่วมแจมด้วยนะขอรับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 ธันวาคม 2009
  7. Fort_GORDON

    Fort_GORDON เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2008
    โพสต์:
    286
    ค่าพลัง:
    +488
    <TABLE class=tborder id=post1270945 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>ธัมมนัตา<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1270945", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งล่าสุด: วันนี้ 07:20 PM
    วันที่สมัคร: Aug 2006
    ข้อความ: 441
    ได้ให้อนุโมทนา: 719
    ได้รับอนุโมทนา 4,633 ครั้ง ใน 409 โพส
    <IF condition="">
    </IF>พลังการให้คะแนน: 411 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1270945 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- icon and title -->เชิญ สักการะ พระบรมอัฐิพระองค์ท่านที่ วัดวรเชษฐ์ (นอก) อยุธยา
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->เชิญ สักการะ พระบรมอัฐิพระองค์ท่านที่ วัดวรเชษฐ์ อยุธยา
    <O:p

    วัดวรเชษฐ์นี้คือที่สถิตย์องค์อัฐิพระนเรศวร <O:p</O:p
    เราจึงควรน้อมจิตคิดย้อนหลัง<O:p</O:p
    ได้ทรงหลั่งสิโนทกปกป้องชาติ <O:p</O:p
    กู้เอกราชสร้างไทยให้เสรี<O:p</O:p
    สี่ร้อยปีผ่านไปแสนสลด <O:p</O:p
    วัดถูกลดเป็นวัดร้างไร้ศักดิ์ศรี<O:p</O:p
    สกปรกรกรุงรังทั้งตาปี <O:p</O:p
    ราวไม่มีกตัญญุตาต่อท่านเลย<O:p</O:p
    ขอส่งสารถึงชาวไทยทุกวันนี้ <O:p</O:p
    คนที่ใช้ดินนี้เกิดทั้งหลายเอ๋ย<O:p</O:p
    ขอท่านอย่าได้ปล่อยปละละเลย<O:p</O:p
    เหมือนไม่เคยมีองค์คำเคยนำไทย<O:p</O:p
    เชิญผ่านไป อยุธยาบูชาท่าน<O:p</O:p
    ร่วมช่วยกัน บำรุงวัด ให้พอสม<O:p</O:p
    เสริมพระเกียรติ พระองค์ไว้ให้นิยม<O:p</O:p
    เพื่อชื่นชมองค์พ่อปู่คู่ดินไทย
    </O:p
    <!-- / message --><!-- sig -->__________________
    สัพพปาปัสสอกรณัง กุสสลัสสูปสัมปทา สจิตตปริโยทปนัง
    <!-- / sig --></TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">[​IMG] [​IMG]<SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1270945")</SCRIPT> [​IMG] </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right><!-- controls -->[​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG] <!-- / controls --></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=tcat>สมาชิก 7 คน ได้กล่าว "อนุโมทนา" กับคุณ ธัมมนัตา ในข้อความที่เขียนด้านบน </TD></TR><TR><TD class=alt2 height=29>[​IMG] ภาวิโต (11-06-2008), Dussanee_k (13-06-2008), ศรัทธา_พิสุทธิ์ (11-06-2008), Forever In LoVE (12-06-2008), sutatip_b (11-06-2008), ปาฏิหาริย์ (11-06-2008), พุทธันดร (21-06-2008)</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  8. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,923
    ค่าพลัง:
    +6,434
    ล็อคอิน CHAYA-MARUTYแต่งกลอนนี้ไว้ อ่านแล้วอ่านอีกก็รู้สึกถึงความจงรักภักดี

    ถวายบังคม ก้มศิระ แทบฝ่าพระบาท
    ความภักดี ยังข้ามชาติ มาถึงนี่
    เคยถวาย อารักขา ด้วยชีวี
    400 ปี มิลืมเลือน เหมือนวันวาน
    ดาบสองมือ คู่ใจ ไปทั่วทิศ
    พร้อมด้วยมิตร ทหารกล้า พระองค์ท่าน
    เข้าสู้ศึก ปัจจะมิตร คิดรุกราน
    รักษาบ้าน เมืองไว้ ให้อยู่ดี
    ตายแล้วเกิด มาใหม่ อีกชาติหนึ่ง
    ยังคงซึ้ง พระคุณ ธ.ทรงศรี
    หากพระองค์ ทรงบัญชา ให้ราวี
    ตายอีกที เพื่อพระนเรศ ดัง เจต ฯ เอย
     
  9. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    พระเจ้าตากสินมหาราช

    เมื่อวาน-๒๘ ธันวาคม เป็น "วันพระเจ้าตากสินมหาราช" ถ้าไม่มีพระองค์ ก็จะไม่มีประเทศไทย และคนไทยในวันนี้ แต่ดูเหมือนว่าพระองค์จะทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่อาภัพ พระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ยิ่งใหญ่ขนาดไหน คนไทยก็ดูคล้ายลืมกันไปขนาดนั้น ขนาดพระราชประวัติ ใครต้องการศึกษาให้ลึกซึ้ง ต้องพึ่งหนังสือฝรั่งรวบรวมมากกว่าจะหาได้จากการขวนขวายนำเสนอของคนไทยกันเอง

    ไม่เชื่อก็ลองทดสอบดูก็ได้นี่ครับว่า คนไทยมีความรู้-ความเข้าใจเกี่ยวกับ "พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวตากสินมหาราช" มากน้อยแค่ไหน...เอ้า..ลองตอบซิว่า "วันที่ ๒๘ ธันวาคม ที่เป็นวันพระเจ้าตากสินมหาราช นั้น มีความหมายถึงวันอะไร?"

    เป็นวันพระราชสมภพ, เป็นวันเสด็จสวรรคต, เป็นวันชนะศึก, เป็นวันสถาปนากรุงธนบุรีพร้อมเสด็จขึ้นครองราชย์ หรือเป็นวันกู้ชาติสำเร็จ?

    อึกอักๆ กันใช่มั้ยล่ะ วันที่ ๒๘ ธันวาคม คือ หลังจากขับไล่พม่าพ้นไปจากแผ่นดินไทยแล้ว ทรงปราบดาภิเษกขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระเจ้ากรุงธนบุรี เมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๓๑๐ ก็ช่วยกันจำให้แม่นต่อจากนี้ไปนะครับ

    ส่วนวันพระราชสมภพ คือ ปีขาล วันอาทิตย์ที่ ๗ เมษายน พ.ศ.๒๒๗๗ ถ้านับถึงปีหน้า-ปีขาล ๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๓ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวตากสินมหาราช ก็ทรงมีชาตกาลยาวนานครบ ๒๗๖ ปี!

    บ้านเมืองช่วงนี้ มีแต่ปฏิบัติการหมาหอน หมาเห่า และหมากัดกัน ไม่มีคุณค่า และไม่มีสาระอะไรที่จะหยิบมาคุยกันให้เกิดสนิมอารมณ์ ฉะนั้น วันนี้เรามาเรียนประวัติศาสตร์ไทยในอีกแง่มุมหนึ่งเกี่ยวกับ "พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวตากสินมหาราช" กันดีไหม? ผมไม่ได้รวบรวมมาเองหรอก หากแต่คัดลอกของ "คุณอมรรัตน์ เทพกำปนาท" กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม ที่เผยแพร่อยู่ในเว็บสนุกดอตคอม เขามาให้ท่านอ่าน ดังนี้

    เนื่องในโอกาส วันที่ ๒๘ ธันวาคม ของทุกปี เป็น "วันพระเจ้าตากสินมหาราช" วีรกษัตริย์ผู้กอบกู้เอกราชให้แก่แผ่นดินไทย ดังนั้น เพื่อเป็นการน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ และพระปรีชาสามารถ ตลอดจนการเสียสละอย่างใหญ่หลวงของพระองค์ จึงขอน้อมนำเรื่องปัญหาเศรษฐกิจและแนวทางการแก้ไขในยุคกรุงธนบุรี มานำเสนอเพื่อให้พวกเราปัจจุบันได้ทราบว่าในสมัยนั้น มีวิธีการแก้ไขปัญหาให้ผ่านพ้นไปได้อย่างไร เพราะไม่ว่ายุคใดสมัยไหน ปัญหาเศรษฐกิจอันเป็นเรื่องเกี่ยวกับปากท้องชาวบ้านนับเป็นเรื่องใหญ่ และสำคัญของบ้านเมืองเสมอ

    ตลอดระยะเวลา ๑๕ ปี ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช นับตั้งแต่ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงธนบุรี ในปี พ.ศ.๒๓๑๐ จนถึงปี พ.ศ.๒๓๒๕ ที่เสด็จสวรรคต พระองค์ต้องทรงตรากตรำกรำศึกมาโดยตลอด นอกจากต้องรบกับพม่าเพื่อกอบกู้เอกราชในครั้งแรก รวมถึงการทำศึกกับก๊กต่างๆ ที่ตั้งตัวเป็นใหญ่แล้ว ยังต้องทำการรบกับพม่าที่ยกมาโจมตีอีกถึง ๙ ครั้งใหญ่

    ในขณะเดียวกันก็ยังได้ทำสงครามขยายอาณาเขตอีกหลายครั้ง เป็นผลให้ไทยมีประเทศราชหลายแห่งกลับคืนมาเหมือนสมัยอยุธยา ซึ่งในช่วงแรกหลังจากการเสียกรุงครั้งที่ ๒ กล่าวได้ว่าเศรษฐกิจของบ้านเมืองอยู่ในภาวะตกต่ำเป็นอย่างยิ่ง การทำไร่นาและการค้าขายกับต่างประเทศหยุดชะงักลงเกือบจะสิ้นเชิง และแม้หลังการกอบกู้ชาติได้แล้ว ความอดอยากและการขาดแคลนเครื่องอุปโภคบริโภคก็เกิดขึ้นอยู่แทบจะตลอดรัชกาล เนื่องจากมีปัจจัยและสิ่งแวดล้อมที่ต้องทำให้สิ้นเปลืองและกระทบกับสภาพเศรษฐกิจโดยส่วนรวมหลายอย่าง อาทิ

    ๐ในช่วงก่อนกรุงแตก พม่าได้ยกทัพมาปิดล้อมกรุงศรีอยุธยาอยู่นาน ทำให้ชาวบ้านไม่สามารถทำไร่ทำนา หรือค้าขายได้ตามปกติ ความขาดแคลนจึงเกิดขึ้นไปทั่ว

    ๐เมื่อครั้งทำศึกกับก๊กต่างๆ รวมทั้งศึกพม่าและชาติอื่นๆ ที่มีอีกหลายครั้ง ทำให้ต้องใช้กำลังพลในการตระเตรียมอาวุธยุทโธปกรณ์ เช่น การต่อเรือ การระดมพลเพื่อฝึกปรือ ฯลฯ ซึ่งมีผลกระทบต่อกำลังการผลิตเป็นอย่างมาก

    ๐ในระยะแรกที่มีการสร้างเมืองหลวงใหม่ การสถาปนาเจ้านายต่างๆ รวมไปถึงการปูนบำเหน็จความดีความชอบแก่ข้าราชการขุนนาง ต้องใช้กำลังทรัพย์ไม่น้อย ทำให้มีรายจ่ายมากขึ้น

    ๐ในรัชสมัยของพระองค์ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเร่งรีบฟื้นฟูและทำนุบำรุงพระศาสนา ตลอดจนชำระสะสางคณะสงฆ์ให้ตั้งมั่นอยู่ในธรรมวินัย เพราะได้ทรุดโทรมลงมากในช่วงบ้านเมืองเกิดจลาจล จึงจำเป็นต้องใช้พระราชทรัพย์เป็นอันมากเพื่อการดังกล่าว

    จากเหตุข้างต้น เราจะเห็นได้ว่าสภาพเศรษฐกิจบ้านเมืองเวลานั้น ถ้าพูดแบบสมัยนี้ก็ต้องว่า ตกอยู่ภาวะวิกฤติอย่างยิ่ง ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หรือพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงได้วางนโยบายที่จะผ่อนปรนความเดือดร้อนของราษฎร หรือการแก้ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญ ดังนี้

    ประการแรก ทรงแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในเรื่องความอดอยากและขาดแคลน ด้วยการพระราชทานข้าวสารให้แก่บรรดาข้าราชการ ทหาร และพลเรือนทั้งไทย/จีน คนละ ๑ ถังต่อ ๒๐ วัน นอกจากนี้ ยังทรงแจกจ่ายอาหารเลี้ยงดูพลเรือนที่อดโซด้วย

    ประการที่สอง ในช่วงแรกที่ทรงครองราชย์ และเพิ่งผ่านพ้นจากการจลาจลสงคราม จึงยังไม่มีผู้ทำไร่ทำนาเพื่อเพิ่มผลผลิตให้พอเลี้ยงดูผู้คน ทรงแก้ปัญหาด้วยการซื้อข้าวสารจากพ่อค้าสำเภาจีน โดยยอมซื้อในราคาแพงเพื่อแจกจ่ายคนทั้งปวง ซึ่งเมื่อข้าวขายได้ในราคาแพง บรรดาพ่อค้าจีนจากที่ต่างๆ ก็นำข้าวมาขายเพิ่มขึ้น เกิดการแข่งการขาย ข้าวจึงมีราคาถูกลงตามหลักดีมานด์-ซัพพลาย ราษฎรก็ได้รับประโยชน์

    ประการที่สาม โปรดให้ข้าราชการผู้ใหญ่และผู้น้อยทำนาปีละ ๒ ครั้งในปี พ.ศ.๒๓๑๑ เป็นการแก้ปัญหาความขาดแคลน เพราะช่วงนั้นข้าวสารราคาสูงมาก ทำให้ราษฎรเดือดร้อน

    ประการที่สี่ ปรากฏว่าในปี พ.ศ.๒๓๑๑ นั้นเอง ข้าวในยุ้งฉางและทรัพย์สินต่างๆ เสียหายเป็นอันมาก เนื่องจากมีกองทัพหนูมากัดกินเป็นจำนวนมาก พระองค์จึงมีรับสั่งให้ข้าราชการและพลเรือนทั้งหลายจับหนูมาส่งกรมพระนครบาลทุกวัน หนูจึงสงบหายไป

    ประการที่ห้า ทรงให้มีการส่งเสริมการค้าขายกับต่างประเทศ ซึ่งพ่อค้าที่มีบทบาทสำคัญในช่วงนั้นคงจะเป็นพ่อค้าจีน ซึ่งการค้ากับต่างประเทศนี้ก็ได้ช่วยบรรเทาความขาดแคลนเครื่องอุปโภคบริโภคภายในบ้านเมืองได้ในระดับหนึ่ง

    ประการที่หก การที่ทรงสามารถปราบปรามหัวเมืองต่างๆ รวมทั้งประเทศราช ทำให้มีฐานอำนาจทางการเมืองมั่นคง ซึ่งมีผลต่อการเก็บภาษีอากร ส่วย และเครื่องราชบรรณาการมาเป็นรายได้ ได้อีกส่วนหนึ่ง

    ประการที่เจ็ด ในช่วงพม่ายกมาล้อมกรุงศรีอยุธยานั้น ปรากฏว่าราษฎรได้ฝังทรัพย์สินไว้ตามบ้านเรือนเป็นจำนวนมาก เมื่อเสร็จสงครามก็มีเจ้าของไปขุดบ้าง ผู้อื่นไปขุดหาทรัพย์ที่เจ้าของตายแล้วบ้าง ดังนั้น ในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีจึงได้จัดเก็บภาษีแก่ผู้ที่ไปขุดหาทรัพย์เหล่านี้ โดยมีเจ้าหน้าที่ไปประจำอยู่ที่กรุงเก่า และห้ามมิให้ผู้ใดขุดทรัพย์โดยพลการ ซึ่งการเก็บภาษีผูกขาดเช่นนี้ เป็นการเพิ่มพูนรายได้แก่แผ่นดินไม่น้อย

    ประการที่แปด ทรงเอาผิดและลงโทษผู้ที่บ่อนทำลายทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงและเฉียบขาด เช่น ลงโทษประหารชีวิตผู้ที่ลักลอบทำเงินพด หรือผู้ที่เบิกข้าวหลวงแล้วแทนที่จะไปแจกราษฎรกลับเอาไปให้ภรรยา ก็ได้ลงอาญาเฆี่ยนตี ๑๐๐ ที และปรับข้าวเป็น ๑๐ เท่า ลดตำแหน่งลง และเอาลูกเมียไปจองจำ ต่อเมื่อมีศึกจึงค่อยไปทำราชการแก้ตัว อย่างนี้เป็นต้น การดำเนินการอย่างเฉียบขาดเช่นนี้ ทำให้คนกลัวและช่วยพยุงฐานะเศรษฐกิจได้บ้างส่วนหนึ่ง

    นอกจากนี้ ยังได้พัฒนาประเทศในแนวแปลกใหม่สำหรับสมัยนั้นด้วย คือ ทรงให้มีการตัดถนนในฤดูหนาวคราวว่างศึก เพื่อใช้เป็นเส้นทางสัญจรไปมาของพ่อค้าประชาชน ซึ่งตามธรรมดาเส้นทางคมนาคมสมัยเมื่อ ๒๐๐ ปีมาแล้ว มักจะเป็นทางน้ำทั้งสิ้น นับว่าพระองค์ทรงมีแนวคิดพัฒนาประเทศทันสมัยทีเดียว

    อย่างไรก็ดี แม้จะดำเนินการต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจอย่างที่กล่าวมาแล้วก็ตาม สภาพเศรษฐกิจในสมัยพระองค์ก็มิได้มีความเจริญเติบโตสมบูรณ์อย่างเต็มที่ ทั้งนี้ คงเป็นเพราะการศึกสงครามที่ยังมีอยู่แทบตลอดรัชกาลนั่นเอง ซึ่งปัญหาความอดอยากนี้นับว่าเป็นปัญหาหนักทีเดียว จนพระองค์ถึงกับทรงเคยเอ่ยพระโอษฐ์ด้วยความทุกข์พระราชหฤทัยว่า

    "...บุคคลผู้ใด เป็นอาทิ คือ เทวดา บุคคลผู้มีฤทธิ์มาประสิทธิ์ มากระทำ ให้ข้าวปลาอาหารสมบูรณ์ขึ้น ให้สัตว์โลกเป็นสุขได้ แม้ผู้นั้นจะปรารถนาพระพาหาแห่งเราข้างหนึ่ง ก็อาจตัดบริจาคให้แก่ผู้นั้นได้ ความกรุณาเป็นสัตย์ฉะนี้..."

    จากพระราชปรารภข้างต้น คงจะทำให้เราได้เห็นน้ำพระราชหฤทัยของพระเจ้ากรุงธนบุรีอย่างชัดเจนยิ่งขึ้น ว่าทรงตั้งใจเสียสละเพื่อราษฎรเพียงใด ตลอดรัชกาล พระองค์ต้องทรงพระราชดำริทั้งเรื่องการรบข้าศึกศัตรู เรื่องการฟื้นฟูและทำนุบำรุงบ้านเมือง คิดถึงการแก้ปัญหาปากท้องราษฎร แต่ละเรื่องนับเป็นภาระที่หนักยิ่ง หากมิใช่เพราะพระปรีชาสามารถ น้ำพระราชหฤทัยที่ห้าวหาญ และความเสียสละของพระองค์ท่านแล้ว คงยากที่เราจะมีวันนี้ได้

    ...................................................

    แหล่งที่มา คุณเปลว สีเงิน นสพ.ไทยโพสต์ 29 ธันวาคม 2552
     
  10. ศรัทธา_พิสุทธิ์

    ศรัทธา_พิสุทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    138
    ค่าพลัง:
    +205
    " ความโลภ โกรธ หลง คือความเร่าร้อนมืดมิด

    ที่ห่อหุ้มจิตเหมือนกำแพงหนาทึบ

    ที่ปิดกั้นแสงสว่างมิให้ปรากฏจิตทุกดวง

    ดวงจิตของเราทุกคนนี้แหละ มีความบริสุทธ์

    ประภัสสรสว่างไสวที่สุดอยู่แล้ว

    ตลอดเวลา น่าเสียดายที่พากันสร้าง

    กำแพงปิดกั้นจนเสียมืดมิด ด้วยการใช้

    ความคิดปรุงแต่ง อันเป็นอุปกิเลส "


    แสงส่องใจ



    * พระของประชาชน
    สมเด็จพระญาณสังวร
    สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
     
  11. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,923
    ค่าพลัง:
    +6,434
    อย่างไรก็ดี แม้จะดำเนินการต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจอย่างที่กล่าวมาแล้วก็ตาม สภาพเศรษฐกิจในสมัยพระองค์ก็มิได้มีความเจริญเติบโตสมบูรณ์อย่างเต็มที่ ทั้งนี้ คงเป็นเพราะการศึกสงครามที่ยังมีอยู่แทบตลอดรัชกาลนั่นเอง ซึ่งปัญหาความอดอยากนี้นับว่าเป็นปัญหาหนักทีเดียว จนพระองค์ถึงกับทรงเคยเอ่ยพระโอษฐ์ด้วยความทุกข์พระราชหฤทัยว่า

    "...บุคคลผู้ใด เป็นอาทิ คือ เทวดา บุคคลผู้มีฤทธิ์มาประสิทธิ์ มากระทำ ให้ข้าวปลาอาหารสมบูรณ์ขึ้น ให้สัตว์โลกเป็นสุขได้ แม้ผู้นั้นจะปรารถนาพระพาหาแห่งเราข้างหนึ่ง ก็อาจตัดบริจาคให้แก่ผู้นั้นได้ ความกรุณาเป็นสัตย์ฉะนี้..."

    จากพระราชปรารภข้างต้น คงจะทำให้เราได้เห็นน้ำพระราชหฤทัยของพระเจ้ากรุงธนบุรีอย่างชัดเจนยิ่งขึ้น ว่าทรงตั้งใจเสียสละเพื่อราษฎรเพียงใด ตลอดรัชกาล พระองค์ต้องทรงพระราชดำริทั้งเรื่องการรบข้าศึกศัตรู เรื่องการฟื้นฟูและทำนุบำรุงบ้านเมือง คิดถึงการแก้ปัญหาปากท้องราษฎร แต่ละเรื่องนับเป็นภาระที่หนักยิ่ง หากมิใช่เพราะพระปรีชาสามารถ น้ำพระราชหฤทัยที่ห้าวหาญ และความเสียสละของพระองค์ท่านแล้ว คงยากที่เราจะมีวันนี้ได้

    ประโยคที่พระองค์จะสละพระพาหาได้ หากมีเทวดาองค์ใดทำให้ประชาชนของพระองค์นั้นมีกิน มีความสุข ทำให้ตื้นตันใจยิ่งค่ะ

    ขอพระองค์ทรงสถิตย์ในใจประชาชั่วนิจนิรันดร์

    เมื่อสักวันเสาร์อาทิตย์ที่แล้ว ได้ดูเรื่องภาพยนต์เกาหลี เรื่อง จามอง

    มีอยู่ตอนหนึ่ง องค์ชายโฮดงทรงเป็นหวัด พระราชามูยูลรับสั่งให้องค์ชายใส่เสื้อเพิ่มอีกตัว แล้วออกไปขี่ม้าไปกับพระองค์ อากาศในแคว้นโคคูรยอเริ่มหนาวแล้ว หิมะเริ่มตก องค์ชายโฮดงทรงประชวรเป็นหวัด แต่พระราชากลับมิให้พักผ่อน ให้ออกไปดูความเดือดร้อนของประชาชนในแคว้นของพระองค์

    แคว้นโคคูรยอเป็นแคว้นที่ไม่ติดชายฝั่งทะเล เหมือนจะอยู่ที่ราบสูง การเพาะปลูกก็ไม่สู้จะดี ประชาชนอดอยากยากแค้น พระราชามูยูลทรงห่วงประชาชนของพระองค์มาก เมื่อทรงหยุดดูอาณาเขตที่เนินเขาแห่งหนึ่ง พระราชมูยูลทรงถามพระโอรสของพระองค์ ก็คือองค์ชายโฮดงว่า

    พระราชามูยูล "รู้ไหม การเป็นพระราชาที่ดี เป็นอย่างไร"

    องค์ชายโฮดง "รู้พะย่ะค่ะ หม่อมฉันจะต้องเรียนรู้วิชาการปกครอง จะต้องเรียนรู้วิชาดาบ พ่ะย่ะค่ะ"

    พระราชามูยูล "เจ้าผิดแล้ว พระราชาที่ดีคือเมื่อประชาชนของเขาหิว แล้วเขามาบอกพระราชาของเขาว่าเขาต้องการอาหาร พระราชาที่ดีจะต้องหาอาหารให้พวกเขาได้ เพราะท้องที่หิวของประชาชนจะทำให้พวกเขาพากันไม่เคารพและเอาใจออกห่างจากพระราชาของพวกเขา"

    พระราชามูยูลทรงมุ่งมั่นที่จะเอาแคว้นดานังที่มีพื้นที่ติดชายทะเลและมีอาณาเขตที่เพาะปลูกได้อุดมสมบูรณ์ เหตุผลหลักของพระราชามูยูลที่มุ่งมั่นจะพิชิตแคว้นดานังก็เพื่อปากท้องของประชาชนของพระองค์นั่นเอง ทรงให้องค์ชายโฮดงรับปากว่าถ้าพระองค์สิ้นไปโดยยังไม่สามารถพิชิตแคว้นดานังได้ ขอให้องค์ชายสานเจตนารมณ์ของพระองค์ให้สำเร็จให้จงได้

    ทางสายธาตุจำฉากนี้ได้เพราะทำให้เข้าใจแล้วว่า การที่ผู้มีบุญญาธิการพระองค์ใดจะทรงเป็นผู้ปกครองประเทศใดๆนั้น พระราชภารกิจอันใหญ่หลวงยิ่งสำหรับพระราชาพระองค์นั้นก็คือ ความอยู่ดีกินดีของประชาชนนั่นเอง หากพระราชาพระองค์ใดทรงทำให้ประชาชนอยู่ดีกินดีได้ พระราชาองค์นั้นก็จะเป็นที่รักที่เคารพยิ่ง แต่หากพระราชาพระองค์ใดทรงเพิกเฉยต่อพระราชภารกิจนี้ พระองค์ก็จะไม่ได้รับการยกย่องนับถือจากประชาชนของพระองค์

    เป็นที่ประจักษ์แล้วว่า ณ ปัจจุบัน ประเทศไทยเรามีพระราชาผู้ทรงประเสริฐยิ่ง เป็นความโชคดีของคนไทยที่พวกเรามีพระราชาผู้ทรงห่วงใยความกินดีอยู่ดีของชาวไทย ทรงงานหนักเพื่อพระราชภารกิจนี้ตลอดพระชนม์ชีพ

    ขอพระองค์ ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน
     
  12. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,923
    ค่าพลัง:
    +6,434
    ท่านมุ้ยไปสำรวจเส้นทางการเดินทัพของสมเด็จพระนเรศวรอีกครั้ง แสดงว่าภาพยนต์ตำนานสมเด็จพระนเรศวร จากเดิมทราบมาว่าท่านมุ้ยจะสร้างภาพยนต์นี้จนถึงแค่สงครามยุทธหัตถี แต่เมื่อท่านเดินไปดูเส้นทางเดินทัพไปอังวะ แสดงว่าจะมีตอนต่อจากสงครามยุทธหัตถีหรือเปล่าค่ะ คุณโมเย
     
  13. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,923
    ค่าพลัง:
    +6,434
    <TABLE class=tborder id=post1297432 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">[​IMG] 22-06-2008, 02:59 PM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #68 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1297432", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Nov 2007
    ข้อความ: 307
    Groans: 0
    Groaned at 0 Times in 0 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
    ได้รับอนุโมทนา 3,091 ครั้ง ใน 379 โพส
    พลังการให้คะแนน: 205 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1297432 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->เชิญล้อมวงกันเข้ามาได้แล้วครับ ถึงเวลาที่เราจะต้องมาช่วยกัน
    ทำ WORK SHOP เส้นทางการเดินทัพไปตีอังวะ ตามแผนยุทธ
    ศาสตร์ยึดครองพม่าของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตามที่เรา
    ได้วางเค้าโครงกันมาเป็นลำดับ แต่ก่อนที่เราจะเดินหน้ากัน
    ต่อไป ต้องขอเรียนย้ำในสมมติฐานที่เราได้ยึดถือและมีความ
    เห็นสอดคล้องไปในทางเดียวกันแล้วดังนี้
    ๑.ยึดถือทฤษฎีใหม่ของอาจารย์ชัยยง ไชยศรี ที่น่าเชื่อว่า
    สถานที่ที่สมเด็จพระนเรศวรเสด็จสวรรคต คือที่เมืองแหงหรือ
    เวียงแหง ไม่ใช่ เมืองหาง
    ๒.ยึดถือข้อสันนิษฐานของอาจารย์ชัยยงฯอีกเช่นกันที่เชื่อ
    ว่าเส้นทางที่มีความเป็นไปได้สูงว่าน่าจะเป็นเส้นทางที่ใช้เดิน
    ทัพของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (เฉพาะทัพของสมเด็จ
    พระนเรศวร ที่เรากำหนดให้เป็นทัพไทย ๑ ) เป็นเส้นทางตาม
    แนวลำน้ำแม่แตง
    ๓.มีการผสมกำลังกันระหว่างทัพศรีอยุธยากับทัพเชียงใหม่
    ณ ที่รวมพล บริเวณ อ.แม่แตง-อ.พร้าว ก่อนการเดินทัพ ไปสู่(
    ยึด) ที่หมายตามลำดับขั้น คือ เมืองเวียงแหง และ เมืองฝาง<!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">[​IMG] [​IMG]<SCRIPT type=text/javascript> vbrep_register("1297432")</SCRIPT> [​IMG] </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>[​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><THEAD><TR><TD class=tcat>[​IMG] สมาชิก 9 คน ได้กล่าว "อนุโมทนา" กับคุณ ภาวิโต ในข้อความที่เขียนด้านบน </TD></TR></THEAD><TBODY></TBODY></TABLE>


     
  14. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,923
    ค่าพลัง:
    +6,434
    <TABLE class=tborder id=post1299153 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">[​IMG] 23-06-2008, 09:42 AM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #69 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1299153", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Nov 2007
    ข้อความ: 307
    Groans: 0
    Groaned at 0 Times in 0 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
    ได้รับอนุโมทนา 3,091 ครั้ง ใน 379 โพส
    พลังการให้คะแนน: 205 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1299153 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->อาจจะมีคำถามเกี่ยวกับรูปแบบในการผสมกำลังกันระหว่างกำลังทหารเชียงใหม่กับกำลังทหารศรีอยุธยา
    ใน"ทัพไทย ๑"ที่สมเด็จพระนเรศวรเป็นจอมทัพ ในความน่าจะเป็น ควรจะมีกำลังทหารของศรีอยุธยา
    อย่างน้อยหนึ่งกองพล (ประมาณหนึ่งหมื่นคน)และน่าจะเป็นหน่วยทหารศรีอยุธยาที่ล้วนเจนศึกและ
    ร่วมรบเคียงบ่าเคียงไหล่กับพระองค์มาแล้วอย่างโชกโชนเป็นแน่ และที่จะต้องไม่ลืมก็คือหน่วยทหารม้าที่
    ที่พระองค์ได้ริเริ่มใช้ในการรบจู่โจม เป็นหน่วยรบพิเศษที่เคลื่อนที่เร็วมาตั้งแต่การรบกับพม่าในครั้งแรกๆ
    เพราะหน่วยทหารม้ามีคุณลักษณะคล่องตัวเหมาะสำหรับการรบในพื้นที่ที่เป็นภูมิประเทศป่าและภูเขา
    ดังนั้นถ้าเรานำปัจจัยหลักๆที่น่าจะมีผลต่อการรบมาพิจารณาร่วมกับพระอุปนิสสัยส่วนพระองค์ของสมเด็จ
    พระนเรศวรแล้ว เราอาจสามารถคาดเดาอย่างมีเหตุผลได้ว่าพระองค์น่าจะทรงมีพระบัญชาให้เคลื่อนทัพออก
    จากเชียงใหม่ไปยังเมือง แหง หรือ เวียงแหง อย่างไร
    หนทางปฏิบัติที่ ๑ " ทัพไทย ๑" ทั้งหมด(กำลังของเชียงใหม่ +กำลังศรีอยุธยา)เดินทัพลัดเลาะไป
    ตามเส้นทางตามแนวลำน้ำแม่แตง
    หนทางปฏิบัติที่ ๒ แบ่งกำลังออกเป็นสองส่วน กำลังส่วนแรกที่เป็นทหารเชียงใหม่ทั้งหมดหรือเกือบ
    ทั้งหมดให้เคลื่อนย้ายไปตามแนวลำน้ำแม่แตง โดยแม่ทัพของทางเชียงใหม่ควบคุมกันไป ทั้งนี้น่าจะมีความ
    เป็นไปได้มากที่พระองค์อาจจะให้ ทุลอง บุตรของมังนรธาช่อ(เจ้าเมืองเชียงใหม่ )ที่ไปรับราชการอยู่ที่
    ศรีอยุธยา เป็นแม่ทัพ เพื่อให้เกิดความคุ้นเคย อีกทั้งยังเป็นขวัญและกำลังใจต่อกำลังทหารของเชียงใหม่
    อีกด้วย ส่วนกำลังพลในส่วนที่เหลือที่มีทหารศรีอยุธยาหนึ่งกองพล รวมกับหน่วยกำลังทหารม้าอีกจำนวนหนึ่ง
    (อาจจะมีทหารเชียงใหม่อีกส่วนหนึ่ง) แยกเดินทัพขึ้นไปทางเชียงดาว เมืองงาย เข้าสู่ เวียงแหง โดย
    กองทัพส่วนนี้สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงควบคุมบัญชาการด้วยพระองค์เอง
    ข้อพิจารณาสำคัญที่น่าจะมีส่วน สนับสนุนแนวความคิดในการปฏิบัติใน หนทางปฏิบัติที่ ๒
    ๑.เป็นการลดความเสี่ยงจากกองกำลังทหารเชียงใหม่ ต่อกองกำลังศรีอยุธยา
    ๒.น่าจะเป็นพระราชประสงค์ของพระองค์ ที่จะศึกษาและสำรวจภูมิประเทศประการหนึ่ง นอกจากนี้
    แล้วยังเป็นการฝึกปรือกองทัพศรีอยุธยาให้มีความคุ้นเคยต่อภูมิประเทศที่เป็นป่าและภูเขาได้เป็นอย่างดีด้วย<!-- google_ad_section_end -->
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,923
    ค่าพลัง:
    +6,434
    <TABLE class=tborder id=post1317566 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">[​IMG] 30-06-2008, 08:43 AM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #70 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1317566", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Nov 2007
    ข้อความ: 307
    Groans: 0
    Groaned at 0 Times in 0 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
    ได้รับอนุโมทนา 3,091 ครั้ง ใน 379 โพส
    พลังการให้คะแนน: 205 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1317566 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->ก็พอจะสรุปได้นะครับว่ากองทัพไทยในส่วนที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงเป็นจอมทัพนั้นแยกกำลังในการเดินทัพสู่เวียงแหง ออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นกำลังของเชียงใหม่เดินทัพไปตามแนวลำน้ำแม่แตงสู่เวียงแหง ไปบรรจบกับกองกำลังของศรีอยุธยาที่มีสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงเป็นแม่ทัพควบคุมบังคับบัญชาด้วยพระองค์เอง โดยมีที่หมายคือเวียงแหง<!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  16. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,923
    ค่าพลัง:
    +6,434
    <TABLE class=tborder id=post1319199 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">[​IMG] 30-06-2008, 06:34 PM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #75 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1319199", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Nov 2007
    ข้อความ: 307
    Groans: 0
    Groaned at 0 Times in 0 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
    ได้รับอนุโมทนา 3,091 ครั้ง ใน 379 โพส
    พลังการให้คะแนน: 205 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1319199 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->-เคยอ่านพบว่าได้มีการกล่าวถึงร่องรอยและหลักฐานต่างๆที่
    บ่งบอกว่าน่าจะมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ ยังไม่กล้าที่จะ
    หยิบยกมาอ้างอิง ข้อสำคัญได้เรียนไว้ตั้งแต่ต้นแล้วว่า ตั้งใจจะ
    เขียนโดยอาศัยทฤษฎีและความรู้ทางการรบเป็นหลัก จะไม่
    พยายามนำทฤษฎีอื่นเข้ามาเกี่ยวข้อง ถ้าไม่มีหลักฐานที่ชัดเจน
    ก็เลยยังมีความจำเป็นต้องขอใช้กองหนุนหรือร่วมด้วยช่วยกัน
    ครับ ยังต้องการผู้รู้เพื่อจะได้ช่วยยืนยันว่ามีความเป็นไปได้หรือ
    เดินมาในแนวทางที่น่าจะถูกต้อง ถือว่าเป็นการช่วยกันแสดง
    ความคิดเห็นก็แล้วกันครับ
    -เมื่อกลางพ.ค. 51ได้มีโอกาสเดินทางไปตามเส้นทาง - เชียงดาว
    -เมืองงาย-แวะพักค้างคืนที่วัดถ้ำเมืองนะ(วัดพุทธพรหมปัญ
    โญ) ตอนสายวันรุ่งขึ้นออกเดินทางต่อไปตามเส้นทางสายเก่า
    ลัดเลาะไปตามเส้นทางภูเขาที่ชำรุดทรุดโทรมขาดการซ่อม
    แซมทำนุบำรุงมานานปี ประมาณว่าไม่น้อยกว่าสิบปี ใช้เวลา
    ขับรถไต่เขาอยู่ประมาณสามชั่วโมง จึงถึงวัดพระธาตุแสนไห
    แวะนมัสการพระธาตุแสนไหแล้วก็ออกเดินทางต่อไปเพื่อ
    ถวายสักการะอนุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชที่เวียง
    แหงที่อยู่ไม่ไกลจากวัด งานนี้ถ้าจะพูดศัพท์ทหารก็ต้องเขียน
    ว่าได้ลาดตระเวณไปตามเส้นทาง เชียงดาว-เมืองงาย-เวียงแหง
    เพื่อสำรวจเส้นทางและภูมิประเทศที่คาดว่าน่าจะเป็นเส้นทาง
    สายหนึ่งที่สมเด็จพระนเรศวรอาจจะทรงใช้เป็นเส้นทางใน
    การเคลื่อนทัพก็ได้<!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  17. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,923
    ค่าพลัง:
    +6,434
    <TABLE class=tborder id=post1334507 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">[​IMG] 07-07-2008, 10:01 AM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #77 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1334507", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Nov 2007
    ข้อความ: 307
    Groans: 0
    Groaned at 0 Times in 0 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
    ได้รับอนุโมทนา 3,091 ครั้ง ใน 379 โพส
    พลังการให้คะแนน: 205 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1334507 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->เป็นอันว่าทั้งทัพไทย ๑ ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ได้รุกเข้าสู่ที่หมายแรกที่เมืองแหงหรือเวียงแหงและทัพไทย ๒ของสมเด็จพระเอกาทศรถก็ได้รุกเข้าสู่ที่หมาย ที่เมืองฝางเรียบร้อยแล้ว ทั้งสองกองทัพต่างก็จะต้องพักรี้พล ปรับกำลังรบ เพื่อเตรียมตัวที่จะรุกข้ามลำน้ำสาละวินสู่ที่หมายตามลำดับขั้นต่อไป ในขณะเดียวกันก็จะต้องใช้เวลาในการรวบรวมข่าวสารและความเคลื่อนไหวต่างๆเพื่อประเมินข่าวศึกไปพร้อมกันด้วย คาดเดาว่าระยะเวลาที่น่าจะใช้ในการพักรี้พล ปรับกำลังทัพและการรวบรวมข่าวศึกน่าจะใช้เวลาประมาณสัก ๗ วันก็คงจะเพียงพอที่จะกำหนด D-dayที่จะเคลื่อนทัพเพื่อรุกสู่ที่หมายข้างหน้า<!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  18. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,923
    ค่าพลัง:
    +6,434
    <TABLE class=tborder id=post1335276 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">[​IMG] 07-07-2008, 03:20 PM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #78 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1335276", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Nov 2007
    ข้อความ: 307
    Groans: 0
    Groaned at 0 Times in 0 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
    ได้รับอนุโมทนา 3,091 ครั้ง ใน 379 โพส
    พลังการให้คะแนน: 205 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1335276 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->ควรกล่าวถึงการตั้งค่ายพักของทหารยามศึกสงครามในสมัยโบราณ ส่วนใหญ่เรามักจะได้เห็นจากภาพยนตร์ในตอนสู้รบกันกลางแปลงบ้าง ในตอนบุกเข้าตีเพื่อยึดค่ายบ้าง แต่ในลักษณะของการตั้งค่ายพักในระหว่างการเดินทัพเพื่อรุกเข้าสู่ที่หมายยังไม่พบว่าได้เคยมีการกล่าวถึง ปัจจัยที่ควรคำนึงจะขึ้นอยู่กับความปลอดภัย ระยะเวลาและความมุ่งหมายเป็นสำคัญ แต่สำหรับการศึกในครั้งนี้ ยังคงเป็นการเดินทัพในเขตแดนของเราซึ่งถือว่ามีความปลอดภัยสูง ระยะเวลาในการพักก็สั้นเพียงประมาณ 7 วัน ก็จะต้องเคลื่อนทัพเพื่อรุกต่อไป ลักษณะการจัดตั้งค่ายพักจึงมีความเป็นไปได้ว่าน่าจะชั่วคราวในลักษณะที่เป็นการแสวงเครื่องโดยใช้ธรรมชาติเป็นสิ่งอำนวยประโยชน์เช่นต้นไม้ใหญ่หรือที่กำบังตามธรรมชาติ สำหรับที่ประทับขององค์จอมทัพก็คงจะมีการจัดสร้างเป็นพลับพลาที่ประทับชั่วคราว ไม่น่าจะถึงขั้นตั้งค่าย ขุดคูฯ แข็งแรงเหมือนเมื่อครั้งทัพพม่ายกมาประชิดกรุงศรีอยุธยาเป็นแน่
    -ดังนั้นเมื่อสมเด็จพระนเรศวรทรงพระประชวร บรรดาแพทย์หลวงและแม่ทัพนายกองที่โดยเสด็จไปในกองทัพ ก็สมควรที่จะต้องขยับขยายเพื่อหาที่ประทับที่เหมาะสมให้กับพระองค์ โดยน่าจะเป็นสถานที่ที่มั่นคงแข็งแรง สามารถคุ้มกันแดด ลม ฝน ได้เป็นอย่างดี จึงมีความเป็นไปได้มากว่าข้อพิจารณาสำคัญที่มีส่วนช่วยในการเลือกและตกลงใจว่าจะเคลื่อนย้ายพระองค์ไป ณ ที่ใดน่าจะได้มาจากผลการลาดตระเวณในระหว่างการเดินทัพในตอนแรก ในขณะเดียวกันหรือหลังจากนั้นก็ได้ส่งม้าเร็วขึ้นไปที่ฝางเพื่อกราบทูลและเชิญเสด็จพระเอกาทศรถ
    -ข้อสำคัญ บรรดาแม่ทัพ นายกอง ทุกคนย่อมตระหนักดีว่า ในยามศึกสงคราม การสูญเสียแม่ทัพหรือผู้นำจะส่งผลกระทบกระเทือนต่อขวัญและกำลังใจในการสู้รบของทหารเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันความจำเป็นที่จะต้องมีผู้นำคนใหม่ก็เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นเช่นกัน จึงน่าจะมีความจำเป็นที่จะต้องพยายามปกปิดข่าวการประชวรและการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระนเรศวรไว้ให้นานที่สุด ในขณะเดียวกันก็ต้องพยายามเคลื่อนย้าย พระองค์ให้ถอยห่างออกมาจากแนวหน้าหรือกำลังทหารส่วนใหญ่ให้มากที่สุด ก็เป็นได้ อย่างน้อยก็เป็นการประวิงเวลาไว้เพื่อรอสมเด็จพระเอกาทศรถ ก่อนที่จะเสด็จมาถึง<!-- google_ad_section_end -->
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,923
    ค่าพลัง:
    +6,434
  20. Fort_GORDON

    Fort_GORDON เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2008
    โพสต์:
    286
    ค่าพลัง:
    +488
    ฟอร์ทได้เพียรพยายามอยู่หลายครั้ง ครั้งนี้นับเป็นครั้งที่สามที่ต้องการจะ

    คอนเฟิร์มกับพี่ทางสายธาตุ ว่าเหตุไฉนใจตรงกัน เพราะของฟอร์ทได้เซฟ

    เรื่องนี้ไว้หลายตอน ตั้งใจว่าในโอกาสอำนวยจะต้องนำมาเล่าสู่กันฟังอีก

    ครั้ง พอเปิดกระทู้ก็พบว่าพี่ทางสายธาตุได้เป็นผู้ริเริ่มแล้ว ฟอร์ทต้องขอ

    อนุโมทนาและขออนุญาตร่วมแจมด้วยนะขอรับ แต่พอส่งข้อความ ข้อ

    ความทั้งหมดนี้กลับหายไปคงเหลือเพียงข้อความที่อ้างอิง ก็แปลกดี ฟอร์ท

    คิดว่าเป็นข้อขัดข้องทางเท็คนิคหรือไม่ก็เครื่องคอมพ์เราไม่ดีเอง เลยต้อง

    ขอลองใหม่อีกครั้งคือครั้งนี้ เพี้ยง !
     

แชร์หน้านี้

Loading...