รวมอุปกรณ์ ยังชีพ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย kananun, 11 มกราคม 2007.

  1. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ไปเจอ พวงกุญแจวัดกัมมันตรังสีเข้าคงต้องให้คุณรัตนาพรช่วยสั่งเข้ามาแล้วครับ

    ท่านที่เก่งภาษาช่วยแปลให้เพื่อนๆหน่อยครับ

    [​IMG] NukAlert Features:
    • Compact Key Chain Attachable Radiation Monitor & Alarm
    • Monitoring is "ON" 24/7 with Long-Life TEN+ Year Lithium Battery
    • Monitor Radiation Range Encompasses the Higher Emergency
      Radiation Levels in the Event of a Nuclear Emergency or Disaster
    • 10 Easily Recognizable "Chirping" Alarm Radiation Levels - Demo Here!
    • Patent-Pending 'State of the Art' Detector Technology
    • Verified by Independent National Radiological Laboratory
    • Each NukAlert™ is individually Radiation Tested for Accuracy
    • Includes Instruction Manual with Personal Nuclear Survival Strategies
    • 1 Year Warranty & Made in U.S.A.
    • Passed EMP immunity and Meets MIL-STD-461D, RS105.
    • Size: 2.5" x 1.25" x .75"
    • In-Stock for Immediate Shipping NOW
      (Waiting until you NEED one will be TO LATE, sort of like trying to buy
      fire insurance when the house is on fire)
    • Contact us for Large (25+) Quantity Pricing </B>
    [​IMG] The NukAlert is the newest, most compact and most affordable personal radiation monitor available. It is designed to respond to the presence of gamma and x-ray radiation. Made to be "idiot" proof. No dials, no calibration, no yearly battery replacement, no LEDs or lights to burn out. The NukAlert will react to the above radiation by an audible "chirping" alarm. The number of chirps indicates the approximately radiation exposure to where you are standing.
    One of the additional benefits of the NukAlert is that it will also confirm when and where dangerous levels of radiation are not present also so you can confirm a radiation safe location whether in your home, office building, etc.
    With the anticipated PUBLIC PANIC that WILL assuredly happen when a nuclear "event" occurs or is declared, it will be HUGELY BE REASSURING for you and your loved ones to know with confidence that with your NukAlert at hand, you and your family can seek and find safe refuse. You will be able protect your family and get them out of the worst danger while others around you panic. You might even be able to help some of them.
    The NukAlert is completely sealed to prevent moisture or contaminants from affecting the radiation readings. To assure quality and relibility, EVERY NukAlert is individually tested against radioactive CESIUM-137 "source" to assure each unit is working properly. The unit works 24/7 and is always "ON" continuously sampling for gamma radiation.
    Power to the monitor is provided by a Long-Life LITHIUM energy cell that is guaranteed to provide a MINIMUM of 10 YEARS of monitoring and with enough reserve power to respond to a prolonged radiaion emergency. Even at full continious alarming at the highest exposure range the battery will continue to provide power and alarming for a least a full month.
    HOW DO YOU KNOW THE NukAlert IS WORKING?
    The monitor's functioning can be confirmed by a faint ticking if held up to your ear. This ticking is made by the internal microprocessor cycling through its sampling program. You can even test your unit to verify operation (see instructions).
    Unit will begin alarming when the radiation level reaches approximately 0.1 Roentgen per hour (Roentgen's are units of measured radiation exposure). The monitor is designed to operate between freezing and 120 degrees F, however, exposure to temperatures between -40 and 185 degrees will not cause damage to the unit.
    Carry the NukAlert everywhere your keys go, with NukAlert's 24/7 constant monitoring, you'll always be promptly alerted to the unseen, but acutely dangerous, levels of radiation if or when present.
    "This is the most remarkable advance in civil defense equipment in many, many years. These are truly great devices."
    - Dr. Arthur B. Robinson, Director of Oregon Institute of Science and Medicine, Publisher of 'Nuclear War Survival Skills' book, Co-Author of the Civil Defense book 'Fighting Chance' which sold over 500,000 copies.
    "The current Washington status symbol is not a congressional parking pass but a $160 NukAlert radiation detector keyring that looks like a garage door opener but beeps like a Geiger counter when background radiation levels become dangerous."
    SALT LAKE TRIBUNE (3/21/03)
    Q: Who Needs a Personal Radiation Detector or Meter?


    A: The reasons for acquiring a radiation detector or meter, and formulating a family nuclear response strategy, are as varied as are peoples concerns for the future and the safety of their loved ones in this ever changing world. The following all-inclusive list would require different responses (sheltering or evacuation) depending on the nature of the nuclear emergency, but clearly survival in all would be enhanced with having a radiation detector or meter close at hand.
    The specific causes of potential life-threatening nuclear radiation emergencies include...
    • Terrorist Nuclear Weapon or "Dirty Bomb"
    • Nuclear Power Plant Accidents here or abroad (Three Mile Island, Chernobyl, etc.)
    • Nuclear Processing Plant Accidents (Tokaimura, Japan)
    • Nuclear Waste (radioactive waste from hospitals, spent fuel and radioactive waste from nuclear power plants, radioactive contaminated materials, etc.) storage or processing facilities mishaps
    • Nuclear Waste Transport Truck or Train Accidents
    • Accidents involving non-waste, but normal daily nuclear materials transport (trucks, planes, trains, couriers). One out every 50 HazMat shipments contain radioactive materials. Approximately three million packages of radioactive material are shipped in the United States each year.
    • Improper storage of radioactive materials (non-waste) at any point during their normal material life cycle. (Power plants, Medical, Industrial, Academic, etc.)
    • Lost or stolen radioactive sources (Over the last 50 years, incidents of lost or stolen licensed radioactive devices occur at the rate of once every other day).
    Nuclear terrorism here via...
    • Or, a real terrorist atomic bomb detonated here on U.S. soil
    • Or, much more likely, conventional explosives used to disperse radioactive materials (dirty bomb) to effectively contaminate an area and much within in it.
    • Or, food or water supplies could be contaminated with radioactive materials.
    • Or, a strong radioactive source could be placed in a location adjacent to where large numbers of the public would file past. They could be unknowingly and dangerously exposed to it, such as at a subway waiting area, sports arena or stadium, etc.
    Limited nuclear war overseas with the fallout carried here by the wind
    Nuclear War involving a direct attack upon the USA.
    Everybody will have different opinions about which of the above nuclear threats is most likely to occur or impact their own family at sometime in the future. Regardless though, in all cases, knowing exactly what the radioactivity is, where you are standing right now (and not being at the mercy general broadcast news reports), will always allow you to make better informed decisions and then taking the correct protective action to minimize any future radiation exposure for you and your family. PLEASE NOTE: We also highly recommend storing a 100 day supply of Potassium Iodide Tablets. See why by clicking on any of the quanitities listed POTASSIUM IODIDE

    ตารางด้านหลังพวงกุญแจ คือระดับรังสี ที่จะทนรับได้โดยไม่เป็นอันตราย(มากนัก) เป็นวัน ชม. และนาที ตามความเข้มของรังสีครับ

    ส่วน โปรแตสเซี่ยมไอโอไดน์ หรือที่เรียกกันว่า KI6 นั้นจะช่วยซับกัมมันตรังสีในร่างกายครับ

    เด็กที่อายุต่ำกว่า19 ปีเมื่อรับรังสีเข้าไปจะทำให้เอ๋อ ต้องกินเจ้าตัวนี้เข้าไปเพื่อช่วยซับ ลองค่อยๆศึกษาดูครับ ส่วนผู้ใหญ่จะเป็นมะเร็ง ถ้ารับรังสีมากเกินไป
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 มกราคม 2007
  2. NuJanBaBor

    NuJanBaBor เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    440
    ค่าพลัง:
    +1,861
    แล้วตอนนั้นประเทศไทยจะอากาศหนาวใช่เปล่าค่ะ ?????????????

    หนาวประมาณไหน จะได้เตรียมของถูก
     
  3. Rattanaporn

    Rattanaporn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    1,091
    ค่าพลัง:
    +13,348
    ดิฉันก็มี catalog ของ Campmor อยู่อันหนึ่งค่ะ กำลังดูอยู่ ของเค้าไม่แพงนะคะ ว่ามั้ย...กะว่าจะซื้อบางอย่างที่สามารถ ใช้ประโยชน์ได้กับตัวเราเองเหมือนกัน...(งานนี้ แฟนบอกว่าไม่เกี่ยว....เราต้องเตรียมเองแล้วหล่ะค่ะ....แบบว่าเค้าไม่ค่อยเชื่อนะคะ... แต่ก็ตามใจเราถ้าเราจะซื้อเตรียมไว้...โดยที่ไม่ไปกระทบกระเป๋าเค้านะคะ...ฮิ ฮิ... ได้อยู่แล้ว งานนี้ต้องค่อยเป็นค่อยไปอยู่แล้วใช่ม๊า....)
    แต่แฟนก็พาไปดูตามร้านขายของเครื่องใช้เหล่านี้นะคะ...ช่วยสั่ง Catalog ช่วยหาร้านให้ ช่วยแปลคำศัพท์ยาก ๆ ให้ ช่วยหาหนังสือมาให้อ่าน เมื่อวันก่อนก็ไปได้หนังสือจากห้องสมุดมาค่ะ เกี่ยวกับการเตรียมรับมือกับสถานการณ์ภัยพิบัติทั้งหลาย มีแผ่นดินไหว ภัยนิวเคลียร์ ภัยน้ำท่วม ฯลฯ มีการเตรียมความพร้อมทุกอย่างค่ะ ช่วยสอนวิธีการดำเนินชีวิตให้อยู่รอดได้ (ดีมากค่ะ...)
     
  4. Rattanaporn

    Rattanaporn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    1,091
    ค่าพลัง:
    +13,348
    อาหารแห้งที่พูดถึงนี้ราคาสูงมากนะคะ ดิฉันว่า (ที่สำคัญดิฉันไม่ค่อยชอบกินเนื้อสัตว์ค่ะ...ฮิ) แต่ก็มีจำพวกผักเหมือนกัน มันรวม ๆ กัน ถ้าเราไม่กินหรือไม่ชอบกินทั้งหมดที่เค้าจัดให้ มันแพงมากอยู่นะคะ
    ตอนนี้ดิฉันก็เลยมีไอเดีย ผลิตขึ้นมาเองค่ะ .... จะซื้ออุปกรณ์การทำที่นี่ และลองทำดูก่อน ได้ผลเป็นที่น่าพอใจแล้ว จะส่งอุปกรณ์ไปให้กลุ่มสมาชิกลองทำดูนะคะ (อาจจะเป็นกลุ่มที่เชียงใหม่ก่อน...)ที่สำคัญเราสามารถเลือกอาหารที่เราจะอบแห้งได้ตามความชอบของเรา
    อาจจะตั้งเป็นศูนย์กลางการผลิดของกลุ่มก็ได้ค่ะ เดี๋ยวขอปรึกษาทีมทางเชียงใหม่(สายอุดร..ดูก่อนนะคะ) ส่วนในเรื่องรายละเอียดเราคงต้องพูดคุยกัน ต่อไป
     
  5. Rattanaporn

    Rattanaporn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    1,091
    ค่าพลัง:
    +13,348
     
  6. Rattanaporn

    Rattanaporn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    1,091
    ค่าพลัง:
    +13,348
    มียาที่ช่วยดูดซับสารกัมมันตภาพรังสีอยู่ตัวหนึ่งค่ะ ไม่รู้ว่าใช้ได้มั้ย ลองช่วยกันพิจารณาดูนะคะ ชื่อว่า Pro-KI Tablets มีคุณสมบัติคือ
    if you are suddenly exposed to radiation,take this pill to block absorption of harmful radioactive iodine by your thyroid gland.

    Contains 65 mg potassium Iodide and Various other ingredients.
    One bottle contains 200 tablets, dosage is based upon weight. $14.97
    เค้าบอกว่าถ้าเราเกิดได้รับสารกัมมันตภาพรังสีเข้าไปในร่างกาย ให้กินยาตัวนี้เข้าไปเพื่อเข้าไปกั้นหรือยับยั้งการดูดซับหรือการดูดซึมสารของร่้างกายโดยทางต่อมไทรอยด์(เป็นต่อมไร้ท่อตรงลูกกระเดือก)
    1 เม็ด บรรจุ 65 มิลลิกรัม ซึ่งจะมีจำพวก โปตัสเซียม ไอโอดิน และตัวยาประกอบสำคัญอื่น ๆ อีก
    1 ขวด มี 200 เม็ด
    ไม่รู้ว่าจะใช้ได้มั้ย ....
     
  7. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    เป็นตัวเดียวกันครับ แต่อาจมีหลายชื่อทางการค้าครับ

    ผมไม่แน่ใจว่า Ki6 โปรแตสเซี่ยมไอโอไดน์เป็นตัวเดียวกับ ชื่อทางเคมีของด่างทับทิมหรือไม่ ต้องถามผู้รู้ทางเคมีครับ

    ส่วนพวงกุญแจ วัดกัมมันตรังสี อาจไม่ต้องมีทุกคนครับ มีจุด หรือกลุ่มละหนึ่งถึงสองอันก็พอ ครับ
     
  8. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ส่วนเรื่องอาหารที่ให้เข้าไปดู เพื่อดูไว้เป็นไอเดีย และเพื่อการคำนวนปริมาณอาหารว่าฝรั่งเขามีหลักการอะไรในการคิดบ้าง

    ส่วนเราต้องมาประยุกต์และปรับตามความเหมาะสมกันอีกทีครับ

    เพราะถ้าซื้อของทางเวบเหล่านี้ อาหารสำหรับคนหนึ่งคน จำนวน หนึ่งปี รวมค่าส่งน่าจะเป็นแสนบาทครับ ไม่คุ้มด้วยประการทั้งปวง

    เราหาทางที่ แปรรูปและเก็บรักษาอาหารให้มีคุณภาพและเก็บไว้ได้นานๆกันดีกว่าครับ
     
  9. zipper

    zipper เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2004
    โพสต์:
    5,226
    ค่าพลัง:
    +10,590
    บางส่วนจากเวปกาชาดอเมริกา http://www.redcross.org/services/prepare/0,1082,0_91_,00.html

    น้ำ
    เก็บน้ำไว้ในที่เก็บน้ำที่เป็นพลาสติก หลีกเลี่ยงที่จะใช้ที่เก็บน้ำที่เปื่อยหรือแตกหักได้อย่างเช่นกล่องนมหรือว่าขวดแก้ว ปกติแล้วคนเราต้องการน้ำอย่างน้อยสองควอตซ์ต่อวัน สภาพแวดล้อมที่ร้อนหรือว่ามีกิจกรรมทางร่างกายมากสามารถเพิ่มได้เป็นสองเท่า เด็ก, แม่ที่เลี้ยงดูลูก และคนป่วยต้องการมากกว่านั้น

    เก็บน้ำไว้หนึ่งแกลลอนต่อคนต่อวัน

    เก็บน้ำไว้อย่างน้อยให้ใช้ได้สามวันต่อคน(สองควอตซ์สำหรับการบริโภค, สองควอตซ์ต่อคนสำหรับใช้ในบ้านสำหรับทำอาหาร/สุขอนามัย)


    อาหาร
    เก็บอาหารไว้อย่างน้อยให้สามารถกินได้ 3 วัน และเป็นอาหารที่ไม่เน่าไม่เสียง่าย เลือกอาหารที่ไม่ต้องการแช่เย็น, ไม่ต้องปรุง, ไม่ต้องใช้น้ำหรือใช้น้ำน้อย ถ้าต้องใช้ไฟให้ใช้ sterno กระป๋อง( sterno เป็นเจล hydrocarbon ที่ติดไฟได้ ไม่รู้ว่าใช่ แอลกอฮอล์แข็งอย่างในบ้านเราหรือเปล่า) เลือกอาหารที่พกพาสะดวกและน้ำหนักเบา
    รายการอาหารที่น่าจะมี
    อาหารกระป๋อง
    น้ำผลไม้กระป๋อง
    เครื่องปรุง(เกลือ, น้ำตาล, พริกไทย, spices, ฯลฯ)
    อาหารที่ให้พลังงานสูง
    วิตามิน
    อาหารสำหรับเด็กอ่อน
    Comfort/stress food (comfort food แปลว่า Food that is simply prepared and associated with a sense of home or contentment.)


    tools and supplies
    เครื่องมือเครื่องใช้ในบ้าน
    คู่มือปฏิบัติในกรณีฉุกเฉิน
    วิทยุที่ใช้แบตเตอรี่และแบตเตอรี่สำรอง
    ไฟฉายและแบตเตอรี่สำรอง
    เงินหรือหรือเช็คเดินทาง
    ที่เปิดกระป๋อง, มีดสวิส
    ที่ดับไฟ
    เต็นท์
    คีม
    เทป
    เข็มทิศ
    ไม้ขีดไฟในที่เก็บที่กันน้ำ
    อลูมิเนียมฟอยด์
    ที่เก็บของพลาสติก
    ไฟสัญญาณ
    กระดาษ,ดินสอ
    เข็ม,ด้าย
    ที่หยอดยา
    ประแจ,สำหรับเปิดปิดแก็ซและน้ำ
    นกหวีด
    แผ่นพลาสติก
    แผนที่


    สุขภัณฑ์
    กระดาษชำระ
    สบู่, ผงซักฟอก
    อุปกรณ์สำหรับผู้หญิง
    เครื่องสุขภัณฑ์สำหรับแต่ละคน
    ถุงขยะพลาสติก
    ถุงพลาสติกที่มีที่ปิด
    น้ำยาฆ่าเชื้อ
    Household chlorine bleach



    Entertainment (based on the ages of family members)

    Games (cards) and books
    Portable music device



    เอกสารสำคัญของครอบครัว
    เก็บไว้ในที่เก็บที่กันน้ำและพกพาง่าย
     
  10. หลับตา

    หลับตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    716
    ค่าพลัง:
    +3,151
    ลองเวปไทยๆดีกว่า

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=667 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=658>ไฟฉายนี่ก็เป็นอุปกรณ์อีกอย่างที่ขาดไม่ได้สำหรับนักเที่ยวป่าเพราะป่าจริงๆนั้นไม่ได้มีไฟฟ้าให้เปิดสวิทปุ๊ปสว่างปั๊ป
    เหมือนในเมือง พอค่ำก็มืดสนิทแทบมองมือตัวเองไม่เห็น
    ลองมาหมดแล้วครับ ตั้งแต่แม็กไลท์หกท่อนดุ้นเท่าศอกที่หนักราวกับสาก แบกไปได้ครึ่งทางแล้วแทบควักออก
    มาโยนทิ้ง ชัวไฟร์กระบอกเล็กไฟแรงแต่เปิดติดต่อกันเดี๋ยวเดียวก็หมดแถมยังเจอค่าถ่านเจ้าไปอีกก้อนละร้อยกว่า
    บาทหายซ่าเลย

    แต่แล้วก็มาติดใจไฟฉายสไตล์ชาวบ้านที่ใช้กันอยู่อย่างแพร่หลายในต่างจังหวัดบ้านเรานี่เอง แต่คนกรุงเทพมักจะ
    ไม่ค่อยเคยเห็น

    ถ้าคุณเคยสังเกตว่าชาวบ้านป่าตัวจริงเขาจะใช้ไฟฉายที่เป็นแบตเตอรี่ก้อนขนาดย่อมๆคาดเอวหรือสะพายไหล่
    แล้วต่อสายไฟมายังโคมไฟที่คาดอยู่ที่หน้าผาก ใช้งานสะดวกเพราะมือไม่ต้องคอยถือไฟฉายให้เกะกะ ถึงกับมีคำ
    บอกเล่ากันว่าถ้าเห็นชาวบ้านคนไหนใส่เสื้อที่ชายเปื่อยเหมือนถูกน้ำกรดกัดให้รู้ไว้เลยว่าเขาเป็นพรานที่สะพาย
    ไฟฉายแบบนี้ไปส่องสัตว์

    ไฟฉายแบบนี้ไม่มีชื่อเรียก แต่เพื่อนๆที่เห็นผมใช้ตั้งชื่อให้ว่า ไฟฉายตีกบครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=599 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=262 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=12 height=5>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=187></TD><TD width=250>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=337 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=12 height=106>[​IMG]</TD><TD width=325>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=325>นี่ละครับไฟฉายตีกบของผม อันนี้เป็นยี่ห้อสตาร์
    ทำในเมืองไทยนี่เอง คุณภาพใช้ได้ ใช้มานาน
    ไม่เคยมีปัญหาเลยครับ

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=699 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=8 height=15>[​IMG]</TD><TD width=691>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=691>ไฟฉายตีกบนี้พัฒนามาจากภูมิปัญญาชาวบ้าน การใช้งานจึงเหมาะกับบ้านเราเหมือนกับมีดอีเหน็บอย่างไงอย่างงั้น
    ข้อเด่นต่างๆถูกออกแบบมาจนลงตัวแล้ว ลองมาดูกันนะครับว่ามันมีดีที่ตรงไหน
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=574 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=6 height=10>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=15>[​IMG]</TD><TD width=232>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=7>[​IMG]</TD><TD width=8>[​IMG]</TD><TD width=242>[​IMG]</TD><TD width=8>[​IMG]</TD><TD width=50>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=187></TD><TD width=250 colSpan=3>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD><TD width=250 colSpan=2>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=10 height=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=550 colSpan=7>จุดเด่นข้อแรกคือการที่ใช้งานได้กว้างขวางหลายรูปแบบครับ จะประกอกเป็นไฟฉายหนึ่งอัน
    มีหูหิ้วก็ได้ สะพายก็ได้

    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=10 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=6></TD><TD width=250 colSpan=3 rowSpan=3>[​IMG]</TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=173></TD><TD colSpan=2></TD><TD width=250 colSpan=2>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=8></TD><TD colSpan=5></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=593 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=18 height=2>[​IMG]</TD><TD width=575>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=575>หรือจะแยกส่วนโคมมาคาดหัวแล้วเอาส่วนแบตเตอรี่มาเหน็บเข็มขัดไว้ (อย่างในรูปด้านขวา) ก็ได้
    ทำให้ทำอะไรได้สะดวกขึ้นมากเพราะไม่ต้องคอยถือไฟฉายส่อง

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=674 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=264 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=8 height=7>[​IMG]</TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=244>[​IMG]</TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=187></TD><TD width=250 colSpan=4>[​IMG]</TD><TD colSpan=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=187></TD><TD width=250 colSpan=4>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8 height=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=187></TD><TD width=250 colSpan=4>[​IMG]</TD><TD colSpan=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8 height=20></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=187></TD><TD width=250 colSpan=4>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8 height=31></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=187></TD><TD width=250 colSpan=4>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=410 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=1 height=129>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=7>[​IMG]</TD><TD width=13>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=55>[​IMG]</TD><TD width=7>[​IMG]</TD><TD width=75>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=325 colSpan=4>แบตเตอรี่ที่ใช้เดี๋ยวนี้เป็นแบตเตอรี่แห้งไม่มีน้ำกรด
    มาหกรดเสื้อรดกางเกงแล้ว

    </TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8 height=141></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=325 colSpan=4>สวิทปิดเปิดอยู่ด้านบนถนัดมือทั้งเวลาประกอบร่าง
    และเวลาแยกมาคาดเอว แถมหรี่ความสว่างของไฟได้ด้วย

    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8 height=40></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=409 colSpan=7>ประเด็นสำคัญที่ชาวบ้าน(รวมทั้งผมด้วย)ใช้ไฟฉายแบบนี้
    กันมากก็คือความประหยัดเพราะสามารถรีชาร์จได้ไม่ต้อง
    เสียเงินค่าถ่านครับในชุดของมันมีเคื่องชาร์จไฟบ้านมา
    ให้ด้วย

    แบตจุค่อนข้างมาก ชาร์จเต็มไปจากบ้าน ผมเปิดใช้ทุกคืน
    ไปหมดเอาคืนที่สี่

    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8 height=44></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=400 colSpan=5>เนื่องจากแบตที่ใช้เป็นแบต 6 โวล์ทความจุสูง จึงสามารถนำ
    ไฟมาประยุคใช้เป็นไฟสำรองกับอุปกรณ์หลายอย่างได้

    รุ่นที่ผมใช้นี้มีแจ๊คเสียบไฟด้านนอกทำให้ต่อไฟไปใช้ได้สะดวกมาก

    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8 height=66></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=226></TD><TD width=250>[​IMG]</TD><TD colSpan=3></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=632 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=632 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=632>ดัดแปลงทำสายต่อซะหน่อยก็สามารถใช้เป็นไฟสำรองให้กับอุปกรณ์หลายอย่างได้ เช่นวิทยุสื่อสาร หรือกล้องดิจิตอล
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=684 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=12 height=12>[​IMG]</TD><TD width=672>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=672>ไฟฉายอันนี้ผมซื้อมาจากร้านแบตเตอรี่แถววรจักรในราคา 350 บาทใช้มาสองสามปีแล้ว นับว่าคุ้มแสนคุ้ม
    ถ้าคุณอยากได้ก็หาซื้อไม่ยาก มีขายทั่วไปตามร้านขายของต่างจังหวัดโดยเฉพาะตามอำเภอที่ห่างไกลออกไป
    แต่ถ้าไปซื้อที่วรจักรอาจจะได้รุ่นนี้ยี่ห้อนี้เลย
    ไฟฉายตีกบนับว่าเป็นภูมิปัญญาไทยที่อาจจะไม่สวยเท่เก๋หรู แต่ใช้งานได้จริง ถ้าคุณเป็นคนที่เที่ยวป่า
    และไม่เน้นการเอาของไปอวดไปโชว์ใคร น่าจะหาไว้สักอันแล้วคุณจะติดใจมันเหมือนผมครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=599 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=147 height=6>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=225>[​IMG]</TD><TD width=75>[​IMG]</TD><TD width=100>[​IMG]</TD><TD width=44>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=185></TD><TD width=300 colSpan=2>[​IMG]</TD><TD colSpan=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7 height=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=402 colSpan=4>เวลาอยู่ในป่าที่มืดสนิทนั้นเราไม่จำเป็นต้องใช้ไฟฉาย
    ที่สว่างมากๆที่ฝรั่งเขาทำมา(หลอก)ขายเราหรอกครับ
    แค่ไฟฉายตีกบนี่ก็เหลือเฟือแล้ว

    </TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7 height=16></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=219 colSpan=3>ตาเกิ้น
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=225 colSpan=4>15 กันยายน 2545
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=487 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=125 colSpan=2>มีดคู่มือ
    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=637 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=12 height=13>[​IMG]</TD><TD width=625>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=625>เคยสังเกตดูบ้างมั๊ยครับว่าในเวลาที่ชาวบ้านป่าขนานแท้รอนแรมตามป่าดง ของอย่างหนึ่งเขาไม่เคยห่าง
    จากตัวก็คือมีดคู่มือ

    สำหรับชาวบ้านป่า มีดคือเครื่องมือทุกอย่างที่เขาต้องการ ตั้งแต่ถางทาง, ตัดฟืน, ตัดไม้ทำหลักแขวนหม้อ,
    ฟันปลาในห้วย, หั่นเนื้อหั่นผักทำกับข้าว, ตัดไม้ไผ่มาทำที่พัก, ต่อแพ, อาวุธป้องกันตัวในยามจำเป็น หรือแม้
    กระทั่งขุดหลุมสำหรับภารกิจส่วนตัวในยามเช้า

    เรียกได้ว่าขาดมีดคู่มือแล้วเหมือนมือเท้าด้วนทำอะไรก็ไม่ได้อย่างใจ

    สำหรับเราๆคนเที่ยวป่า ส่วนใหญ่แล้วเรามักจะเข้าเพียงชายป่าไปจอดรถกางเต๊นท์นอนกัน ถ้าจะเข้าป่าลึกก็
    คงจะมีเพื่อนชาวป่านำทางไปให้ซึ่งเขาก็จะเป็นธุระในเรื่องส่วนใหญ่ให้ คงไม่ต้องถึงขนาดถางทางฟันปลาเอง

    ถึงอย่างนั้นก็เถอะ ผมก็ยังพบว่ามีดสักเล่มที่ติดตัวอยู่มีประโยชน์มหาศาล ที่เหมาะที่สุดคือมีดพับเอนก
    ประสงค์สักเล่มที่จะช่วยคุณได้ตั้งแต่ ตัดเชือกตัดกิ่งไม้เพื่อจัดที่นอน คีบหม้อลงจากกองไฟ หาอาหาร(เปิด
    กระป๋องไง) สันทนาการ(เปิดขวดเบียร์ขวดโซดา) ซ่อมรถ จนถึงอาวุธชิ้นสุดท้ายยามคับขัน

    ผมเองใช้มีดยี่ห้อ Victorynox หรือที่เรียกกันติดปากว่ามีดสวิสอยู่กว่าสิบปี พึ่งจะหนึ่งปีมานี่เองที่เปลี่ยน
    มีดคู่มือมาเป็น ยี่ห้อ Leatherman รุ่น Wave
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=574 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=324 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=12>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=225></TD><TD width=300>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=250 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=50 height=37>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=150></TD><TD width=200>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=200>เครื่องมือของ Wave แม้จะมีน้อยชิ้น
    แต่ก็แข็งแรงใช้งานได้จริงจัง

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=583 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=14>[​IMG]</TD><TD width=559>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=559>สาเหตุที่เปลี่ยนก็เพราะว่าผมพบว่า Wave เหนือกว่ามีดเล่มเดิมของผมอยู่สามประการหลักๆคือ

    1) มีกลไกล็อคใบมีด ไม่ให้พับมาโดนมือขณะใช้งาน อันนี้สำคัญมาก
    2) ถึงแม้จะมีจำนวนชิ้นของอุปกรณ์น้อยกว่า แต่แต่ละชิ้นล้วนแข็งแรงและใช้งานหนักได้จริง ไม่ว่าจะเป็นมีด,
    เลื่อย หรือคีม
    3) สามารถเปิดใบมีดได้ด้วยมือเดียว (One Hand Operate) อันนี้ก็ช่วยให้ใช้งานได้คล่องขึ้นมาก
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=536 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=249 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=11>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=25>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=150></TD><TD width=200>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=200>ใบมีดของWave สามารถกางออกได้
    ด้วยมือข้างเดียว

    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=150></TD><TD width=200>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=225 colSpan=2>ใบมีดล็อกเมื่อกางออกสุดป้องกันการ
    พับมาหนีบมือ

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=287 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=75 height=11>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=12>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=117></TD><TD width=200>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=200>ใบมีดเรียวแหลมและคมกริบ
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=16></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=177></TD><TD width=200>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=212 colSpan=2>มีด, เลื่อย และตะไบ ของWave ทำมา
    แข็งแรงบึกบึนพร้อมสำหรับงานหนัก

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=624 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=299 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=49 height=20>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=164></TD><TD width=250>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=325 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=18 height=52>[​IMG]</TD><TD width=307>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=307>วิคตอรี่น๊อกซ์รุ่นแชมป์ที่เป็นมีดคู่มือผมมากว่าสิบปี
    ถึงแม้มันจะมีอุปกรณ์มากถึง 29ชิ้น แต่ในสิบปีที่ผ่าน
    มาผมก็ใช้อยู่เพียงไม่กี่ชิ้น บัดนี้มันถูกปลดระวางไป
    แล้ว เพื่อหลีกทางให้ Wave

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=574 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=308 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=49 height=18>[​IMG]</TD><TD width=13>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=46>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=150></TD><TD width=200>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=259 colSpan=3>เป็นเรื่องน่าสนใจที่วิคตอรี่น็อกซ์ก็เห็นด้วยกับ
    การออกแบบของ Leatherman Tools จนต้อง
    ออก Swiss Tools มาสู้

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=266 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=41 height=18>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=25>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=140></TD><TD width=200>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=225 colSpan=2>Swiss Tools มีกลไกล็อคใบมีดบ้างแล้ว
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=549 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=264 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=64 height=14>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=150></TD><TD width=200>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=285 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=10 height=52>[​IMG]</TD><TD width=275>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=275>ข้อดีเหนือ Leatherman ก็คือการง้างอุปกรณ์
    ออกมาใช้ทำได้ง่ายกว่ามาก ที่ยังเสียเปรี่ยบอยู่
    ก็คือ การง้างใบมีดยังต้องใช้สองมือ

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=618 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=13>[​IMG]</TD><TD width=594>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=594>ทุกครั้งที่เดินทางผมจะมีเจ้า Wave ติดเข็มขัดอยู่เสมอและก็มีเหตุให้หยิบใช้อยู่วันละหลายๆครั้ง จนวันไหน
    ไม่ได้พกไปก็จะรู้สึกว่าทำอะไรไม่ได้อย่างใจซักอย่าง แถมยังโหว่งๆ เหมือนไม่ได้ใส่กางเกงในเลยเชียวละ

    ถ้าคุณรักที่จะใช้ชีวิตในป่าดง แม้แต่เพียงชายป่า คุณน่าจะหามีดติดตัวไว้สักเล่ม มันไม่ได้เป็นภาระหนักหนา
    อะไรเลย แล้วคุณจะสงสัยว่าเมื่อก่อนคุณอยู่ได้อย่างไรโดยไม่มีมีดติดตัว
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. หลับตา

    หลับตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    716
    ค่าพลัง:
    +3,151
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=441 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD height=262></TD><TD width=350 colSpan=2>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=300 colSpan=2>"หม้อ(สนาม)ของหนู(เล)"
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=661 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=11 height=11>[​IMG]</TD><TD width=650>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=650>ต้องขอใช้ชื่อเรื่องนี้เป็นภาษาอังกฤษครับ ชื่อเรื่องภาษาไทยมันจะดูเร้าใจพิกล หลังจากพยายามตั้งชื่อตั้งแต่
    "เรื่องหม้อ หม้อ" หรือ "หม้อของหนู(เล)"..... เดี๋ยว rating ของ Thailandoutdoor จะกระฉูด หรือจะต้องเปลี่ยน
    ชื่อเวปมาเป็น Thailand_X_Outdoor ทำให้ตาเกิ้นต้องไปเสียเงินลงทะเบียนชื่อ Website ใหม่อีก
    จะว่าไปแล้วในบรรดาอุปกรณ์ camping ทั้งหลายทั้งปวงนั้น หม้อ(ข้าว)นับเป็นอุปกรณ์ที่จำเป็นยิ่งยวดเลยครับ
    ไม่มีเต๊นท์ หรือเปล ยังขึงฟลายชีตปูผ้าใบนอนข้างกองไฟได้.. เตา/ตะเกียงก็ไม่ใช่สิ่งจำเป็นเพราะฟืนก็เป็นสิ่งที่หา
    ได้ในป่า (แต่ถ้าเจอฟืนเปียกก็เหนื่อยกันหน่อยละครับ) แต่ถ้าไม่มีหม้อละก้อ อดข้าวแน่นอนครับ เว้นเสียแต่ว่าไป
    กับเจ้าป่าอย่างชาวกะเหรี่ยงก็พอจะรอดด้วยวิชาหุงข้าวด้วยกระบอกไม้ไผ่....ดูง่ายๆขนาดนักเดินป่ามือโปรฯอย่าง
    เจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่ายังต้องหม้อสนามพกเป็นสมบัติประจำกายคู่กับข้าวสาร ปืนและเป้เลยครับ นับประสาอะไรกับ
    นักเดินทางท่องป่ามือสมัครเล่นอย่างพวกเรา

    หม้อทำกับข้าว
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=399 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=49 height=11>[​IMG]</TD><TD width=7>[​IMG]</TD><TD width=324>[​IMG]</TD><TD width=19>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=262></TD><TD width=350 colSpan=3>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=324>โฉมหน้าหม้อแม่-ลูกที่อยู่ในลังอุปกรณ์แค้มป์คาร์ของหนูเล
    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=674 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=8 height=15>[​IMG]</TD><TD width=666>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=666>เรื่องของหม้อ(ข้าว)ที่ใช้คู่ครัวเคลื่อนที่เนี่ย จริงๆเราก็สามารถแบ่งประเภทได้หลายแบบ อย่างเช่นถ้าเราไปเที่ยว
    แบบรถถึงที่พักแรมและไปกันเป็นกลุ่มใหญ่ หม้อ(ข้าว)ที่เราใช้ก็คงเป็นหม้อหูขนาดใหญ่ที่แอบไปหยิบจากในครัว
    ที่บ้านมาพร้อมกับเตาแก๊สปิคนิค ส่วนนักแค้มป์คาร์ตัวยงอย่างหนูเลที่ใช้รถกระบะ 4x4 ขนาดจ้อย (Suzuki Sporty)
    และเตรียมพร้อมที่จะเที่ยวอยู่ตลอดเวลา (จริงๆคือขี้เกียจจัดของ) ก็ใช้ชุดหม้อแค้มปิ้งชนิดหม้อแม่-ลูก - หมายถึง
    ในชุดมี 2 ใบ โปรดอย่าคิดมาก - ที่เป็นโภชนภัณฑ์ขายตามร้าน Outdoor ทั่วไป บรรจุอยู่ในลังมหัศจรรย์ของผม
    พร้อมกับเครื่องมือประกอบการทำ/การกินอาหารอย่างอื่นอันได้แก่ มีด เขียง เตาแก๊ส / ตะเกียงแก๊ส แก๊สกระป๋อง
    จาน ช้อน แก้ว ขวาน ฟลายชีต เชือก เปลนอนเล่น ฯลฯ โดยบนฝาลังมหัศจรรย์ใบนี้หนูเลเอาปากกาเมจิกเขียนตัว
    "U" (Utensil) ส่วนลังมหัศจรรย์อีกใบที่บนฝามีลายมือขยุกขยิกของหนูเลเป็นตัว "F"(Food) ก็มีตั้งแต่ข้าวสาร
    ข้าวเหนียว มาม่า อาหารกระป๋องประจำครัวเช่นปลากระป๋องตราอะยัม หรือตราหกเต้า, คอร์นบีฟ, ปลาทูน่าใน
    น้ำมันพืช, หอยลายกระป๋อง ฯลฯ ของหวานประจำวันอันได้แก่ ถั่วเขียว นอกจากนี้ก็ยังมีเครื่องปรุงต่างๆเช่น พริก
    กระเทียม ตะไคร้ ใบมะกรูด มะนาว เรียกว่าถ้าไม่ลืมก็แอบจิ๊กจากครัวที่บ้านไป อย่างอื่นก็ได้แก่ เครื่องต้มยำ /แกงป่า
    ซองตราโลโบ น้ำมันพืช น้ำปลา เกลือ น้ำตาล กาแฟซองชนิด 3ใน 1 และชาเย็นเนสทีพร้อมชงดื่มที่หนูเลชอบเอา
    มาชงเป็นชาร้อนดื่ม...อร่อย... เรียกว่าจับเสื้อผ้าและเปลยัดใส่เป้ พร้อมขนลังมหัศจรรย์ 2ใบนี้ พร้อมผ้าพลาสติกปู
    พื้นขึ้นท้ายรถ ก็ไปนอนเล่นแค้มป์คาร์เล่นตามอุทยานต่างๆได้แล้วครับ

    หม้อสนาม
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=664 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=4 height=7>[​IMG]</TD><TD width=95>[​IMG]</TD><TD width=25>[​IMG]</TD><TD width=8>[​IMG]</TD><TD width=292>[​IMG]</TD><TD width=8>[​IMG]</TD><TD width=11>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=210>[​IMG]</TD><TD width=5>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=262></TD><TD width=350 colSpan=6>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=10 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=300 colSpan=2>ตาเกิ้นกำลังขะมักเขม้นตั้งคานแขวนหม้อ
    </TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=10 height=13></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=660 colSpan=9>แต่ถ้าจะพูดถึงหม้อสำหรับนักเดินทางเที่ยวธรรมชาติ (ด้วย 2 ขาของตัวเอง) ประเภทที่ตาเกิ้นเรียกว่า "ทัวร์กิน-นอน"
    ...แต่กว่าจะได้กินจะได้นอนเดินแบกเป้กันเกือบขาดใจ...แล้วละก้อ หม้อสนามก็เป็นโภชนภัณฑ์ท่องไพรประจำกายที่
    เหมาะสมที่สุดครับ เนื่องจากขนาดที่กะทัดรัด รูปทรงเหลี่ยมๆที่ไม่กินพื้นที่ เอาใส่เป้ไม่เกะกะ แข็งแรงทนทาน ราคา
    ไม่แพง และที่สำคัญคือ หูหม้อที่ยาวและออกแบบให้ใช้สำหรับแขวนบนไม้คาน ทำให้สะดวกในการหุงหาอาหาร
    ด้วยไฟฟืน โดยเฉพาะการหุงข้าวด้วยกองไฟ นอกจากนี้ เจ้าหม้อสนามก็ยังออกแบบให้มีฝา 2 ชั้น (ชั้นนอกชั้นใน)
    ซึ่งเราสามารถเอาฝาชั้นในไว้ใส่กับข้าว หรือทำเป็นจานข้าวส่วนตัวได้อีก เรียกว่าออกแบบให้ใช้งานในป่าได้อย่าง
    ลงตัวทีเดียวครับ ส่วนผู้ที่คิดค้นเจ้าหม้อสนามนี้ หนูเลก็ไม่ทราบครับว่าเป็นใคร รู้แต่ว่ามีใช้มานมนานหลายสิบปี
    แล้ว เข้าใจว่าจุดกำเนิดของหม้อสนามน่าจะมาจากการออกแบบหม้อไว้ใช้ต้มน้ำทำอาหารสำหรับทหารราบของ
    กองทัพในต่างประเทศ ถ้าท่านผู้อ่านท่านใดทราบประวัติความเป็นมาก็ช่วยแจ้งหนูเลด้วย จะได้นำมาลงเพิ่ม หรือ
    จะเขียนเรื่อง Something abt Pottery II ส่งมาให้ตาเกิ้นลงก็จะยิ่งดีใหญ่เลยครับ
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=10 height=8></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=262></TD><TD width=350 colSpan=6>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=319 colSpan=4>ตาเกิ้นกำลัง"ใส่ไฟ" (งานถนัด)ให้โชติช่วงท่วมหม้อ
    </TD><TD colSpan=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=10 height=12></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=659 colSpan=9>ข้อเสียของเจ้าหม้อสนามก็เห็นจะได้แก่รูปทรงที่ค่อนข้างสูงปากแคบ และฝาหม้อที่เปิดยากทำให้เป็นที่ยาก
    ลำบากต่อพ่อ/แม่ครัวประเภทชิมไปปรุงไปครับ วิธีการหุงข้าวหรือทำกับข้าวด้วยหม้อสนามก็คือพยายามเปิดฝา
    หม้อให้น้อยสุด และไม่ควรอย่างยิ่งที่จะเปิดฝาหม้อตอนตั้งอยู่กลางกองไฟเพราะบรรดาเขม่าฟืนก็จะได้โอกาสกรู
    กันลงไปทำให้รสชาติเปลี่ยนแล้วจะมาโทษว่าว่าพ่อครัวหัวป่า*อย่างหนูเลไม่เตือนนะครับ วิธีที่พ่อครัวสนามอาชีพ
    (เจ้าหน้าที่ป่าไม้) ทำกันก็คือเตรียมเครื่องทุกอย่างให้เรียบร้อย เช่นถ้าทำต้มยำปลากระป๋องก็ เอาหม้อสนามใส่น้ำ
    ตั้งไฟ ระหว่างรอน้ำเดือด ก็จะเปิดกระป๋อง ทุบกระเทียม,ตะไคร้ ฉีกใบมะกรูด บีบมะนาว เกลือพร้อม พอน้ำเดือดก็
    ยกหม้อลงจากไฟ เปิดฝา ปล่อยปลาและเครื่องปรุงลงหม้อ ชิมจนชอบ แล้วเอาไปตั้งไฟใหม่พอเดือดได้ที่ก็เอาลง
    มาเปิดฝาเท่านี้ก็มีต้มยำพร้อมซดรสแซบแล้วล่ะครับ
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=10 height=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=230></TD><TD width=350 colSpan=6>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4></TD><TD class=TextObject width=300 colSpan=2>ขยับหม้อออกจากไฟหลังจากที่ข้าวหม้อแรกเริ่มสุก
    </TD><TD colSpan=4></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=673 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=5 height=33>[​IMG]</TD><TD width=668>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=668>นูเลยังจำได้ว่าสมัยยังละอ่อนต่อการหุงข้าวด้วยหม้อสนาม เวลาหุงข้าวทีทุลักทุเล และเป็นที่ขัดหูขัดตาต่อนัก
    ท่องไพรอาชีพที่พาเดิน-เจ้าหน้าที่ป่าไม้-เป็นอย่างมาก เนื่องจากช่วงที่ต้มข้าวต้องคอยเปิดฝาหม้อสนามเพื่อ
    คนข้าวไม่ให้ติดก้นหม้อ คนไปก็คอยชิมไปว่าข้าวเริ่มสุกหรือยัง พอข้าวเริ่มบานก็ทำการ"เช็ดน้ำ" รินน้ำข้าวออกใส่
    ถ้วยเอามาใส่เกลือรับประทานก่อนอาหารเป็นออเดิร์ฟร้อนเป็นที่สนุกสนาน เมื่อเช็ดน้ำแล้วก็ทำการอุ่นข้าวไปเรื่อยๆ
    จนข้าวระอุสุกได้ที่จึงอันเป็นเสร็จพิธี เรียกว่าจะได้กินข้าวแต่ละมื้อมือไม้พองโดยตลอด แถมยังต้องดูแลประคบ
    ประหงมเจ้าหม้อข้าวชนิดไม่ให้ห่างตา เรียกว่าเผลอเมื่อไรเป็นข้าวไหม้ทุกที จนในที่สุดเมื่อสักเกือบ 10 ปีแล้ว
    หนูเลก็ได้รับการถ่ายทอดวิทยายุทธ์หุงข้าวด้วยหม้อสนามจากพี่ทิวา พิทักษ์ภูผา เจ้าหน้าที่ป่าไม้ แห่งหน่วยพิทักษ์ป่า
    ตะเคียนทอง ทุ่งใหญ่นเรศวร เมื่อพี่เค้าทนดูการหุงข้าวของพวกเราไม่ได้เลยทำการ on-the-job training ซะ 2 หม้อ
    ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ทั้งตาเกิ้นและหนูเลก็ไม่เคยเสียหน้าเรื่องก้นหม้อเป็นลายข้าวสารอีกต่อไป...ฮ่า ฮ่า สำหรับสูตร
    การหุงข้าวนั้นก็อ่านได้จากภาคผนวกเลยครับ ส่วนท่านใดจะสนใจจะเชิญตาเกิ้นไปเป็นวิทยากรภาคปฏิบัติละก้อ
    ท่านลองโทรไปชวนออกเดินค้นหา-พิชิตยอดเขา/น้ำตกใหม่ดูซิครับ รับรองไปแน่นอน แต่ถ้าจะชวนหนูเลละก้อขอ
    ทริปเดินน้อยๆ น้ำห้วยใสไหลเย็น ร่มรื่นประเภทผูกเปลนอนได้ทั้งวัน นะครับ..

    หม้อ(สนาม)ของหนู(เล)
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=512 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=124 height=9>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=163>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=300></TD><TD width=225>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=388 colSpan=2>พอข้าวสุกทั้ง 2 หม้อคราวนี้ก็อังไฟเพื่อให้ข้าวสวยได้ที่...Yummy
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=680 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=680 height=13>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=680>"ก้นดำ หม้อลาย" น่าจะพอใช้บรรยายสภาพหม้อสนามของหนูเลได้ครับ ไอ้เรื่องก้นหม้อสนามดำนั้น ผมว่าเป็นทุก
    หม้อครับ นักเที่ยวอาชีพประเภทแค้มป์คาร์(แต่แค้มป์หลังจากเดินแบกของจากจุดจอดรถไปหลายวัน) เค้าไม่ยอม
    ใช้หม้อใหม่หรอกครับ ดูเป็นมือใหม่ไม่โปรฯ ส่วนเจ้าหม้อสนามที่ขายในบ้านเราตามหลังกระทรวงหรือจตุจักรเนี่ยก็
    แปลกครับ ปรกติโรงงานผลิตหม้อเค้าจะพ่นสีเขียวทหารมานัยว่าเป็นยุทธภัณฑ์จึงต้องใช้สีทหาร ไอ้สีที่พ่นเนี่ยตัวดี
    ครับ เพราะพอเอามาแขวนราวบนกองไฟสีที่พ่นบนหม้อก็จะโดนไฟเผาเหม็นตลบ อบอวนไปทั้งแค้มป์เลยครับ แล้วสี
    ของหม้อสนามก้อจะค่อยๆเปลี่ยนสภาพเป็นสี "รมดำ" แท้ๆ ดังนั้นถ้าท่านผู้อ่านเพิ่งซื้อหม้อสนามมาใหม่ก็อย่าเพิ่ง
    เอาไปออกทริปแบบนั้นนะครับ เดี๋ยวจะโดนดูแคลนว่าเป็น "มือใหม่"เอานะ ให้เอาหม้อทำการรมดำบนเตาฟืนให้
    หายเหม็นสีเคลือบหม้อก่อนแล้วจึงเอาไปใช้หุงข้าว/ต้มน้ำ จะปลอดภัยต่อสุขภาพกว่า แถมจะดูเป็นโปรฯ อีกต่างหาก
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=666 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=3 height=6>[​IMG]</TD><TD width=21>[​IMG]</TD><TD width=75>[​IMG]</TD><TD width=25>[​IMG]</TD><TD width=7>[​IMG]</TD><TD width=68>[​IMG]</TD><TD width=105>[​IMG]</TD><TD width=45>[​IMG]</TD><TD width=24>[​IMG]</TD><TD width=91>[​IMG]</TD><TD width=10>[​IMG]</TD><TD width=5>[​IMG]</TD><TD width=23>[​IMG]</TD><TD width=47>[​IMG]</TD><TD width=7>[​IMG]</TD><TD width=10>[​IMG]</TD><TD width=58>[​IMG]</TD><TD width=25>[​IMG]</TD><TD width=10>[​IMG]</TD><TD width=7>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=262></TD><TD width=350 colSpan=7>[​IMG]</TD><TD colSpan=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=20 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=5></TD><TD class=TextObject width=418 colSpan=9>วงสนทนาพร้อมชิม"ยอดข้าว"ระหว่างรอข้าวสุก, พี่เสธ.อช.กุยบุรี-ตาเกิ้น
    </TD><TD colSpan=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=20 height=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=663 colSpan=19>ส่วนหม้อลาย-ก้นหม้อด้านใน-ลายเป็นเม็ดข้าวสารเนี่ยก็หายากครับ เพราะลายนี้เกิดจากเมล็ดข้าวก้นหม้อที่ขาด
    น้ำและอยู่กลางกองไฟเป็นเวลานานจนเกิดปฏิกริยาทางเคมีแปลงสภาพคาร์โบรไฮเดรดของเมล็ดข้าวที่เกือบจะสุก
    กลายเป็นคาร์บอนอันมีโมเลกุลที่มีพันธะแนบแน่นกับโลหะอลูมิเนียมของก้นหม้อ ..พูดภาษาง่ายๆก็คือข้าวก้นหม้อ
    ไหม้อย่างรุนแรง จนขัดไม่ออกครับ นัยว่ามัวแต่นั่งคุยกันจนไม่เบิ่งว่าเกิดอะไรกะอาหารหลักมื้อเย็น แถมยังนั่งเหนือ
    ลมและจมูกตันอีกต่างหากจึงไม่ได้กลิ่นไหม้ขนาดนั้น ดังนั้นหม้อสนามของหนูเลจึงมีเอกลักษณ์ที่หาไม่ได้ในหม้อ
    สนามทั่วไป ถ้าท่านใดสนใจอยากได้ไว้ครอบครองก็เอาหม้อใหม่มาแลกสิครับ
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=20 height=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=262></TD><TD width=350 colSpan=7>[​IMG]</TD><TD colSpan=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=20 height=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=5></TD><TD class=TextObject width=333 colSpan=5> บรรยากาศรอบแค้มป์อันแสนเรียบง่ายตามแบบ "ทัวร์ กิน-นอน"
    </TD><TD colSpan=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=20 height=13></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=666 colSpan=20>เขียนคุยซะเหมือนเป็นโปรฯหม้อสนาม จริงๆหนูเลก็ไม่ได้เอาเจ้าหม้อสนามออกโรงเสียนาน เคยไปอยู่ในห้องเก็บของ
    ที่บ้านตาเกิ้นเป็นปีเลยครับ เพราะหลังจากที่เลิกแบกเป้ไปเที่ยวกันเองหันไปเที่ยวกับพี่หน่อย แห่งมูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่า
    และพันธุ์พืช ก็ไม่ต้องทำอาหาร... พี่หน่อยจัดการหุงหาให้หมดอันเป็นการ spoil ลูกทริปเป็นอย่างมาก..อิ อิ ยิ่งหนูเล
    หันมาพกลังมหัศจรรย์ไปนอนแค้มป์คาร์แล้วยิ่งห่างจากหม้อ หนูเลก็เพิ่งเอาออกมาขัดๆถูๆ ใช้งานใหม่อีกทีเมื่อปีกลาย
    เมื่อไปเดินชมดงยางที่อุทยานแห่งชาติกุยบุรี นัยว่าเป็นทริปซ้อมมือซ้อมน่องก่อน(เผลอไปตกปากรับคำ)ไปหุงข้าวกิน
    บนยอดโมโกจูครับ
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=20 height=13></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=209></TD><TD width=280 colSpan=5>[​IMG]</TD><TD colSpan=13></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=20 height=60></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=209></TD><TD width=280 colSpan=6>[​IMG]</TD><TD colSpan=8></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=20 height=54></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=600 colSpan=15>กระติกน้ำทหารรุ่นนี้ซื้อมาจากร้านแดงรัสเซียครับ มีก้นกระติกแปลงร่างกลายเป็นหม้อสนามใบย่อมได้
    ตาเกิ้นกับผม vote ให้ value worth และ practical เต็ม 10 เลย

    </TD><TD colSpan=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=20 height=17></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=649 colSpan=18>แปลกแต่จริงครับ จากสถิติหุงข้าวด้วยหม้อสนามของหนูเล 10 หนหลังสุดเนี่ย ไม่เคยมีข้าวไหม้ติดหม้อข้าวเลยครับ สวยเรียงเม็ดน่ากิน (10-0) ในขณะที่หุงด้วยหม้อธรรมดาโดยใช้เจ้า"เตาจิ๋ว" เตาแก๊สกระป๋อง ปรากฎว่า 2 ครั้งหลังสุดเนี่ยไหม้ตลอด 2 หน (0-2) สงสัยหนูเลคงจะต้องขายเตาสนามที่สะสมไว้หันไปใช้ฟืนดีกว่า..
    </TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=20 height=28></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8 height=200></TD><TD width=153 colSpan=5>[​IMG]</TD><TD colSpan=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=20 height=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=9></TD><TD class=TextObject width=183 colSpan=6>หนูเล
    มีค. 46

    </TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=20 height=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=659 colSpan=19>* หัวป่า น. คนทำอาหาร คำแปลจากพจนานุกรมครับ โปรดอย่าเข้าใจผิดว่าหนูเลเป็นยอดพ่อครัวนะครับ แต่เป็นแค่
    คนทำอาหารระดับ cook level 1 หรือที่ภาษากะเหรี่ยงเรียกว่า "พอแหลกล่าย"
    ภาคผนวก: สูตรการหุงข้าวด้วยหม้อสนาม (สูตร พี่ทิวา พิทักษ์ภูผา แห่งหน่วยพิทักษ์ป่าตะเคียนทอง)
    หุงข้าวเจ้านะครับ.. เคยมีคนสอนหนูเลหุงข้าวเหนียวด้วยเหมือนกัน แต่ไม่ได้ทำ On-the-Job Training เลยไม่มั่นใจ
    เคยลองหุงแล้วกลายเป็นข้าวกวน.. เลยไม่แน่ใจว่าจำสูตรผิด หรือคนหุงม่ายล่ายเลื่อง..
    • 1. เทข้าวสารลงไปครึ่งหม้อ ซาวข้าว (หรือจะไม่ซาวก็ได้ถ้าใช้ข้าวสะอาด) แล้วเติมน้ำให้เต็มหม้อ สูตรนี้จะ
      หุงข้าวได้เต็มหม้อสนามพอดี เหมาะสำหรับคนหิวโซ (เดินมาสัก 10 กม.) กินได้ 4-5 คน
      2. แต่ถ้าสมาชิก 4 คนไม่หิวมาก หรือสมาชิกเป็นประเภทกินข้าวน้อย (หันไปกินยอดข้าวแทน) ก็เทข้าวสาร
      เต็ม 1 ฝานอกของหม้อสนาม แล้วเติมน้ำ 2 ฝา ตามสูตรข้าวหนึ่งน้ำสอง
      3. เอาใส่ไฟแรงเต็มที่ เอาไปวางกลางกองฟืนได้เลยครับ ไม่ช้าไม่นาน น้ำในหม้อก็จะเริ่มเดือดทะลักออก
      จากฝาหม้อโดยจะเห็นน้ำและไอน้ำพุ่งออกตามขอบฝาหม้อ
      4. ตอนนี้สำคัญสุด จะได้เปิบข้าวไหม้หรือดิบก็ตอนนี้ละครับ พอไอน้ำที่ต้มข้าวเริ่มเหือดต้องรีบเอาหม้อ
      ข้าวออกจากไฟ จุดสังเกตุคือจากน้ำ/ไอน้ำที่พรั่งพรูออกมามาก เปลี่ยนกลายเป็นเหลือไอน้ำน้อยๆ และจุด
      บอกว่าข้าวไหม้แล้วนั่นคือกลิ่นไหม้ อิอิ
      5. เอาหม้อข้าวออกจากกองไฟ แล้วเอาไปอังไฟห่างๆ ให้ข้าวระอุ หมุนหม้อไปมาเพื่อให้ข้าวระอุทั่วหม้อ
      ประมาณ 5 นาที เท่านี้ก็จะได้ข้าวสุกอร่อยน่ากิน เรียงเม็ดสวยมาก แถมไม่มีติดก้นหม้อเลยครับ
    ส่วนสูตรการหุงข้าวจากหม้อสนาม ได้มีคุณมือเก่าได้แต่งไว้เป็นกลอนอย่างไพเราะ post อยู่ใน www.trekkingthai.com
    (คลังกระทู้เก่า) หนูเลขออนุญาต copy มาให้อ่านกันครับ
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=20 height=17></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=467 colSpan=13>ความคิดเห็นที่ 22
    ตอบพรานถึก ควายทุยคุยเรื่องหม้อ
    อย่างไรหนอ จะได้กิน ข้าวสวยศรี
    ต้องเติมน้ำ เหนือข้าว ให้พอดี
    สักสององคุลี อย่าเกินไป

    ก่อไฟรอ หม้อแขวนตั้ง อย่าพลั้งเผลอ
    ให้น้ำเอ่อ เดือดล้น จนหยุดไหล
    เปิดฝา*กมาดง ในทันใด
    โดยใช้ไฟ อ่อน ๆ จะเข้าที

    แล้วจะได้ ข้าวสุก ที่แสนสวย
    ล้อมวงช่วย กันกิน อย่าเลี่ยงหนี
    ใครหุงข้าว ไม่เป็น ตามวิธี
    ได้ข้าวสี เกรียมไหม้ ใจสคราญ

    อีกหม้อใหม่ บอกให้ อีกซักนิด
    ก่อนจะคิด ใช้หุง ปรุงอาหาร
    เทน้ำส้ม ต้มในหม้อ ให้นาน ๆ
    จะช่วยการ ใช้งาน ให้ดีเอย

    ได้รางวัลกินฟรีไหมท่านพรานถึกที่เคารพ
    โดย มือเก่า เมื่อ 8 ส.ค. 44, 00:32 น.
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ----------------------------------------------------------
    ข้อมูลจาก http://www.thailandoutdoor.com/
     
  12. หลับตา

    หลับตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    716
    ค่าพลัง:
    +3,151
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=604 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=601>มีคำเรียกร้องมามากเหลือเกินสำหรับบทความการเลือกซื้อเต็นท์ ประกอบกับต้อนนี้มาถึงหน้าหนาว หลายคนที่ยัง
    ไม่มีก็คงจะอยากจะหาซื้อเต็นท์ไปกางนอนตามป่าดงดอยเพื่อประหยัดค่าไฟที่บ้าน ใครที่มีเต็นท์แล้วอีกหลายคน
    ก็อาจจะอยากซื้อเต็นท์ใหม่ตามประสาคนเก็บกดเพราะเต็นท์มีหลายหลังได้ไม่ตีกัน ไม่เหมือนแฟน บัดนี้จึงคิดว่า
    ถึงเวลาแล้วว่าน่าจะนั่งเขียนการเลือกซื้อเต็นท์ในแบบฉบับ Thailand Outdoor (นั้นก็คือเขียนแบบฟันธงไม่ต้อง
    เกรงใจใคร)

    จากที่ได้ครอบครองเต็นท์มามากมายหลายหลัง และกางเต็นท์นอนมาค่อนข้างจะบ่อยแล้ว(บางคนถึงกับถามว่า
    จะมีบ้านไว้ทำอะไร) ผมคิดว่าผมพอจะรู้แล้วว่าเต็นท์ที่ดีนั้นต้องเป็นอย่างไร

    ลองมาดูกันว่าเต็นท์ในอุดมคติของตาเกิ้นนั้นต้องมีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง ขอแค่สามอย่างก็พอ

    ข้อแรกนั้นคือต้องกันฝนได้ดีบ้านเรานั้นฝนตกชุก ยิ่งในป่าแล้วฝนตกได้ทุกฤดู การนอนเต็นท์ที่น้ำรั่วน้ำหยดนั้น
    ทรมานมาก (เรียกอีกอย่างว่าไม่ได้นอน)

    การที่เต็นท์จะกันน้ำได้ดีนั้นขึ้นอยู่ กับสองอย่างคือวัสดุและการออกแบบ

    เต็นท์ที่ขายอยู่ในบ้านเรา ร้อยละเก้าสิบนั้นไม่กันน้ำ (อย่าตกใจครับ) เพราะเราลอกแบบมาจากเมืองนอก แต่ใช้วัสดุ
    ที่ด้อยคุณภาพกว่า เช่นผ้าฟลายชีตที่เป็นหลังคาเต็นท์นั้นเป็นผ้าร่มธรรมดาๆ ฝนตกมาไม่นานก็จะเริ่มซึมหยด
    แถมฟลายชีตก็ทำมาแบบประหยัดผ้าคือทำมาสั้นๆลอยๆ ฝนตกลมพัดนิดเดียวก็สาดเข้าตัวเต็นท์แล้ว
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=505 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=50 height=7>[​IMG]</TD><TD width=6>[​IMG]</TD><TD width=394>[​IMG]</TD><TD width=55>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=300></TD><TD width=400 colSpan=2>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=449 colSpan=2>ตัวอย่างของเต็นท์ส่วนมากที่จะมีฟลายชีตสั้นเต่อ เหมือนไม่เต็มใจจะมี
    แบบนี้เวลาฝนตกลมแรง เปียกแน่ครับ

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=649 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=649 height=7>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=649>ถ้าจะให้กันน้ำ ผ้าฟลายชีต จะต้องเป็นผ้าที่เคลือบสารกันน้ำ ผ้าแบบนี้ถ้าลองจับดูจะรู้สึกเหมือนมียางเคลือบอยู่
    ด้านหนึ่ง และฟลายชีตจะต้องคลุมมาถึงเชิงเต็นท์ด้านล่างไม่ใช่ลอยสูงเหมือนหลังคาบ้านจัดสรรสไตล์บาวาเรีย

    ข้อสองอากาศต้องถ่ายเทสะดวก บ้านเราอากาศร้อนชื้นครับ ถ้าอากาศในเต็นท์ไม่ถ่ายเท นอกจากจะทำให้ร้อนแล้ว
    ยังจะทำให้อากาศมากลั่นตัวเป็นหยดน้ำภายในเต็นท์อีกด้วย ในช่วงที่อากาศหนาวเรื่องการกลั่นตัวของหยดน้ำนี่จะ
    เป็นมากเลย ถึงแม้จะไม่รั่วก็นอนเปียกอยู่ดี

    พออ่านข้อแรกแล้วมาอ่านข้อนี้ หลายคนคงเกาหัวแกรกๆ ว่าตาเกิ้นจะเอายังไงกัน(ว่ะ) จะให้กันฝนสนิทแล้วจะให้
    อากาศถ่ายเทด้วยได้ยังไงกัน

    ทำได้ครับถ้าเต็นท์นั้นออกแบบมาดีพอ อากาศจะถ่ายเทได้ก็เมื่อฟลายชีตนั้นห่างจากตัวเต็นท์มากสักหน่อย (อันนี้
    จะทำให้โอกาสที่น้ำจะซึมหยดจากฟลายชีต มาที่เต็นท์น้อยลงด้วย)และมีทางให้ลมพัดผ่าน ส่วนตัวเต็นท์จะต้องเป็น
    มุ้งมากกว่าผ้าร่มจะได้ไม่ทึบลม
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=649 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=1 height=9>[​IMG]</TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD width=47>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=5>[​IMG]</TD><TD width=40>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=200>[​IMG]</TD><TD width=67>[​IMG]</TD><TD width=58>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=22>[​IMG]</TD><TD width=50>[​IMG]</TD><TD width=11>[​IMG]</TD><TD width=20>[​IMG]</TD><TD width=27>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD><TD width=5>[​IMG]</TD><TD width=2>[​IMG]</TD><TD width=13>[​IMG]</TD><TD width=27>[​IMG]</TD><TD width=19>[​IMG]</TD><TD width=23>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=7 height=354></TD><TD width=328 colSpan=4>[​IMG]</TD><TD colSpan=12></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=5></TD><TD class=TextObject width=501 colSpan=11>เต็นท์ในภาพ จะเห็นได้ว่าตัวเต็นท์เป็นมุ้ง และเสาเต็นท์ห่างเพื่อค้ำให้ฟลายชี๊ตห่าง
    จากตัวเต็นท์ อย่างนี้จะทำให้อากาศถ่ายเทได้ดีครับ

    </TD><TD colSpan=7></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=15></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=649 colSpan=23>ข้อสุดท้ายต้องกางง่ายเก็บง่าย ย้ายง่าย ตัวเต็นท์นั้นควรกางได้โดยใช้สมอบกน้อยที่สุดหรือไม่ต้องใช้เลย เพราะบาง
    ครั้งเราอาจต้องกางเต็นท์นอนในพื้นที่ๆเป็นหินตอกสมอบกไม่ลง
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=8></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=354></TD><TD width=328 colSpan=4>[​IMG]</TD><TD colSpan=13></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=518 colSpan=16>เต็นท์รุ่นเสาเดี่ยวนี่น้ำหนักเบาและเท่ห์ครับ แต่ไปเจอพื้นที่ๆเป็นหิน คุณอาจจะต้องนอน
    เอามือถือเสาเต็นท์ไว้ตลอดคืน

    </TD><TD colSpan=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=23></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=647 colSpan=21>อีกข้อก็คือเต็นท์สมัยใหม่นี่เขาใช้ตะขอเกี่ยวเสาโดยไม่ต้องรอยเสาเข้ากับตัวผ้าเต็นท์แล้วครับ การรอยเสาและเก็บ
    เสานี่เสียเวลามากโดยเฉพาะเวลาที่เต็นท์เปียกน้ำจะทำยากทีเดียว นอกจากนี้การที่รอยเสาเข้ากับตัวเต็นท์ยังเป็น
    การทำให้อากาศไม่สามารถถ่ายเทได้อีกด้วย
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=300></TD><TD width=400 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4></TD><TD class=TextObject width=575 colSpan=18>การรอยเสาและเก็บเสานี่เสียเวลามากโดยเฉพาะเวลาที่เต็นท์เปียกน้ำจะทำยากทีเดียว
    </TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=300></TD><TD width=400 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=531 colSpan=17>สังเกตดูนะครับว่าเต็นท์นี้มีส่วนที่เป็นมุ้งน้อยมาก แถมยังรอยเสาเข้ากับตัวเต็นท์ ทำให้เป็นตัวกั้น
    ไม่ให้ลมพัดผ่านช่อง ระหว่างตัวเต็นท์กับฟลายชี๊ตอีก อย่างนี้อากาศไม่ถ่ายเทแน่
    </TD><TD colSpan=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=15></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=300></TD><TD width=400 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=481 colSpan=12>ตะขอเกี่ยวจะทำให้สะดวกและมีช่องว่าระหว่างเต็นท์กับฟลายชี๊ตทำให้อากาศถ่ายเทได้
    </TD><TD colSpan=8></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=649 colSpan=23>ว่ากันจริงแล้ว เต็นท์ที่มีขายกันอยู่ไม่ค่อยจะมีอันไหนถูกใจผมจริงๆ มานั่งคิดดูคงเป็นเพราะเต็นท์ที่มาจากเมืองนอก
    นั้นออกแบบมาเพื่อใช้กับภูมิอากาศของบ้านเขาเมืองท่านที่มักจะเป็นเมืองหนาวแต่ฝนไม่ค่อยตก แต่พอมาใช้กับบ้าน
    เราที่เป็นเมืองร้อน แต่ฝนชุกทำให้ค่อนข้างอึดอัดและมักจะน้ำรั่ว

    เต็นท์ที่ทำขายในบ้านเรา ก็คุณภาพใช้ได้ครับ แต่แบบนั้นก็ลอกเขามาทั้งดุ้นไม่ได้มีการประยุกต์ให้เข้ากับอากาศบ้าน
    เราเลย เท่าที่ใช้มามากมาย พบเต็นท์อยู่สองแบบสองรุ่นในบ้านเราที่มีคุณสมบัติถูกใจทั้งสามข้อที่ว่ามาแล้ว ผมไม่ได้
    หมายถึงว่าไม่มีรุ่นอื่นที่ดีนะ เพียงแต่บอกว่ายังไม่เคยเจอที่ดีครับ

    รุ่นแรกที่ถูกใจมากคือยี่ห้อ KARANA รุ่น TIMBER LITE 2 อันนี้เป็นเต็นท์ขนาดนอนสองคน ลองมาดูกันว่าดียังไง
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=300></TD><TD width=400 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=511 colSpan=14>ข้อแรกสังเกตดูนะครับ ว่าฟลายชี๊ตหรือว่าผ้าคลุม คลุมลงมาถึงชายเต็นท์ หมดโอกาสให้ฝนสาด
    </TD><TD colSpan=6></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=14></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=300></TD><TD width=400 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=600 colSpan=20>เนื้อผ้าฟลายชี๊ตดีมาก มีการเคลือบกันน้ำ จับดูจะรู้สึกได้ว่าผ้าด้านในจะเหมือนมียางบางๆ
    เคลือบอยู่ ที่ตะเข็บมีแถบพลาสติกซีลกันน้ำซึมมาตามด้ายเย็บ

    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=17></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=300></TD><TD width=400 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=600 colSpan=20>ข้อที่สอง ลองดูตัวเต็นท์ก่อนคลุมฟลายชี๊ต จะเห็นได้ว่าตัวเต็นท์ เป็นมุ้งโปร่งซะเป็นส่วนมาก
    ทำให้อากาศถ่ายเทได้ แถมมีประตูเข้าออกสองด้านทำให้สะดวกที่ท่านจะสามารถหนีออกไปเล่น
    กับเต็นท์อื่นได้โดยไม่ต้องปลุกคนข้างๆ

    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=300></TD><TD width=400 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=600 colSpan=20>ลองเทียบดู กับเต็นท์อีกรุ่นจากบริษัทเดียวกัน จะเห็นได้ว่า มีส่วนที่เป็นมุ้งโปร่งมีอยู่ข้างบนและ
    หน้าต่างเพียงนิดเดียว อย่างนี้นอนแล้วจะอึดอัดเพราะอากาศไม่ถ่ายเท

    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=27></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=300></TD><TD width=400 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=600 colSpan=20>กางง่ายครับไม่ต้องใช่สมอบกตัวเต็นท์ก็ตั้งได้ ตัวเต็นท์ยึดกับเสาโดยใช้ตะขอทั้งหมด
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=300></TD><TD width=400 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=600 colSpan=20>พอเปิดหน้าต่างที่ฟลายชี๊ต(มีหน้าต่างทั้งสองด้าน) ก็ทำให้ลมพัดผ่านได้ แม้ฝนจะตกก็เปิด
    หน้าต่างให้ลมผ่านได้โดยฝนไม่สาด เพราะหน้าต่างนี้อยู่ที่ฟลายชี๊ตห่างออกมาจากตัวเต็นท์

    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=606 colSpan=20>เท่าที่ตรวจสอบดู เต้นท์รุ่นนี้ยังผลิตขายอยู่ แต่มีการเปลี่ยนวัสดุที่ใช้ทำฟลายชี๊ตเป็นผ้าที่มีการเคลือบกันน้ำบางลง
    น่าจะพอกันน้ำได้แต่อาจไม่ดีเท่าเดิม แต่ก็ลดราคามาเหลือครึ่งหนึ่ง (จากสี่พันเหลือสองพันบาท)
    </TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=649 colSpan=23>อีกรุ่นเป็นเต็นท์นอนคนเดียว (หรือถ้าเป็นแฟนกันนอนสองคนก็จะได้ผลดี) ในบ้านเราลอกแบบเขามาทำขายใช้ชื่อ
    รุ่นว่า Wallus
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=300></TD><TD width=400 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=600 colSpan=20>วอลรัส เป็นเต็นท์สามเสา ตั้งได้ด้วยตัวเอง สังเกตดูจะเห็นว่าใช้ตะขอเกี่ยวเสาเต็นท์ทั้งหมด
    แลเสาเต็นท์จะค้ำให้ฟลายชี๊ตห่างออกไปเพื่อให้อากาศถ่ายเท

    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=17></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=300></TD><TD width=400 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=600 colSpan=20>ด้านข้างเป็นมุ้งโล่งโปร่งสบาย
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=18></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=258></TD><TD width=400 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3></TD><TD class=TextObject width=450 colSpan=10>พอคลุมฟลายชี๊ตแล้ว นอนสบายใจได้ไม่ต้องกลัวฝนสาด เพราะคลุมสนิทถึงพื้นเลย
    </TD><TD colSpan=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=649 colSpan=23>วอลรัสหลังที่ผมมีอยู่นี้เป็นเต็นท์ต้นแบบมาจากต่างประเทศที่เห็นเขากางโชว์อยู่ในร้าน คนขายเขาบอกว่าอันนี้มัน
    เก่าแล้ว เดี๋ยวจะเอาหลังใหม่ๆ(ของทำในบ้านเรา)ให้ผมก็ไม่เอา ว่าแล้วก็รีบคว้าของโชว์กลับบ้าน เพราะวัสดุดีกว่ากัน
    มาก ไม่ใช่ว่าจะว่าของบ้านเราไม่ดีนะ แต่เต็นท์บ้านเราส่วนมากพยายามลดต้นทุนให้เต็นท์ราคาถูกลง จะโทษคน
    ผลิตข้างเดียวก็คงไม่ได้ ต้องโทษคนซื้ออย่างพวกเราด้วยที่ไม่รู้จักเลือกใช้ของดีๆ ทำให้ของคุณภาพดีที่ราคาสูงขึ้น
    มานิดขายไม่ได้

    เต็นถูกๆชนิด 500-พันกว่าบาทหาดีๆได้ยาก เต็นท์ดีๆราคาไม่ถูก เพราะเขาต้องใช้วัสดุดีๆในการผลิต เวลาเลือกซื้อ
    เต็นท์ลองพิจารณาดูดีๆครับ เพิ่มเงินอีกนิดหน่อยจะได้ที่ของที่ดีกว่าและใช้ได้คุ้มกว่ามาก หวังว่าจากที่เขียนมาคง
    ช่วยชี้แนะได้บ้างนะครับ

    แถมให้นิดสำหรับสำหรับปูผ้ารองใต้เต็นท์ ผ้าพลาสติกที่ปูรองใต้เต็นท์จะช่วยกันความชื้นจากด้านล่างและช่วย
    ป้องกันไม่ให้เต็นท์เปื้อน

    ส่วนใหญ่แล้วเรามักจะซื้อผ้าพลาสติกผื้นใหญ่กว่าเต็นท์เพื่อให้วางของหรือเป็นที่นั่งคุยกันได้
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=300></TD><TD width=400 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=649 colSpan=23>แต่ขอแนะนำนิดหนึ่งว่า เวลาก่อนนอนให้เก็บชายผ้าที่เลยออกมาสอดเข้าไปใต้เต็นท์ให้หมด

    ทำไมหรือครับ? ก็เพราะว่าถ้าไม่เก็บ แล้วฝนตกลงมา น้ำจะขังอยู่บนผ้าพลาสติกแล้วไหลเข้าไปนองอยู่ใต้เต็นท์
    ทำให้เต็นท์คุณกลายสภาพเป็นบ่อปลา คุณจะเปียกจนนอนไม่ได้
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=13></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=300></TD><TD width=400 colSpan=9>[​IMG]</TD><TD colSpan=11></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=9></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD class=TextObject width=649 colSpan=23>ยกตัวอย่างมาแค่สองแบบสองรุ่น ไม่ใช่ว่ารุ่นอื่นๆใช้ไม่ได้ เพียงแต่ผมยังไม่เคยเจอรุ่นที่ประทับใจเท่าสองรุ่นนี้ ตัวผม
    เองก็ยังพยายามหาเต็นท์ที่นอนได้มากสัก สี่คนที่มีคุณสมบัติอย่างที่กล่าวมา แต่ก็ยังไม่เจอ ถ้าใครใช้รุ่นไหนแล้วคิดว่า
    ดีส่งประกวดได้นะครับ

    แค่นี้คงพอจะเป็นแนวทางนะครับ
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=24></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=8></TD><TD class=TextObject width=266 colSpan=10>เที่ยวกันให้สนุกนะครับ สวัสดีปีใหม่ทุกๆคน
    </TD><TD colSpan=5></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=23 height=15></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=9></TD><TD class=TextObject width=144 colSpan=5>ตาเกิ้น
    24 ธันวาคม 2547
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  13. หลับตา

    หลับตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    716
    ค่าพลัง:
    +3,151
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ที่ชาร์ตมือถือแบบพกพา
    ราคา 220 บาท[​IMG]
    [/FONT]​
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ที่ชาร์ตมือถือแบบพกพา ใช้ระบบมือหมุน เพื่อทำให้เกิดกระแสไฟ ขนาดเล็กขนาดอุ้มมือ สามารถชาร์ตได้ โนเกีย ซีเมน โมโตโรล่า ซัมซุง ใช้ได้ทุกสถานการณ์ ทั้งในป่า(ถ้ามีสัญญาณ) ในรถ (ตอนติดๆๆ แล้วแบตหมด)

    ราคาขาย 220 บาท (มาซื้อที่ร้าน)
    ถ้าส่งด้วยราคา 245 บาท
    [/FONT]

    -------------------------------------------------------
    ข้อมูลจาก http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/shopping/show.pl?P0078
     
  14. หลับตา

    หลับตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    716
    ค่าพลัง:
    +3,151
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ข้าวสำเร็จรูป ตราข้าวสุข
    ราคา 28 บาท[​IMG]
    [/FONT]​
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ผลิตภัณฑ์ "ข้าวสุข โดยปุ้มปุ้ย ปลายิ้ม" ผลิตจากข้าวสาร 100% เกรดเอ หุงสุขเรียบร้อย ราดหน้าด้วยกับข้าวปรุงสำเร็จ บรรจุกระป๋องขนาด 150 กรัม ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยระบบ steam pressure สามารถเก็บรักษาสภาพความสดใหม่ได้เป็นระยะเวลา 3 ปี โดยไม่มีสารกันบูดและไม่ต้องเก็บรักษาไว้ในตู้เย็น สามารถนำไปรับประทานในสถานที่ต่างๆ ได้สะดวกและที่สำคัญคือ มีรสชาดอร่อย อุดมด้วยคุณค่าทางอาหารครบถ้วนตามสูตรของตระกูลปลายิ้ม

    ผลิตภัณฑ์อาหารตรา "ข้าวสุข" มี 3 รสชาดด้วยกันคือ
    1. ข้าวสุข ราดหน้าผัดกะเพราปลาดซาดีนทอด (ข้าวสุข-ผัดกะเพรา)
    2. ข้าวสุข ราดหน้าผัดเผ็ดปลาซาดีนทอด (ข้าวสุข-ผัดเผ็ด)
    3. ข้าวสุข ราดหน้าหนำเลี้ยบปลาซาดีนทอด (ข้าวสุข-หนำเลี้ยบ)
    4. ข้าวสุข ราดหน้าผัดเขียวหวานปลาซาร์ดีนทอด(ข้าวสุข-ผัดเขียวหวาน)
    5. ข้าวสุข ราดหน้าปลาซาร์ดีนในซีอิ้วญี่ปุ่น
    6. ข้าวสุข ราดหน้าฉู่ฉี่ปลาซาร์ดีนทอด
    7. ข้าวสุข ราดหน้าปลาซาร์ดีนผัดกระเทียมพริกไทย

    มีจำหน่ายแล้วที่สำนักงาน TKT
    ราคาพิเศษสำหรับชาว TKT เพียง 28 บาท จากราคาปกติ 32 บาท

    สั่งซื้อผลิตภัณฑ์ ข้าวสุข+ อื่นๆ 1-10 ชิ้น จัดส่งถึงบ้านขอบวกค่าพัสดุ 30 บาท(ไม่เกิน 1กก.) และ 40 บาท(ไม่เกิน 2 กก.) นะครับ
    [/FONT]
    ---------------------------------------------------------------------
    http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/shopping/show.pl?P0164
     
  15. หลับตา

    หลับตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    716
    ค่าพลัง:
    +3,151
    <TABLE><TBODY><TR><TD width=40></TD><TD><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>
    <TD align=left>[​IMG] <TD vAlign=center>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width=30></TD><TD align=left>ตรงนี้รวบรวมกระทู้น่าสนใจไว้ให้นะครับ บางอย่างก็เก่าไปบ้าง แต่ส่วนใหญ่เป็นความรู้ที่ใช้ได้ตลอดไปครับ แต่ถ้าสงสัย และอยากรู้อีกหลายพันอย่าง ไปถามเพิ่มเติมได้เลยใน ...... กระดานข่าว อุปกรณ์เดินป่า และเทคนิค ของเทรคกิ้งไทยดอทคอม คลิกเลยครับ ...มีอีกหลายพันกระทู้ และมีคนใจดีช่วยตอบเยอะมากครับ รับรองท่านเข้าไปแล้วจะติดหนึบ เพราะรวมคนรู้ด้าน เดินป่า แค้มปิ้ง เอาไว้เยอะจริง ๆ นะ ..

    [​IMG]ร้านจำหน่ายอุปกรณ์เดินป่าของเราเอง :
    [​IMG]
    ร้าน TKT Adventure (ปีที่ 8) อยู่ติดสถานีรถไฟฟ้าสนามเป้า เดินทางสะดวก |


    [​IMG]หมวดการเลือกใช้ / แหล่งหาซื้ออุปกรณ์ แค้มปิ้ง :
    [​IMG]
    เช็คลิสต์อุปกรณ์ก่อนเดินทาง |
    [​IMG]
    จัดของไป ท่องป่าหน้าฝน |
    [​IMG]
    สิ่งของที่ควรมีอยู่ใน เป้ |
    [​IMG]
    วิธีไปซื้อของที่ ตลาดโรงเกลือ |
    [​IMG]
    ร้าน แดงรัสเซีย ที่จตุจักร |
    [​IMG]
    ชอปปิ้ง คลองถม สะพานเหล็ก |
    [​IMG]
    ร้าน TKT Adventure จำหน่ายอุปกรณ์เดินป่า|
    [​IMG]
    List ร้านอื่น ๆ เพื่อ ชอปปิ้ง อุปกรณ์เดินป่า แค้มปิ้ง ออนไลน์ |
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width=50></TD><TD align=left>[​IMG]รองเท้าเดินป่า / ถุงเท้า :
    [​IMG]
    ช่วยแนะนำ รองเท้า Sandal แบบดี ๆ ให้หน่อยสิครับ
    [​IMG]
    อยากได้ รองเท้าเดินป่า ดี ๆ สักคู่ไว้ใช้ |
    [​IMG]
    รองเท้าเดินป่า ครอบจักรวาล |
    [​IMG]
    กำจัดกลิ่นอับในรองเท้า |
    [​IMG]
    เท้านั้นสำคัญไฉน |
    [​IMG]
    วิธีทำให้รองเท้าแห้งเร็ว |
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width=50></TD><TD align=left>[​IMG]เป้ / ผ้าคลุม เป้ :
    [​IMG]
    คู่มือเลือก เป้ สัมภาระ |
    [​IMG]
    ซื้อ เป้ ยี่ห้อไหนดีหว่า |
    [​IMG]
    แหล่งซื้อ เป้ ค่ะ |
    [​IMG]
    ต้องการซื้อ เป้ ที่จตุจักร |
    [​IMG]
    อยากได้ เป้ เดินทางมือสอง |
    [​IMG]
    หาซื้อ ผ้าคลุมเป้ |
    [​IMG]
    ผ้าที่ใช้ในการทำ เป้
    [​IMG]
    เป้ ยี่ห้ออะไร คนใช้เยอะที่สุดครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width=50></TD><TD align=left>[​IMG]เครื่องแต่งกาย / เสื้อ / กางเกง / เสื้อกันฝน :
    [​IMG]
    แจ๊คเก็ตเดินป่าหน้าหนาว |
    [​IMG]
    กางเกงเดินป่า หน้าฝน |
    [​IMG]
    ถามเรื่อง ผ้าปันโจ ค่ะ |
    [​IMG]
    หมวกกันแมลง |
    [​IMG]
    อุปกรณ์สีแสบตา |
    [​IMG]
    กางเกงอเมริกัน ทรงรถถัง|
    [​IMG]
    เลือก เสื้อกันฝน แจ๋ว ๆ สักตัว|
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width=70></TD><TD align=left>[​IMG]เต้นท์ / อุปกรณ์ เต้นท์ ( เต็นท์ / เต๊นท์ ) :
    [​IMG]
    คู่มือเลือกเต็นท์ |
    [​IMG]
    ข้อมูลร้านที่รับซ่อม เต็นท์ |
    [​IMG]
    เต็นท์ รั่ว ซ่อมยังไงดี |
    [​IMG]
    วิธีกาง เต็นท์ หน้าฝน |
    [​IMG]
    กาง เต็นท์ หน้าฝนริมทะเล |
    [​IMG]
    มาออกแบบ+สร้าง เต็นท์ กันเถอะ |
    [​IMG]
    การเก็บ เต็นท์ สปริง |
    [​IMG]
    ทำยังไงถึงจะนอน เต็นท์ แล้วไม่ร้อน |
    [​IMG]
    แก้น้ำซึมตะเข็บ เต็นท์ ยังไงดี |
    [​IMG]
    วิธีการเก็บ เต็นท์ ให้ใช้ได้นานๆ |
    [​IMG]
    เลือกทำเลกาง เต็นท์ อย่างไรดี |
    [​IMG]
    ฟลายชีต เต็นท์ แบบคลุมหมด|
    [​IMG]
    Wave of Future Tents |
    [​IMG]
    Nylon 190T กับ 210T ต่างกันอย่างไร |
    [​IMG]
    เต็นท์ แบบซีลตะเข็บน้ำซึม
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width=70></TD><TD align=left>[​IMG]เปล / ฟลายชีต :
    [​IMG]
    เปลนอนตอน 1 |
    [​IMG]
    เปลนอนตอน 2 |
    [​IMG]
    เปลนอนตอน 3 |
    [​IMG]
    วิธีผูก เปล และกันน้ำไหลเข้าเปล |
    [​IMG]
    นอน เปล หน้าหนาว..บรื่อส์ |
    [​IMG]
    ผูก เปล นอนกลางสายฝน |
    [​IMG]
    เวลาผูก เปล นอนเอาของเก็บไว้ไหน
    [​IMG] Fly Sheet แบบชั่วคราว |
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG] ถุงนอน :
    [​IMG]
    คู่มือเลือก ถุงนอน |
    [​IMG]
    ถุงนอน นอก ตัวไหนเล็กสุด |
    [​IMG]
    ถุงนอน เกะกะในเป้ แก้ยังไงดี |
    [​IMG]
    แนะนำ ถุงนอน ไม่เกิน 1,000 บาทให้หน่อยค่ะ |
    [​IMG]
    เทคนิคสู้ความหนาวจัด |
    [​IMG]
    แก้หนาว ด้วยการอาบน้ำ |
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG] มีด /Multi Tools :
    [​IMG]
    มีด ที่คุณประทับใจ |
    [​IMG]
    มีด พับคู่ใจ #1 |
    [​IMG]
    ประวัติ มีด VictoriNox |
    [​IMG]
    แนะนำอุปกรณ์ของ VictoriNox |
    [​IMG]
    อุปกรณ์ใน มีด Victorinox ที่คุณใช้มากที่สุด|
    [​IMG]
    วิธีลับ มีด Victorinox |
    [​IMG]
    วิธีลับ มีด กรูข่า |
    [​IMG]
    วิธีการควง มีด แบบผีเสื้อ |
    [​IMG]
    โครงการทำ มีด อีเหน็บ TKT |
    [​IMG]
    มีด AITOR |
    [​IMG]
    เว็บขาย มีด เดินป่าค่ายพระรามหก |
    [​IMG]
    ลับ มีด แล่ Buck ให้คมได้อย่างไร |
    [​IMG]
    รูปแบบของ มีด สารพัดประโยชน์ในอนาคต
    [​IMG]
    มีใครเล่น มีด ดาบซามูไรบ้าง
    [​IMG]
    LeatherMan Juice นี่ดีไหมคะ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]เตา และ ตะเกียง :
    [​IMG]
    เตาน้ำมัน camping ของรัสเซีย |
    [​IMG]
    เตาน้ำมัน ทำเอง |
    [​IMG]
    เตาน้ำมัน แบบ Multi Fuel |
    [​IMG]
    White gas คืออะไร
    [​IMG]
    หาซื้อ White Gas จากที่ไหนได้บ้างครับ |
    [​IMG]
    หัวเตาแก๊ส แบบ 3 ขา |
    [​IMG]
    แก๊ส 250 กรัมใช้ได้นานกี่นาที |
    [​IMG]
    แก๊สกระป๋อง เติมได้หรือเปล่า ? |
    [​IMG]
    ตะเกียงแก๊ส ( ตะเกียงแกส ) ใช้ยังไงคะ |
    [​IMG]
    Lighting Box |
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]หม้อสนาม / ชุดทำครัว :
    [​IMG]
    การเลือกซื้อ หม้อสนาม | </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]เข็มทิศ :
    [​IMG]
    เข็มทิศ #1 |
    [​IMG]
    เข็มทิศ # 2 |
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]ไฟฉาย :
    [​IMG]
    โมดิฟาย ไฟฉาย เดินป่าด้วยตัวคุณเอง |
    [​IMG]
    ใครเคยใช้ Surefire บ้าง ดีหรือไม่ดีอย่างไร
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]กระติก / เครื่องกรองน้ำ :
    [​IMG]
    อุปกรณ์ทำให้น้ำสะอาด |
    [​IMG]
    อุปกรณ์บรรจุน้ำ |
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]นาฬิกา :
    [​IMG]
    นาฬิกา เพื่อการ เดินป่า | </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]อื่น ๆ :
    [​IMG]
    Ninja Grappling Hook | </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    --------------------------------------------------------
    http://www.trekkingthai.com/gear/gearinfo.htm
     
  16. หลับตา

    หลับตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    716
    ค่าพลัง:
    +3,151
    <TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD width=40><TD vAlign=top width=400><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>
    [​IMG]ข้อมูลให้คุณวางแผนไป เดินป่า ได้ดีขึ้น :
    [​IMG]
    รวมเทคนิค/เกร็ดการ เดินป่า |
    [​IMG] ภาพธรรมชาติ #1(108ภาพ) |
    [​IMG] วอลเปเปอร์แจกฟรี (8 ภาพ) |
    [​IMG] ธรรมชาติวิทยา น่ารู้ |
    [​IMG] รวมเว็บท่องเที่ยวทั่วโลก |
    [​IMG] ข้อมูลสำหรับดาวน์โหลด |
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>
    [​IMG]อาหารการกิน :
    [​IMG]
    การเตรียมอาหารการกิน |
    [​IMG] 108 ร้านอร่อยของอุทยานแห่งชาติ |
    [​IMG] 108 วิธีพกโปรตีนเข้าป่า |
    [​IMG] 108 วิธีหุงข้าว ในป่า |
    [​IMG] หุงข้าวด้วยหม้อสนามให้อร่อย |
    [​IMG] การใช้ หม้อสนาม
    [​IMG] 108 วิธีหาน้ำ ในป่า |
    [​IMG] 108 สูตรเด็ดบะหมี่ของแค้มป์คุณ |
    [​IMG] 108 สูตรเด็ดจากปลากระป๋อง |
    [​IMG]
    หาวิธีพกน้ำปลาเข้าป่า |
    [​IMG]
    108 ไอเดียการปรุงอาหารโดยใช้ปลาวง |
    [​IMG] Energy Bar ที่คุณชอบ|
    [​IMG] ไปแค้มปิ้งถ้าไม่ดื่มแอลกอฮอล์กันจะเป็นอย่างไรบ้าง|
    [​IMG] รับกาแฟแบบไหนดีคะ ? |
    [​IMG] การใช้แอลกอฮอล์แข็งหุงข้าว |
    [​IMG] ทำถั่วเขียวต้มน้ำตาลให้สุกไว ๆ |
    [​IMG] ป้องกันไข่แตก |
    [​IMG] [SIZE=2]หาน้ำดื่มจากเครือเถาน้ำ |[/SIZE]
    [IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][SIZE=2] [/SIZE][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]วิธีป้องกันหม้อ กระทะดำ |[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]วิธีทำแก้วน้ำพลาสติค |[/SIZE][/FONT][/COLOR]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG] [/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/tips10.htm"][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]ทำเตาจากกระถางต้นไม้ |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black][/COLOR]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>
    [​IMG]สุขภาพอนามัย :
    [​IMG]
    108 วิธี ป้องกันทาก |
    [​IMG] สรรพคุณของเสลดพังพอนและรางจืด |
    [​IMG] 108 วิธีช่วยคนเป็นลมในป่า |
    [​IMG] ปวดท้อง...ในป่า |
    [​IMG] วันนั้นของเดือน..จะจัดการอย่างไรเมื่อไปทะเล |
    [​IMG]
    ปัญหาของผู้หญิงเวลาเดินทาง
    [​IMG] พืชมีพิษในป่าเมืองไทย |
    [​IMG] ยาดีแก้เมื่อยหลังเดินป่า |
    [​IMG] น้ำหนักตัวมากไปเดินป่าได้หรือเปล่า |
    [​IMG] เล็บถอดเป็นอาจิณ |
    [​IMG] หนามยอกเล็บ |
    [​IMG] ประกันอุบัติเหตุในการเดินทาง |
    [​IMG] เข้าป่าควรมีอาวุธป้องกันตัวหรือไม่ |
    [​IMG] เมื่อโดนงูกัด |
    [​IMG] เรื่องของสลัดได.. |
    [​IMG] ทำอย่างไรเมื่อเผลอกินเห็ดเมาเข้าไป.. |
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top><TABLE width="100%"><TBODY><TR><TD align=left>
    [​IMG]สารพันคำถามป่า / เทคนิคแคมป์ / แค้มปิ้ง อื่น ๆ :
    [​IMG]
    ป่าต้นน้ำ ป่าของคนทุกชนชั้น |
    [​IMG] เพื่อนร่วมโลกชื่อธรรมชาติ |
    [​IMG] ไม่มีอุปกรณ์จุดไฟ,หลงป่าไม่มีเข็มทิศ,กลัวทาก|
    [​IMG] การแกะรอย|
    [​IMG] 108 วิธีใช้ประโยชน์จากขวดน้ำโพลาริส |
    [​IMG] 108 วิธีก่อไฟกลางสายฝน |
    [​IMG] 108 ประโยชน์จากไม้ไผ่ |
    [​IMG] 108 กลยุทธ์ เดินอย่างไรให้ลืมเหนื่อย |
    [​IMG] เคยหลงป่ากันบ้างไหมครับ|
    [​IMG] ถ้าหลงป่าจะทำยังไงดี |
    [​IMG] วิธีติดตามช่วยเหลือคนหลงป่า |
    [​IMG] เลือกได้แค่ 3 อย่าง |
    [​IMG] อยู่ในป่ากันได้นานเท่าไหร่ |
    [​IMG] อยู่ในป่าลึกกลัวอะไรมากที่สุด |
    [​IMG] เป็นผู้หญิงเที่ยวคนเดียวยังไงถึงจะปลอดภัย |
    [​IMG] สงสัยว่าเวลาผู้หญิงไปแค้มปิ้งเนี่ย มันยุ่งยากกว่าผู้ชายหรือเปล่า... |
    [​IMG] เมื่อปวดปัสสาวะแต่ไม่อยากออกจากเต็นท์ |
    [​IMG] [SIZE=2]มือถืออะไรใช้ได้ทุกป่าเขา |[/SIZE]
    [IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][SIZE=2] [/SIZE][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]แฟนพันธุ์แท้เพชรพระอุมา |[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]ดูฟ้า ดูดาว ไม่เหงาหัวใจ#1 |[/SIZE][/FONT][/COLOR]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=0097"][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]ดูฟ้า ดูดาว ไม่เหงาหัวใจ#2 |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=0826"][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]หาหนังสือดูดาว |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=0069"][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]ชวนไปได้แค่ 3 คน |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=0101"][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]อยากพาน้องหมาไปเที่ยวด้วย |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=0263"][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]เรื่องประหลาด ๆ ในป่า |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=0548"][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]Top 10 ของยอดเขาสูงเมืองไทย |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=0539"][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]มารยาทแคมปิ้ง |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=0721"][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]ทริปไหนโหดสุด |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=0645"][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]ทะเลหมอกที่ไหนประทับใจที่สุด |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=0892"][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]คุณจะเดินป่าไปถึงอายุเท่าไหร่ ? |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=0910"][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]ถ้าคนที่คุณรักต้องตายในวันพรุ่งนี้ คุณจะเลือกไปไหนกับคุณ |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=0894"][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]น้ำหนักตัวมากเป็นอุปสรรคต่อการเดินป่าหรือไม่ |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=0898"][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]ขี่รถเครื่องไปเที่ยวไกล ๆ |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=1302"][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]กล้อง SLR ที่เหมาะกับการถ่ายรูปตอนท่องเที่ยว |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=0844"][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]จะเลือกเดินป่าในแบบไหนดี |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=0740"][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2] [/SIZE][/FONT][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]สิ่งที่ไม่ควรทำ เมื่อคุณไปเดินป่า |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG] [/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=0839"][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]แนะนำท่านที่อยากเป็นหัวหน้าทริป |[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=1427"][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]จำนวนครั้ง (เงิน เวลา กับ trekking)[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG] [/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=1441"][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]ค้างคืนในป่า เคยถูกผีหลอกบ้างไหม[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black]
    [FONT=MS Sans Serif][SIZE=2][IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=1467"][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]สุนัขเดินป่า[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]
    [IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=1502"][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]ซื้อแผนที่ทหารได้ที่ไหนบ้าง[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]
    [IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=1488"][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]กลางวันทากชุม กลางคืนผีชุม[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]
    [IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=1493"][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]ค่ำคืนอันแสนสุข[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]
    [IMG]http://www.trekkingthai.com/pic/sq3.gif[/IMG][/SIZE][/FONT][URL="http://www.trekkingthai.com/cgi-bin/webboard/generate.pl?board=travel&content=1471"][COLOR=black][FONT=MS Sans Serif][SIZE=2]มีเงิน 600 บาทไปไหนได้มั่งค่ะ[/SIZE][/FONT][/COLOR][/URL][COLOR=black][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR][/COLOR]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  17. หลับตา

    หลับตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    716
    ค่าพลัง:
    +3,151
    มีดอีเหน็บ มีดไทยพันธุ์แท้


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=649 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=224 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=212>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=425 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=9 height=20>[​IMG]</TD><TD width=416>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=416>อารัมภบท
    ถ้ากล่าวถึงเรื่องมีด หลายๆประเทศมักมีมีดเป็นเอกลักษณ์ของ
    ตนเองที่ชนชาวพื้นเมืองใช้สอยกันหรือนิยมใช้เป็นประจำ เช่น
    มีดกรูข่า ที่ใช้ในประเทศอินเดีย กริชของประเทศอินโดนีเซีย หรือ
    มีดตระกูลโบวี ที่ใช้ในประเทศทางตะวันตก สำหรับประเทศไทยมีด
    ที่เป็นเอกลักษณ์คงหนีไม่พ้น มีดเหน็บ อีเหน็บ หรือ มีดปาดตาล
    ที่ไม่มีของประเทศใดเหมือน เป็นเอกลักษณ์ที่ลงตัวและใช้ประโยชน์
    ได้สูงสุดในการพกพาหรือนำติดตัวไปต่างแดนหรือเข้ารกเข้าพง การ
    ออกแบบรูปทรงมีดอาจจะแตกต่างกันบ้าง ก็เป็นเพียงรูปลักษณ์ที่
    ช่างแต่ละคนจะสร้างสรรค์ขึ้นมา เพื่อจุดประสงค์ที่แตกต่างกันออกไป
    แต่ยังคงเอกลักษณ์ของภูมิปัญญาชาวบ้านที่ตัวมีดตีขึ้นจากเหล็กกล้า
    ผ่านกระบวนการตีจนได้รูปมีดที่สวยงาม ปลายแหลมต่ำลงเล็กน้อย
    ตรงกลางของมีดป่องออกแล้วไปคอดกิ่วตรงด้าม กั่นของมีดเรียวเล็ก
    ยาวพอประมาณเพื่อเป็นแกนต่อกับด้ามมีด มองโดยรวมก็สามารถ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=649 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=8 height=6>[​IMG]</TD><TD width=641>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=641>บอกได้ถึงขุมพลังที่ซ้อนอยู่ภายใน ที่สามารถแล่ ฟัน แทง รวมไว้ในมีดเหน็บเพียงเล่มเดียว ซึ่งต่างจากมีดของ
    ประเทศอื่นๆ ที่มีคุณสมบัติในการใช้งานเพียงหนึ่งหรือสองอย่างเท่านั้น การชุบแข็งของช่างชาวบ้านสามารถชุบ
    แข็งที่แกนกลางของมีดแต่ผิวมีความแข็งน้อย ทำให้มีดมีความคงทนต่อการใช้งานหนัก เนื่องจากเหล็กในส่วนที่
    แข็งเปราะถูกหุ้มด้วยเหล็กที่อ่อนเหนียว ในขณะเดียวกันก็สามารถลับคมง่าย กล่าวได้ว่ามีดที่ผลิตจากเครื่องจักร
    สมัยใหม่ทำได้ยาก ทรงของมีดในแต่ละท้องถิ่นก็เรียกแตกต่างกันไป เช่น ทรงปลาตะเพียน ทรงกรีกุ้ง ทรงปลา
    หมอโค้ ทรงปลากัด ฯลฯ ขึ้นอยู่กับชาวบ้านจะมีมุมมองรูปทรงของมีดให้เหมือนอะไรเพื่อสื่อความหมายระหว่าง
    ช่างตีมีดกับผู้ใช้งาน
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=424 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=124 height=5>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=225></TD><TD width=300>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=649 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=8 height=4>[​IMG]</TD><TD width=641>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=641>ในปัจจุบันกระแสแห่งโลกาภิวัตน์ ค่านิยมของความเป็นตะวันตกกำลังรุ่งเรือง ทำให้มีดเหน็บของไทยด้อยโอกาส
    ในการใช้งาน อีกทั้งช่างตีมีดในปัจจุบันเริ่มล้มหายตายจากไป ช่างตีมีดที่เกิดขึ้นใหม่ก็มักลืมนึกถึงคุณค่าของ
    ความเป็นเอกลักษณ์ไทย ทำให้มีดเหน็บที่มีออกสู่ท้องตลาดมีดมักเป็นมีดที่เน้นกำไรเพื่อความอยู่รอดในอาชีพ
    และมักขาดคุณภาพของความเป็นมีดที่ดี คือหุ่นสวยประณีต คมนาน ลับคมง่าย คงทนในการใช้งาน คุณสมบัติที่
    ขาดไปส่วนใหญ่คือความคมนานลับคมง่ายและความคงทนในการใช้งานของมีด ปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากการลด
    ต้นทุนในการผลิต หรือเกิดจากช่างขาดความรู้ในการชุบคมมีด ทำให้มีดขาดความคม หรือลับคมเท่าไหร่ก็คมไม่
    สนิท ใช้งานเพียงเล็กน้อยความคมก็หายไป เป็นปัญหาที่เกิดจากช่างไม่ได้ทำการชุบแข็งหรือชุบแข็งเพียงเล็กน้อย
    และอาจเกิดจากการใช้เหล็กที่มีคาร์บอนต่ำเนื่องจากมีราคาถูก บางเล่มลับคมยากบ่งบอกถึงความแข็งของมีดแต่
    ลับเท่าไหร่ก็ไม่คม เกิดจากช่างขาดความเข้าใจในการชุบคมมีดทำให้มีดมีความแข็งเฉพาะผิว แกนกลางของมีดยัง
    ไม่ได้ผ่านการชุบแข็งลับเท่าไหร่ก็ไม่คม ใช้งานเล็กน้อยความคมก็หายไปต้องลับคมใหม่ สิ่งที่เกิดขึ้นคือความมักง่าย
    ในการทำมีดของช่างสมัยใหม่ ช่างมีดในปัจจุบันนี้เขาไม่ตีมีดกันแล้ว หากตีก็เพียงเล็กน้อย แล้วนำมาแต่งคมขึ้นรูป
    ชุบอีกนิดหน่อย ใส่ด้าม ขัดเงาลงน้ำมัน เท่านั้น มีดที่ออกมาจึงเป็นมีดเหล็กแต่งคมแล้วชุบ ไม่ใช่มีดตี ที่มีการตี
    ให้เหล็กมีความแน่นตัว แกร่ง และ เหนียวขึ้นเนื่องจากการเรียงอณูของเหล็กใหม่
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=587 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=68 height=4>[​IMG]</TD><TD width=18>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=201>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=225></TD><TD width=300>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=519 colSpan=3>การตีมีดแบบดั่งเดิมเป็นภูมิปัญญาไทยที่สะสมกันมาหลายชั่วอายุคน
    แต่ก็เป็นงานหนักที่มีค่าตอบแทนไม่สูง ทำให้ภูมิปัญญานี้เริ่มจะสูญหายไปตามกาลเวลา

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=656 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=15 height=11>[​IMG]</TD><TD width=641>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=641>การชุบในปัจจุบันก็ชุบครั้งละหลายเล่มในเตาอบที่ควบคุมความร้อนได้ ทำให้มีดมีความแข็งเท่ากันทั้งเล่ม มีดที่
    ออกมาจะเห็นได้ว่าใช้งานได้ไม่นาน หักและบิ่นหรือบิดงอได้ง่าย ทำให้คุณค่าของมีดเหน็บลดลง คนส่วนใหญ่
    จึงมองหามีดใช้งานของต่างประเทศที่มีรูปสวยแต่ใช้งานได้ไม่ดี ทำให้เกิดคำถามขึ้นในใจของผู้เขียนว่า ทำไม
    เราไม่สร้างสรรค์มีดที่มีคุณภาพและให้ทั่วโลกรู้ว่ามีดเหน็บไทย เป็นมีดที่มีเอกลักษณ์ควรค่าต่อการใช้งานและ
    เก็บสะสม แต่เหนือสิ่งอื่นใดคือการได้บอกเล่าตำนานการตีมีดเหน็บ ให้คนไทยด้วยกันรับรู้ถึงภูมิปัญญาที่สั่งสม
    กันมานานของบรรพบุรุษ ที่ผู้เขียนได้คลุกคลี่มาตั้งแต่เด็ก และได้เห็นผู้เป็นพ่อและพี่ชายยกค้อนขึ้นตีเหล็กครั้ง
    แล้วครั้งเล่าไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย รวมถึงผู้เขียนเองเคยได้สัมผัสความเป็นช่างตีมีด แม้จะเป็นช่วงเวลาสั้นๆ แต่
    ก็สามารถทำให้ผู้เขียนมีความรู้ความเข้าใจพอสมควร แม้จะเข้าใจได้ไม่เท่าผู้เป็นพ่อที่เสียชีวิตไปแล้ว ที่มีความรู้
    และเข้าใจถึงวิธีการตี การชุบแข็ง การใส่ด้ามการทำฝัก ได้ทั้งหมด ซึ่งเป็นวิธีการที่บรรพบุรุษได้ถ่ายทอดสืบต่อ
    กันมาหลายชั่วอายุคน ในที่นี้ผู้เขียนจะกล่าวถึง
    วิธีการที่ได้เรียนรู้มาจากผู้เป็นพ่อ ซึ่งอาจไม่เหมือนช่างมีดอื่นๆ ให้ผู้อ่านได้รับรู้ถึงความเป็นเอกลักษณ์ของภูมิ
    ปัญญาชาวบ้านที่น่าภาคภูมิใจอย่างยิ่ง
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=649 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=8 height=10>[​IMG]</TD><TD width=641>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=641>รูปทรงที่แฝงพลังแห่งความหลากหลายในการใช้งาน

    ย้อนไปในอดีตที่ผู้เขียนยังเป็นเด็ก เรามักจะเห็นภาพที่คุ้นตาคือ ผู้ชายมักจะมีมีดฝักไม้เหน็บอยู่ที่เอวเสมอ
    มีดเหน็บ เป็นชื่อที่เรียกขานกันมาตั้งแต่สมัยใดผู้เขียนไม่สามารถบอกได้ ผู้ชายไทยในอดีตใช้มีดเหน็บนี้บุกป่า
    ฝ่าดง เพื่อการดำรงชีพ หรือแม้แต่กระทั้งการสงคราม ใช้งานกันตั้งแต่งานเล็กน้อย เช่นจักตอก แล่เนื้อ ไป
    จนถึง ตัดต้นไม้ หากเราหันกลับมาพิจารณารูปทรงของมีดเหน็บ จะพบว่าสามารถแบ่งส่วนการใช้งานของตัว
    มีดได้เป็นส่วนๆได้ คือ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=458 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=8 height=5>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=175></TD><TD width=450>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=638 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=3 height=9>[​IMG]</TD><TD width=635>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=635>ส่วนปลาย เป็นส่วนที่แหลมที่สุด มีไว้ใช้ในการแทง มีดที่ใช้สำหรับฆ่าสัตว์ในอดีตก็ใช้มีดเหน็บนี้แทงคอสัตว์
    ญาติคนงานตีเหล็กของผู้เขียนเคยโดนมีดเหน็บแทง บาดแผลที่เกิดขึ้นยาวตั้งแต่ท้องไปจนเกือบถึงคอ กระดูก
    หน้าอกแตกออก นี้คือพลังของความชำนาญในการใช้มีดเหน็บ และพลังของรูปทรงมีดที่ออกแบบให้มีความ
    สามารถแทงได้อย่างดี
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=374 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=124 height=7>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=187></TD><TD width=250>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=649 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=205 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=7 height=22>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=300></TD><TD width=198>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=444 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=4 height=36>[​IMG]</TD><TD width=440>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=440>ส่วนหน้า คือส่วนโค้งตั้งแต่ท้องมีดที่กว้างที่สุดไปจนถึงปลายมีด เป็น
    ส่วนที่ใช้แล่เนื้อได้เป็นอย่างดี เทียบได้กับมีดแล่เนื้อตามตลาดสดทั่วไป
    คมมีดในส่วนนี้ช่างตีมีดจะตีให้บางและชุบให้แข็งกว่าส่วนอื่นๆ ผู้เขียน
    เคยเห็นคนอุบลราชธานีแล่วัวทั้งตัวโดยไม่ใช้มีดอื่นเลย สามารถเลาะ
    กระดูกได้ทุกชิ้น และยังสามารถสับกระดูกที่เป็นชิ้นใหญ่ๆได้ดี และใน
    ส่วนนี้หากวางมีดบนฝ่ามือหันด้านคมไว้ทางนิ้วโป้งมือยังสามารถใช้จักตอก
    เหลาไม้
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=674 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=11 height=17>[​IMG]</TD><TD width=663>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=663>ส่วนท้อง เป็นส่วนที่กว้างที่สุดของมีด หากจับด้ามมีดให้อยู่ในแนวระนาบจะเห็นว่าส่วนนี้จะต่ำที่สุด น้ำหนัก
    ของมีดส่วนใหญ่จะอยู่ในบริเวณนี้ ทำให้เหมาะสำหรับในการฟันเช่นเดียวกับขวาน เพียงแต่มีคมบางกว่า ทำ
    ให้เหมาะสำหรับสับและหั่นได้ดีอีกด้วย คมมีดในส่วนนี้จะหนาและตูมกว่าส่วนหน้า การชุบจะแข็งน้อยกว่า
    ส่วนหน้าเล็กน้อย ทำให้มีความแข็งเปราะน้อยลง เพื่อความคงทนในการใช้งาน
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=674 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=11 height=7>[​IMG]</TD><TD width=129>[​IMG]</TD><TD width=4>[​IMG]</TD><TD width=276>[​IMG]</TD><TD width=4>[​IMG]</TD><TD width=250>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=210></TD><TD width=280 colSpan=2>[​IMG]</TD><TD colSpan=2></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=18></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=663 colSpan=5>ส่วนเอว หรือส่วนโคนของมีดจะอยู่ถัดมาจากส่วนท้องมีดจนถึงด้าม ส่วนนี้จะเป็นส่วนที่มีคมหนาที่สุดและมีการ
    ชุบแข็งน้อยที่สุดด้วย เพื่อป้องกันการหักในบริเวณนี้เนื่องจากเป็นส่วนที่แคบที่สุดอีกด้วย โคนมีดเหมาะสำหรับ
    สับของที่มีความแข็ง เพื่อให้แตกออกได้ง่ายเช่น ผ่าไม้ ผ่ากะลามะพร้าว ฟันลวด หรือตะปู เป็นต้น
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=6 height=10></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=210></TD><TD width=280 colSpan=2>[​IMG]</TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=680 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=14 height=9>[​IMG]</TD><TD width=666>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=666>ส่วนกั่น เป็นส่วนที่อยู่ในด้ามมีด เพื่อยึดต่อกับด้าม มีขนาดเล็กกว่าส่วนเอวเข้ามาข้างละเท่าๆกัน แล้วเรียวเล็กลง
    ไปยาวประมาณ 4-5 นิ้ว จะเป็นส่วนที่ไม่ได้ผ่านการชุบแข็ง เพื่อป้องกันการหักของกั่น เอกลักษณ์ของมีดเหน็บใน
    ส่วนนี้ในปัจจุบันได้กลายเป็นด้ามไม้ประกบ เพราะขาดความเข้าใจและเพื่อง่ายในการใส่ด้าม ถ้าเราหลงป่าปืนก็
    ไม่มีลูก เหลือเพียงมีดเหน็บเล่มเดียวจะล่าสัตว์ได้อย่างไร คนโบราณเขาถอดด้ามมีดออกแล้ว ตัดไม้ไผ่ยาว
    ประมาณเมตรเศษ แล้วใส่มีดทางด้านโคนไม้ไผ่กลายเป็นหอกมีดเหน็บ ใช้แทนหอกได้ดี หากเป็นด้ามมีด
    ประกบจะต่อด้ามให้แข็งแรงได้อย่างไร
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=631 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=306 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=3>[​IMG]</TD><TD width=7>[​IMG]</TD><TD width=272>[​IMG]</TD><TD width=3>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=129></TD><TD width=279 colSpan=2>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=3></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=275 colSpan=2>กั่นแบบดั้งเดิมซึ่งเน้นประโยชน์หลากหลายในด้าน
    การใช้งาน

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=325 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=20 height=5>[​IMG]</TD><TD width=5>[​IMG]</TD><TD width=275>[​IMG]</TD><TD width=25>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=96></TD><TD width=280 colSpan=2>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=300 colSpan=2>มีดเหน็บที่ทำกั่นแบบประกบข้าง มีข้อดี ในเรื่อง
    ความแข็งแรงแต่จะทำให้มีดเสียสมดุลย์และขาด
    อรรถประโยชน์

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=680 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=11 height=11>[​IMG]</TD><TD width=669>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=669>ด้ามมีด โดยทั่วไปจะเป็นไม้เนื้ออ่อนเพื่อเวลาฟันแรงๆ จะไม่สะท้านมือ ที่ระหว่างตัวมีดกับด้ามจะมีปลอกโลหะ
    กว้างประมาณ 1 นิ้ว รัดไว้ทำให้มีความแข็งแรงไม่หลุดและแตกง่าย ไม้ที่นิยมใช้คือ ไม้ไผ่ เป็นไม้ที่ทำด้ามมีด
    เหน็บง่ายที่สุดและดีที่สุดอีกด้วย เนื่องจากไม้ไผ่มีเสี้ยนตรงง่ายต่อการเหลา มีรูตรงกลางทำให้ไม่ต้องใช้สว่างใน
    การเจาะรูเพื่อใส่กั่น และมีข้อที่แข็งทำให้ไม่แตกง่าย การใส่ด้ามของคนโบราณเขาจะเอากั่นเผาไฟให้เหล็กแดง
    แล้วใส่เข้าไปในด้ามไม้ที่มีรูอยู่แล้ว จับใบมีดตั้งขึ้นแล้วกระแทกลงกับพื้น หากยังไม่ลึกพอก็จะทำซ้ำอีกจนโคนมีด
    เกือบติดกับด้าม แล้วจับมีดพร้อมด้ามจุ่มน้ำ ดันมีดและตัวมีดไว้จนเย็น ความร้อนจะดันตัวมีดเคลื่อนออกมา
    เล็กน้อย จับกระแทกจนแน่นสนิท การใส่ด้ามวิธีนี้ด้ามจะไม่หลุดง่าย หากจะถอดออกก็เพียงหาไม้เคาะที่ด้าม
    สวนกลับมาในแนวของใบมีดด้ามก็จะหลุดออกได้ง่ายเช่นกัน
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=399 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=99 height=175>[​IMG]</TD><TD width=300>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=512 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=162>[​IMG]</TD><TD class=TextObject width=350>ด้ามมีดเหน็บที่ทำจากไม้ไผ่
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=554 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=257 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=5>[​IMG]</TD><TD width=16>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=8>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2 height=223></TD><TD width=209>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=233 colSpan=3>ในรูของด้ามมีดอาจจะใส่ครั่งเข้าไป ไม่มีจริงๆ
    เศษถุงพลาสติกก็ใช้ได้
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=297 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=17 height=5>[​IMG]</TD><TD width=14>[​IMG]</TD><TD width=250>[​IMG]</TD><TD width=16>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=232></TD><TD width=280 colSpan=3>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=250>เผากั่นมีดให้ร้อน
    </TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=474 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=249 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=24 height=6>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=1>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=280></TD><TD width=224>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=4></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=225 colSpan=2>แล้วเอากั่นร้อนๆตอกลงไปในด้ามมีด
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=225 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=25 height=6>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=12>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=280></TD><TD width=188>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=200 colSpan=2>แช่น้ำให้เย็น ด้ามมีดจะแน่นสนิท
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=404 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=124 height=8>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=226></TD><TD width=280>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=403 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=128 height=1>[​IMG]</TD><TD width=275>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=275>ถ้าจะถอดด้ามก็ใช้ไม้ตอกออกได้
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=688 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=10 height=12>[​IMG]</TD><TD width=678>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=678>ฝักมีด ฝักมีดเหน็บจะมีความกว้างกว่ามีดอื่นๆ และใช้วัสดุแตกต่างกันไปตามความนิยมของท้องถิ่น เช่นไม้สัก
    ไม้มะค่าโมง ไม้ประดู่ ไม้ไผ่สานเป็นตะกร้อ เขาควาย ฯลฯ ในปัจจุบันนี้หาช่างทำยากมาก ส่วนใหญ่เดียวนี้เขา
    ใช้ หนังวัวฟอกฝาด หนังเทียม หรือใช้ท่อพีวีซี แล้วแต่คนประดิษฐ์ (รูปฝักมีดลักษณะต่างๆ)
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=599 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=308 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=8 height=12>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=145></TD><TD width=300>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=291 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=9 height=87>[​IMG]</TD><TD width=282>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=282>ฝักมีดเหน็บที่ทำจากไม้จริง ปัจจุบันหาคนทำได้
    ยากขึ้นทุกที

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=595 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=309 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=9 height=15>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=156></TD><TD width=300>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=286 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=11 height=37>[​IMG]</TD><TD width=275>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=275>ฝักมีดเหน็บแบบตะกร้อที่สานจากไม้ไผ่
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=506 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=310 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=10 height=9>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=222></TD><TD width=300>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=196 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=4 height=71>[​IMG]</TD><TD width=192>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=192>ซองมีดเหน็บแบบเย็บจากหนัง
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=485 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=218 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=13 height=15>[​IMG]</TD><TD width=1>[​IMG]</TD><TD width=197>[​IMG]</TD><TD width=7>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=300></TD><TD width=198 colSpan=2>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=4 height=1></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2></TD><TD class=TextObject width=204 colSpan=2>อันนี้เป็นซองไม้หุ้มหนังแบบซีทรู
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=267 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=31 height=15>[​IMG]</TD><TD></TD><TD width=25>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD height=280></TD><TD width=211>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=3 height=8></TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=236 colSpan=2>พ่อหนุ่มคนนี้ใช้ท่อพีวีซีเลย
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=683 border=0 NOF="LY"><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD width=9 height=23>[​IMG]</TD><TD width=674>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD></TD><TD class=TextObject width=674>สรุป จะเห็นได้ว่าทุกส่วนเป็นสิ่งที่บรรพบุรุษของเราสร้างสรรค์ด้วยความชาญฉลาด ด้วยภูมิปัญญาที่คิดค้นรูปทรง
    ของมีดที่ใช้งานได้หลากหลาย ยากที่ทรงมีดหลายๆแบบจะทำได้ ผู้เขียนมีความคิดว่ารัฐบาลควรจะจดสิทธิบัตรไว้
    เพื่อป้องกันไม่ให้ฝรั่งแอบอ้างเอาภูมิปัญญาของไทยไปหากิน เช่นเดียวกับหลายสิ่งหลายอย่างที่เราเสียไปและต้อง
    มานั่งประท้วงฝรั่งกันอีก
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  18. MOUNTAIN

    MOUNTAIN เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    15,035
    ค่าพลัง:
    +132,081
    สารพัดเครื่องมือจิ๋ว เสกไฟฟ้าจากดวงอาทิตย์



    จากการสำรวจของสำนักงานอวกาศสหรัฐ (นาซ่า) พบว่า ทุกวันนี้ในแต่ละวัน มนุษย์นำพลังงานจากแสงอาทิตย์มาใช้ประโยชน์เพียง 1 จาก 10,000 ส่วน

    แผงเซลล์สุริยะ หรือ อุปกรณ์ผลิตกระแสไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ที่เราคุ้นตา ส่วนใหญ่จะมาในรูปของแผงเซลล์สุริยะที่ติดตั้งอยู่ตามหลังคาบ้าน หรือ ฟาร์มเซลล์สุริยะ ซึ่งยังคงมีต้นทุนการผลิตสูงอยู่ แม้รัฐบาลบางประเทศจะให้การสนับสนุนด้านเงินทุนก็ตาม

    บริษัทเอกชนบางแห่งจึงมองว่า การพัฒนา "เครื่องจ่ายพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ราคาถูก" ซึ่งสามารถใช้ประจุ หรือ ชาร์จไฟให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กที่เราใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น มือถือ เครื่องเล่นเพลงดิจิตอล ไปจนถึงเสาไฟและเตาอบ อาจเป็นทางออกที่ดีเพื่อช่วยลดและทดแทนการใช้ไฟฟ้ารูปแบบปกติ ส่วนจะออกมาในรูปแบบของสินค้าประเภทไหนกันบ้าง เชิญชมได้ตามอัธยาศรัย



    มืดปุ๊ป-สว่างปั๊ป



    [​IMG]
    สำหรับคนที่อยากปรหยัดไฟในสวน ไฟหน้าบ้าน หรือไฟตามทางเดินในบ้าน

    บริษัทซิลิคอน โซลาร์ พัฒนาชุดอุปกรณ์ "สวนแสงอาทิตย์" โดยตรงหัวเสาที่ติดตั้งอยู่ตามจุดต่างๆ ภายนอกที่พัก จะมีตัวรับและแปลงแสงอาทิตย์ในตอนเช้าจนถึงเย็นให้เป็นไฟฟ้า แล้วเก็บไว้ในแบตเตอรี่ด้านใน

    เมื่อถึงตอนค่ำมืดดึกดื่น ระบบก็จะดึงไฟจากแบตเตอรี่มาเปิดหลอดไฟแอลอีดีในเสาแต่ละต้นให้ส่องสว่าง ราคาชุดละ 15.95 ดอลลาร์ (630 บาท)





    ชุดเรียก"ไฟ"



    [​IMG]
    สิ่งประดิษฐ์ชิ้นนี้มีกลไกการทำงานง่ายๆ แต่บางครั้งคนอาจมองข้ามไป

    เป็นชุดอุปกรณ์สำหรับสปาร์ก หรือ จุดประกายไฟ เรียกว่า "โซลาร์ สปาร์ก ไลท์เตอร์" ราคา 11.95 ดอลลาร์ (495 บาท)

    มีลักษณะเป็นรูปทรงพาราโบลา สะท้อนแสงอาทิตย์และความร้อนให้มารวมอยู่ตรงตัวจุดชนวนและจะสปาร์กประกายไฟเมื่อความร้อนถึงระดับที่เหมาะสม ผลิตโดยบริษัทซันแดนซ์ โซลาร์




    เซลล์สุริยะพับได้



    [​IMG]
    อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดใหญ่ กินไฟมากๆ อย่างเช่น คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก หรือ กล้องถ่ายวิดีโอระบบดิจิตอล ต้องการกำลังไฟที่มากเป็นพิเศษ

    ดังนั้น ตัวชาร์จไฟย่อมต้องจ่ายไฟฟ้าได้มากตามไปด้วย

    บริษัทบรุนตัน คิดค้นแผ่นฟิล์มเซลล์สุริยะแบบพับและพกพาได้ รุ่น "โซลาริส 26" ราคา 399 ดอลลาร์ (15,960 บาท)

    โซลาริส 26 เมื่อกางออกมาแล้วมีขนาด 11 x 8.5 นิ้ว หนา 1 นิ้ว สามารถจ่ายไฟสูงสุดถึง 26 วัตต์




    ปลั๊กไฟดวงอาทิตย์



    [​IMG]
    บริษัทโซลิโอ มีคำขวัญว่า "เสียบปลั๊กดวงอาทิตย์" และผลิตอุปกรณ์ผลิตกระแสไฟฟ้าจากแสงอาทิต์มากมายหลายชนิด

    หนึ่งในนั้นก็คือ "โซลิโอ ยูนิเวอร์ซัล ไฮด์บริดจ์ ชาร์เจอร์" จะใช้เสียบประจุไฟโดยตรงจากปลั๊กไฟ หรือ ชาร์จไฟจากแสงอาทิตย์ก็ได้

    ระยะเวลาของการชาร์จไฟแต่ละครั้ง เช่น ชาร์จ 1 ชั่วโมง เมื่อนำไปอัดไฟให้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่องเล่นเพลงดิจิตอล ก็ช่วยให้เปิดเล่นเพลงได้นานต่อเนื่อง 1 ชั่วโมงเช่นกัน ราคา 99.50 ดอลลาร์ (3,980 บาท)



    กระเป๋าโซลาร์เซลล์



    [​IMG]
    แผงโซลาร์เซลล์ หรือ เซลล์สุริยะแบบเคลื่อนที่ชนิดนี้เหมาะกับคนชอบเที่ยวกลางแจ้ง บุกป่าฝ่าดงในวันหยุด รวมถึงนักเรียนที่สะพายเป้ไปโรงเรียน

    นั่นก็คือ กระเป๋าสะพายพลังแสงอาทิตย์ รุ่น "Voltaic Solar Backpack" มีหลายรุ่น ราคาตั้งแต่ 199-249 ดอลลาร์ (7,960-9,960 บาท)

    พื้นผิวด้านนอกตัวกระเป๋าเย็บแผงโซลลาร์เซลล์ติดไว้ด้วย และมีสายเชื่อมต่อจ่ายไฟฟ้าไปยังอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่ด้านใน






    เตาอบสุริยะ



    [​IMG]
    "เตาอบสุริยะ" ของบริษัทซัน โอเว่นส์ อินเตอร์เนชั่นแนล ราคา 259 ดอลลาร์ (10,360 บาท) ใช้สำหรับอุ่นอาหารให้สุก

    ทางผู้พัฒนาระบุว่า สามารถนำตัดตัวไปใช้ได้ทุกแห่งหน ตั้งแต่ขั้วโลกเหนือที่มีสภาพอากาศหนาวจนติดลบ หรือ พื้นที่ทะเลทรายห่างไกลความเจริญ

    ฝาด้านบนของตัวเตาอบสุริยะประกอบด้วยแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งสามารถจ่ายไฟทำให้ตัวทำความร้อนภายในเตาอบเร่งอุณหภูมิได้สูง 360-400 องศาเซลเซียส ร้อนขนาดนี้ถ้าไม่สุกก็ให้มันรู้ไป!




    ที่มา ข่าวสด 16/1/50
     
  19. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ยอดเยี่ยมมากครับ ข้อมูลของคุณหลับตา อ่านเพลินไปเลย
     
  20. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    วันนี้เลยเกิดแรงบันดาลใจ ไปเที่ยวคลองถม สะพานเหล็ก

    พบว่า ที่ร้านอินโดสปอร์ต ที่ดิโอลด์ สยามกำลังลดราคาประจำปีครั้งใหญ่ ของบางอย่างลดถึง 70 %

    ไฟฉายแมกซ์ไลท์ ทำรุ่นใหม่เป็นหลอดไฟ LED แล้ว แถมคนที่ใช้รุ่นเก่าสามารถเปลี่ยนหลอดให้เป็นLED ได้ ไม่ต้องเปลี่ยนกระบอก ใหม่ แต่ต้องรอหลอด อีกประมาณ สองเดือน ข้อดีคือประหยัดไฟกว่าเกือบสิบเท่า

    จากนั้นไปบ้านหม้อ ดูวิทยุสื่อสาร ราคาก็พอจะรับได้เมื่อเทียบกับมือถือแล้ว ไปเล็งๆ เยซุ รุ่น VR. ไว้

    เดินเข้าไปในบ้านหม้อพลาซ่า เจอร้านขายแผงโซลาร์เซล ราคาไม่แพงจนเกินไป ตั้งแต่ 900-10000 บ้าน และอุปกรณ์ประยุกต์การใช้งาน เช่นนำไปแปลงเป็นไฟฟ้าเข้าบ้าน เข้าปั้มน้ำไฟกระแสตรงขนาดเล็ก ใช้ชาร์จถ่านชาร์จ และอุปกรณ์มือถือต่างๆ ใช้กับระบบแสงสว่าง LED เป็นต้น ซึ่งขึ้นอยู่กับเราจะประยุกต์การใช้งานตามความจำเป็น

    จากนั้นเดินไปคลองถม พบว่า เพลย์สามออกแล้ว แต่ช่างมันเถอะ เดินไปกองปราบต่อเพื่อดูพวกไฟฉาย

    ปรากฏว่า ได้ไฟฉายพร้อมกับเครื่องชาร์จไฟระบบมือหมุนมา พร้อมสายสำหรับชาร์จโทรศัพท์มือถือได้ด้วย เจ้าของร้าน บอกว่าถ้าใช้โนเกียล่ะใช้ได้ทันที ผมเลย ซื้อมาลองใช้ ในราคา 160 บาทแน่ะ ผมจะถ่ายรูปมาให้ดู รวมทั้งแกะแงะรื้อมันออกมาดูว่า จะโดนหลอกแบบไฟฉายเขย่าหรือเปล่า ถ้าเป็นระบบชาร์จได้จริงๆ จะได้แนะนำให้ซื้อครับ เพราะถ้าหลายอันราคาคงถูกลงอีก

    เห็นข้างกล่องบอกว่าถ้าหมุนที่ชาร์จเป็นเวลา 3นาที จะได้ไฟฟ้าสำหรับพูดมือถือได้ 2-8 นาที หรือแสตนบาย 20-50 นาทีขึ้นกับมือถือรุ่นไหนครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...