ทำเรือง่ายๆ ไว้ใช้ยามฉุกเฉินกันค่ะ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย bebe9, 19 ตุลาคม 2011.

  1. bebe9

    bebe9 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2011
    โพสต์:
    344
    ค่าพลัง:
    +31
  2. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
  3. bebe9

    bebe9 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2011
    โพสต์:
    344
    ค่าพลัง:
    +31
    วางแผนว่าจะทำพรุ่งนี้ 1 ลำ จร้า ^_^:cool:

    (แถวบ้าน เพื่อนบ้านเค้ามองว่านู๋ตื่นตูมง่ะ)
     
  4. maniamanias

    maniamanias เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    101
    ค่าพลัง:
    +175
    คือว่า เราคงลงไม่ได้แน่เลย น้ำหนักมันรับได้ถึงราว 80 กิโลไหมล่ะเนี่ย แง้...
     
  5. mamboo

    mamboo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    1,129
    ค่าพลัง:
    +1,973
    คนที่น้ำหนักตัวมากๆ แนะนำให้ทำเรือจากขวดน้ำพลาสติกค่ะ

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    <iframe width="640" height="480" src="http://www.youtube.com/embed/5ufn86nxb10" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    <iframe width="640" height="480" src="http://www.youtube.com/embed/YBYQhF_QbZ8" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
     
  6. aries

    aries เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    1,404
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,211

    ไฟล์ที่แนบมา:

  7. Jubb

    Jubb เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    1,281
    ค่าพลัง:
    +2,145
    ขนาดเรือ 130x245ซม.
    พับด้านล่ะ 30ซม.
    ความกว้างเรือจะเหลือ 70ซม.(130-(30x2))
    ความยาวจะเหลือ 185ซม.(245-(30x2))
    ความสูงเรือ 30ซม.
    ปริมาตรของเรือจะเป็น 185x70x30ซม.=388500ลูกบาศก์เซนติเมตร
    1000ลูกบาศก์เซนติเมตร น้ำ(water)หนัก 1kg (มวลน้ำ 1kg/1000cc)
    388500/1000=388.5kg
    ดังนั้นแรงลอยตัวของเรือลำนี้ทั้งหมดเท่ากับ 388.5kg (ขอบเรือเท่ากับระดับน้ำพอดี)
    เผื่อ safety factor ซัก 1.5
    ดังนั้นเรือลำนี้รับน้ำหนักได้ปลอดภัย 388.5/1.5=259kg
    แต่ความแข็งแรงของเรือน่าจะอยู่ที่โครงท่อ PVC มากกว่า ถ้ากลัวรับน้ำหนักไม่พอก็เสริมโครง PVC
    แต่เพื่อความปลอดภัย(เพราะถ้าเรือกินน้ำมากๆ แผ่น future board อาจจะรับแรงดันด้านข้างกับด้านล่างไม่ได้)ก็บรรทุกซักฅนหรือสองฅนก็น่าจะปลอดภัยในระดับนึง
    ...อืม ไอเดียดี
     
  8. มังกรบูรพา

    มังกรบูรพา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,539
    ค่าพลัง:
    +9,407

    ลองหาแผ่นไม้อัดนำมายึดติดกับแผ่นฟิวเจอร์บอรด์ด้านล่าง เพื่อเสริมความแข็งแกร่งของฐาน

    แล้วหาซื้อแกลลอนน้ำมันเครื่องที่ใช้แล้วขนาด 5 ถึง 6 ลิตรก็ได้ สักประมาณ 12 ใบ โดยด้าน

    ซ้ายและขวาของเรือ ยึดติดด้านละ 4 ใบ ส่วนหัวและท้ายเรือยึด ติดอีกด้านละ 2 ใบ โดยกะเว้น

    ระยะห่างให้พอดีกับเรือ ผมว่าน่าจะรับน้ำหนักได้ถึง 3 คน (เพิ่มแกลลอนน้ำมันได้มากกว่าที่ระบุ)

    ป.ล. ถ้าหาแผ่นไม้ขนาดเท่าเรือไม่ได้ ให้หาไม้กระดานแทน
     
  9. Tianluang

    Tianluang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    341
    ค่าพลัง:
    +1,025
    ฝีมือคนไทยไม่แพ้ชาติไดในโลก อนุโมทนาสาธุกับท่านเจ้าของผลงานและท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกๆท่านครับ
     
  10. นางสาวอยู่จ้ะ

    นางสาวอยู่จ้ะ ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,041
    ค่าพลัง:
    +3,865
    ขอบคุณค่ะ...............
     
  11. ใจใฝ่ศึกษา

    ใจใฝ่ศึกษา สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 เมษายน 2011
    โพสต์:
    38
    ค่าพลัง:
    +9
    น่าสนใจดีค่ะ อยากลองทำใช้ที่บ้านบ้าง ขอบคุณมากค่ะ:cool:
     
  12. obs2553

    obs2553 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มกราคม 2011
    โพสต์:
    1,289
    ค่าพลัง:
    +176
    สนับสนุนไอเดียดีๆ ช่วยภัยน้ำท่วมค่ะ :cool:

    แต่อย่างที่หลายท่านบอก น่าจะต้องเสริมความแข็งแรงของโครงเรือ ฐานเรือ เพิ่มขึ้นอีกนะคะ
     
  13. obs2553

    obs2553 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มกราคม 2011
    โพสต์:
    1,289
    ค่าพลัง:
    +176
    อีกหนึ่งไอเดีย "เรือประยุกต์" ช่วยน้ำท่วม

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td class="body" align="left" valign="baseline">นักศึกษาวิศวฯ มทส.ส่งน้ำใจ “เรือน้ำใจปีบทอง” ช่วยน้ำท่วม <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td height="1" bgcolor="#CCCCCC">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"><tbody><tr><td class="body" align="left" valign="middle">โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="middle">7 ตุลาคม 2554 12:27 น</td></tr></tbody></table>


    วิศวฯ มทส. ปี 4 รวมทีมคิดค้น "เรือน้ำใจปีบทอง" ช่วยเหลือน้ำท่วม พร้อมทั้งแนะนำขั้นตอนการทำเรือและวัสดุอุปกรณ์ที่หาง่าย ใช้ง่าย ไม่ยุ่งยาก เป็นอีกหนึ่งทางเลือกให้กับผู้ที่คิดทำเรือไว้ใช้ช่วงน้ำท่วม


    </td> </tr> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="Center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="300"> <tbody><tr> <td align="center" valign="Top" width="300"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">กลุ่มนักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีคิดทำ “เรือน้ำใจปีบทอง” </td></tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td height="5" align="center" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> จากสถานการณ์น้ำท่วมรุนแรงในหลายจังหวัด ซึ่งหลายพื้นที่เรือที่จะเข้าไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยไม่เพียงพอ ประชาชนได้รับความเดือดร้อนกันมาก กลุ่มนักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) ประกอบ ด้วย นายวัฒนา เพชรนอก นายเดชอนันต์ กลั่นอักโข นายสราวุธ ไปแดน และนายอำคา จินาวงศ์ และนายธนวัฒน์ จันทร์น้ำใส โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ทวิช จิตรสมบูรณ์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา จึงได้คิดทำ “เรือน้ำใจปีบทอง” เป็นเรือต้นแบบให้ชุมชนที่สนใจนำไปสร้างเองได้ ใช้วัสดุหาง่าย ราคาไม่แพง และใช้งานได้ทันทียามฉุกเฉิน

    นายวัฒนา เพชรนอก หนึ่ง ในทีมคิดสร้างเรือช่วยน้ำท่วม กล่าวว่า คณะผู้จัดทำเล็งเห็นว่าในพื้นที่น้ำท่วม เรือมีความจำเป็นมาก ไม่เพียงพอ หากจะซื้อก็ราคาแพง จึงคิดสร้างเรือผ้าใบที่สามารถทำขึ้นเองได้เพื่อช่วยเหลือคนที่อยู่ใน พื้นที่ประสบภัย

    </td> </tr> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="Center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="400"> <tbody><tr> <td align="center" valign="Top" width="400"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">เรือผ้าใบที่สามารถทำขึ้นเองได้เพื่อช่วยเหลือคนที่อยู่ในพื้นที่ประสบภัย </td></tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td height="5" align="center" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> “พวกเราใช้วัสดุอุปกรณ์ที่หาได้ง่าย มีเพียงเหล็กเส้น ผ้าใบรถบรรทุกหรือจะใช้ป้ายโฆษณาไวนิลที่มีอยู่ทั่วไปก็ได้เท่านั้น โดยใช้เหล็กเส้นก่อสร้างมาดัดเป็นโครงเรือท้องแบน โดยเหล็กที่ใช้มี 3 ชนิด คือ เหล็ก 2 หุน 3 หุน และ 4 หุน ทำเป็นโครงเรือตามแนวขวางและแนวยาว ขัดสานและผูกเข้ากันด้วยยางยืดเช่น ยางในรถจักรยานยนต์ผ่าเป็นริ้วๆ มีคานเล็กแล่นกลางตามแนวขวางเพื่อความแข็งแรง จากนั้นคลุมผิวด้านนอกด้วยผ้าใบคลุมรถบรรทุก ขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 3 เมตร (กันการขีดข่วน ทิ่มทะลุได้ดี) ใช้ลวดมัดจุดเชื่อมต่อแล้วพันด้วยยางให้ยึดแน่น จากนั้นใช้ผ้าใบ เจาะตาไก่ร้อยเชือกผูกกับโครงเรือ ระยะเวลาในการทำก็ไม่นานครับ ถ้ามีความชำนาญในการเชื่อมเหล็ก เพียง 2 ชั่วโมง”

    นายวัฒนา กล่าวแนะนำทิ้งท้ายไว้ว่า สามารถนำเรือไว้ใช้ยามฉุกเฉิน ขนย้ายผู้ป่วยหรือคนชรา บรรทุกสิ่งของหนีน้ำ ขนอาหาร/น้ำดื่มเข้าไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพื้นที่น้ำท่วม ซึ่งเรือสามารถรับน้ำหนักได้ประมาณ 400 กิโลกรัม จะใช้ไม้พายช่วยพายหรือถ้าระดับน้ำไม่ลึกมากก็ลากจูงได้

    </td> </tr> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="Center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="400"> <tbody><tr> <td align="center" valign="Top" width="400"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">เรือมีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา คล่องตัว เน้นการใช้งานง่ายและใช้งานได้ทันที</td></tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td height="5" align="center" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> “เรือลำนี้เป็นต้นแบบที่สร้างขึ้นมา ต้นทุนประมาณ 2,000 บาท เป็นค่าเหล็กเส้น 500 บาท กับค่าผ้าใบอย่างดี ทนทานต่อการฉีกขาด 1,500 บาท ซึ่งชุมชนหรือผู้ที่สนใจสามารถนำแบบ “เรือน้ำใจปีบทอง” ไปสร้างไว้ใช้งานเองได้ เนื่องจากวิธีการไม่ยุ่งยาก เรือมีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา คล่องตัว เน้นการใช้งานง่ายและใช้งานได้ทันทีครับ”

    ** ผู้สนใจนำแบบ “เรือน้ำใจปีบทอง” ไปใช้สามารถติดต่อได้ที่ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา โทรศัพท์ 0-4422-4410-1, 08-9284-6920</td></tr></tbody></table>
     
  14. apple_lin

    apple_lin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    584
    ค่าพลัง:
    +704
    ดีมากเลยค่ะ ขอเอาไป แชร์ใน facebook นะคะ
     
  15. eve1

    eve1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    243
    ค่าพลัง:
    +682
    เล็ก ๆ น้อย ๆ จ้า :VO
    เอาไว้ใช้อุดตามท่อน้ำ ในบ้าน หรือจะไปอุดอื่นๆก็ได้จ้า
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • cd-20oct.JPG
      cd-20oct.JPG
      ขนาดไฟล์:
      133.3 KB
      เปิดดู:
      436
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 ตุลาคม 2011
  16. แพนภูมิ12

    แพนภูมิ12 สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    7
    ค่าพลัง:
    +0
  17. deelek

    deelek เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    6,696
    ค่าพลัง:
    +16,254
    คนไทยเรากู๊ดไอเดียมาก ๆ เยี่ยม ๆ
    อนุโมทนา สาธุ ๆ ด้วยครับ
     
  18. jchai4

    jchai4 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    212
    ค่าพลัง:
    +1,075
  19. ake.susubda.phuket.

    ake.susubda.phuket. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    190
    ค่าพลัง:
    +129
    สุดยอดเลยครับ ไอเดียดีมากเลยครับ เยี่ยม ๆ
     
  20. obs2553

    obs2553 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มกราคม 2011
    โพสต์:
    1,289
    ค่าพลัง:
    +176
    ยามวิกฤตเนี่ย ได้เห็นอะไรดีๆ เยอะเหมือนกันน๊า...
    โดยเฉพาะอุปกรณ์ช่วยชีวิตต่างๆ ทั้งเรือ ทั้งเสื้อชูชีพฯ
    ไอเดียยอดนักประดิษฐ์สู้วิกฤตน้ำท่วม :cool:
     

แชร์หน้านี้

Loading...