การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย HONGTAY, 10 เมษายน 2007.

  1. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    UNคุยโลกร้อนผวาภัยคุกคามความมั่นคง


    <table style="width: 480px;"> <tbody><tr> <td valign="top">
    </td> <td valign="top"> คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ หรือยูเอ็น เตรียมเปิดการหารือเกี่ยวกับปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ซึ่งนับเป็นครั้งแรก และเป็นสัญญาณแสดงว่า ปัญหานี้กำลังถูกมองว่า เป็นภัยคุกคามความมั่นคงของโลกมากขึ้นทุกขณะ ประเด็นหลักของการหารือ ซึ่งมีขึ้นตามการริเริ่มของอังกฤษ ประธานคณะมนตรีความมั่นคงในเดือนนี้ ก็คือ พลังงาน ความมั่นคงและสภาพอากาศ

    เจ้าหน้าที่อังกฤษกล่าวว่า การผลักดันให้มีการหารือในประเด็นนี้ไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะสมาชิกสำคัญหลายประเทศ เช่น สหรัฐ รัสเซียและจีน ต่างเห็นว่า คณะมนตรีความมั่นคงไม่ใช่เวทีที่เหมาะสมสำหรับการหารือประเด็นภาวะโลกร้อน แต่จากรายงานที่เปิดเผยเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมาโดยคณะนายทหารนอกราชการของสหรัฐ ระบุเตือนว่า การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศโลก อาจส่งผลคุกคามต่อทั้งชาวอเมริกัน การปฏิบัติการของทหารสหรัฐ และทำให้สถานการณ์โลกตึงเครียดหนักขึ้น ปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศเป็นหนึ่งในปัญหาด้านความมั่นคงของชาติ การไร้เสถียรภาพของสภาพอากาศ จะนำไปสู่การไร้เสถียรภาพในภูมิรัฐศาสตร์ และส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติการทางทหารของสหรัฐทั่วโลก

    การศึกษาเรื่อง “ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคามจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ” ระบุว่า การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศเป็นภัยคุกคามรุนแรงในหลายภูมิภาคของโลกไปแล้ว
    ในขณะที่นางมาร์กาเร็ต เบกเก็ตต์ รัฐมนตรีต่างประเทศอังกฤษ ระบุว่า ภัยคุกคามต่อความมั่นคงจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพ อากาศส่งผลกระทบในวงกว้างมากกว่าความขัดแย้งในครั้งเดียว เธอย้ำให้เห็นถึงความสำคัญของบทบาทธุรกิจในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่มีการลดก๊าซคาร์บอน และเตือนให้เห็นอันตรายต่อความมั่นคง ซึ่งอาจจะเกิดจากการอยู่เฉย ๆ โดยไม่ทำอะไรเลย เบกเก็ตต์เดินทางถึงนครนิวยอร์กของสหรัฐเพื่อเป็นประธานการประชุมคณะมนตรีความมั่นคงฯ หารือเรื่องการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศเมื่อวันอังคาร เธอคาดว่าจะเตือนชาติสมาชิกว่า ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศอาจจุดชนวนให้เกิดความขัดแย้ง ซึ่งรวมทั้งข้อพิพาทตามแนวชายแดน และการเข้าถึงแหล่งอาหารและน้ำ.



    [​IMG]
    วันพุธที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2550</td> </tr> </tbody></table>
     
  2. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    เกิดอะไรขึ้นกับโลกใบนี้?

    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, Arial][/FONT][FONT=MS Sans Serif, Tahoma, Arial]
    <o:p></o:p>
    [/FONT]​
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, Arial] <o:p></o:p>[/FONT]
    มาลินี อัศวดิษฐเลิศ<o:p></o:p>
    หน่วยบริหารจัดการความรู้<o:p></o:p>
    ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ (ไบโอเทค)<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    http://www.biotec.or.th


    จากเหตุการณ์ไม่คาดฝันคลื่นยักษ์สึนามิถล่มภาคใต้ของประเทศไทย และอีกหลายประเทศแถบมหาสมุทรอินเดียเมื่อปลายปี 2547 ยังไม่ทันจางหาย ก็เกิดเหตุการณ์น้ำท่วมครั้งใหญ่ที่ประเทศจีน ตามมาด้วยพายุพัดถล่มญี่ปุ่น และไต้หวัน รวมถึงภาคเหนือของประเทศไทย และที่หนักที่สุดในประวัติศาสตร์อเมริกาก็คือ พายุเฮอริเคนพัดถล่มทางภาคใต้ของประเทศ สร้างความเสียหายไม่ต่ำกว่า 35,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 1.4 ล้านล้านบาท...ต่อมาในปีนี้ พาเหรดน้ำท่วมได้ย้อนรอยสร้างความเสียหายมหาศาลในหลายพื้นที่ทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย ซึ่งรุนแรงและครอบคลุมพื้นที่กว้างกว่าเดิม... เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเหล่านี้จึงดึงความสนใจของมนุษย์โลก โดยเฉพาะนักวิทยาศาสตร์ให้หันกลับมาตั้งคำถามด้วยความวิตกกังวลว่า “เกิดอะไรขึ้นกับโลก?” <o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    นักวิทยาศาสตร์จากทั่วโลกพยายามหาคำตอบในเรื่องนี้ นักวิทยาศาสตร์หลายคนพยายามตั้งสมมติฐาน (ที่ยังรอคำตอบ) ว่า หายนะบางอย่างที่เกิดขึ้น เป็นผลพวงมาจากปรากฏการณ์ Climate Change หรือการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ

    <o:p>[​IMG]</o:p>
    <o:p></o:p>
    <o:p>ที่มาภาพ: http://www.climatescience.gov/Library/stratplan2003/vision/VisionFig1.jpg</o:p>
    <o:p></o:p>
    <o:p>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, Arial] ชวนให้หันกลับไปทบทวนในเรื่อง ภาวะเรือนกระจก (Green house effect)” ที่อาจโยงใยกับหายนะต่างๆ เหล่านี้
    [​IMG]
    ที่มาภาพ: (ซ้าย) http://www.oilandgasforum.net/impacts/media/greenhouse_effect.jpg<o:p></o:p>
    (ขวา) http://www.acmecompany.com/stock_thumbnails/13808.greenhouse_effect_2.jpg<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    ภาวะเรือนกระจก เป็นภาวะที่ชั้นบรรยากาศของโลกกระทำตัวเสมือนกระจก ที่ยอมให้รังสีคลื่นสั้นผ่านลงมายังผิวโลกได้ แต่จะดูดกลืนรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรดที่แผ่ออกจากพื้นผิวโลกเอาไว้ จากนั้นจึงคายพลังงานความร้อนให้กระจายอยู่ภายในชั้นบรรยากาศและพื้นผิวโลก จึงเปรียบเสมือนกระจกที่ปกคลุมผิวโลกให้มีภาวะสมดุลทางอุณหภูมิ และเหมาะสมต่อสิ่งมีชีวิตบนผิวโลก แต่ในปัจจุบันมีก๊าซบางชนิดสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศมากเกินสมดุล ซึ่งส่วนมากเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซนี้มีคุณสมบัติดูดกลืนรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรดและคายพลังงานความร้อนได้ดี พื้นผิวโลกและชั้นบรรยากาศ จึงมีอุณหภูมิสูงขึ้นส่งผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศของโลก และสิ่งมีชีวิตพื้นผิวโลกอย่างมากมาย<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    20 ปีที่ผ่านมา นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกพบว่า อุณหภูมิโลกสูงขึ้นเฉลี่ย 0.5 องศาเซลเซียส สำหรับคนทั่วไปอาจเป็นตัวเลขที่ไม่น่าตื่นเต้น แต่กลับภูมิอากาศ หากลองได้เปลี่ยนแล้ว ผลลัพธ์ไม่ได้ “น้อยนิด” ตามตัวเลขที่ปรากฎเลย...มีรายงานผลการวิจัยว่าในรอบ 40 ปี หากอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นเพียง 0.6 หรือ 1 องศาเซลเซียส ส่งผลต่อระดับความรุนแรงของภัยธรรมชาติทางอากาศ เช่น พายุหมุน เพิ่มขึ้น 4-5 เท่าตัว ในขณะเดียวกัน ก็มีรายงานว่า มีความเป็นไปได้สูงว่าภัยธรรมชาติที่เกี่ยวกับอากาศและเกิดขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก เช่น พายุพัดถล่มในประเทศสหรัฐอเมริกา น้ำท่วม ภัยแล้ง ที่มีระดับความรุนแรงมากขึ้น อาจเป็นผลกระทบจากภาวะโลกร้อน
    จากการศึกษาของศาสตราจารย์แคร์รี เอ็มมานูเอล (Kerry Emanuel) แห่งสถาบันเทคโนโลยีแมสสาชูเสตส์หรือเอ็มไอที (MIT) พบว่า ตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1970 เป็นต้นมา พายุลูกใหญ่ โดยเฉพาะพายุเฮอร์ริเคนที่เกิดขึ้นในมหาสมุทรแอตแลนติกและแปซิฟิก เพิ่มความรุนแรงของแต่ละลูกมากกว่าเดิมถึง 50 เปอร์เซนต์ ซึ่งปัจจัยสำคัญคือ ความร้อนเหนือน้ำทะเลที่สูงขึ้น
    <o:p></o:p>
    <o:p>รายงานการศึกษาเกี่ยวกับพายุโซนร้อนหรือพายุหมุนเขตร้อน “Increasing destructiveness of tropical cyclones over the past 30 years” ของศ. แคร์รี เอมมานูเอล ที่ตีพิมพ์ในวารสาร Nature ฉบับที่ 436 ประจำวันที่ 4 สิงหาคม 2548</o:p>
    <o:p></o:p>
    [​IMG]
    <o:p> </o:p>
    <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>พายุเฮอร์ริเคน (Hurricane) คือพายุหมุนชนิดหนึ่ง เกิดขึ้นเมื่อจุดใดจุดหนึ่งในทะเลมีความร้อนสูงกว่าปกติ และเมื่ออุณหภูมิ ณ ระดับน้ำทะเลสูงไม่เท่ากัน จึงเกิดการดึงมวลอากาศเข้าหา กลายเป็นพายุหมุนขึ้นมา น้ำทะเลร้อนเท่าไร พายุก็จะทวีความรุนแรงขึ้นเท่านั้น ซีกโลกภาคเหนือ ช่วงที่ตรงกับปลายฤดูร้อน น้ำทะเลจะร้อนที่สุด ดังนั้นพายุจึงรุนแรงที่สุด โชคร้ายของปีที่แล้วจึงตกเป็นของชายฝั่งสหรัฐอเมริกา...เฮอริเคนแคทรินา<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    [นักวิทยาศาสตร์เรียกพายุหมุนที่เกิดในบริเวณมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ทะเลแคริบเบียน และในอ่าวเม็กซิโก เรียกชื่อว่า “พายุเฮอริเคน” แต่หากพายุหมุนเกิดในบริเวณตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก และในทะเลจีนใต้ ว่า “พายุไต้ฝุ่น” ซึ่งเราค่อนข้างคุ้นเคยกับชื่อนี้ จริงๆ แล้ว พายุหมุนเขตร้อนมีชื่อเรียกมากกว่า 2 ชื่อนี้ หากผู้อ่านสนใจ เข้าไปดูรายละเอียดได้ในเว็บไซต์ของกรมอุตุนิยมวิทยา ในหัวข้อพายุหมุนเขตร้อน คือ http://www.tmd.go.th/knowledge/know_storm01.html]<o:p></o:p>

    ผลจากการวิจัยของศ. เอมมานูเอล ผู้ที่ให้เหตุผลของการมาของเฮอร์ริเคนแคทรินา และปลุกให้คนอเมริกัน และคนทั่วโลกเห็นถึงภัยของโลกร้อน ทำให้เขาได้รับเลือกจากนิตยสารไทม์ให้เป็น 1 ใน 100 บุคคลผู้มีอิทธิพลของโลก (TIME 100: The People Who Shape Our World) ประจำปี 2549 ในสาขานักวิทยาศาสตร์และนักคิด (Scientists & Thinkers)




    </o:p>[/FONT]
     
  3. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    รอบรู้เรื่องโอโซน

    <table align="center" border="0" height="780" width="700"><tbody><tr><td height="331">CFCs ขึ้นไปถึงชั้นบรรยากาศสตราโตสเฟียร์ได้อย่างไร ในเมื่อหนักกว่าอากาศ? "
    "เพราะว่าบรรยากาศมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลาและสารเคมีก็ผสมไปในนั้น "
    โมเลกุล CFCs หนักกว่าอากาศหลายเท่า แต่จากการตรวจด้วยบอลลูน เครื่องบินและดาวเทียมได้พิสูจน์ว่า CFCs มีอยู่ในบรรยากาศสตราโตสเฟียร์จริง เหตุนี้เนื่องจากลมและการผสมกันของอากาศที่เคลื่อนที่ขึ้นไปบนความสูงยอดสุดของสตราโตสเฟียร์ ได้แรงและเร็วเกินกว่าโมเลกุลจะอยู่นิ่งๆ ด้วยน้ำหนักโมเลกุล ก๊าซCFCsไม่ละลายในน้ำและไม่ทำปฏิกิริยาที่ชั้นล่างของบรรยากาศจึงคลุกเคล้ากันและเคลื่อนที่ขึ้นสู่บรรยากาศอย่างรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารประกอบ CFCs เทียบกับความสูงได้ให้ข้อคิดถึงอนาคตของสารประกอบในบรรยากาศเช่น คาร์บอนเตตระฟลูออไรด์ (CF4) ที่ถูกผลิตและนำมาใช้แทน อะลูมินัม และ CFC-11หรือ CCl3F ซึ่งหนักกว่าอากาศ CF4 ไม่มีปฏิกิริยาที่ความสูงต่ำกว่า 50 กิโลเมตร (จากภาพ) ซึ่งปริมาณมีเท่ากันที่ความสูงทุกระดับ การตรวจวัดเกี่ยวกับก๊าซที่ไม่ทำปฏิกิริยา คือก๊าซนีออนที่เบากว่าอากาศ ก๊าซอาร์กอนและคริปตอนที่หนักกว่าอากาศ จะเห็นได้ชัดว่าทั้งหมดผสมกับอากาศในสตราโตสเฟียร์ได้โดยไม่เกี่ยวข้องกับน้ำหนัก CFC-11 ไม่มีปฏิกิริยาที่ความสูงต่ำกว่า 15 กิโลเมตร แต่ปริมาณลดลงที่ความสูงเพิ่มขึ้นเพราะว่ามันสามารถสลายตัวเนื่องจากรังสีอัลตราไวโอเลตพลังงานสูงและจะให้คลอรีนออกมาและ CFCs อื่นๆ ยังคงอยู่ในสตราโตสเฟียร์เป็นเวลาหลายปีซึ่งแต่ละอะตอมของคลอรีนจะทำลายโอโซนได้หลายพันโมเลกุล
    </td> </tr> <tr> <td>
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table>
     
  4. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    รอบรู้เรื่องโอโซน

    <table align="center" border="0" height="100%" width="85%"><tbody><tr valign="top"><td height="331">อะไรเป็นตัวชี้ชัดว่าโอโซนถูกทำลายโดยคลอรีนและโบรมีน ?

    " การค้นคว้าเชิงปฏิบัติการและวิเคราะห์การตรวจวัดชั้นสตราโตสเฟียร์ทั่วโลกให้ข้อสรุปว่า สารประกอบคลอรีนและโบรมีนเป็นตัวทำลายโอโซน "
    การค้นคว้าเชิงปฏิบัติการแสดงให้เห็นว่าคลอรีนทำปฏิกิริยากับโอโซนได้รวดเร็วมากและยังแสดงให้เห็นอีกว่าคลอรีนโมโนออกไซด์มีความไวต่อปฏิกิริยาขั้นต่อไปและได้อะตอมคลอรีนอิสระเรียกว่า รีแอคทีฟคลอรีน ทำให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่หลายครั้ง และโบรมีนก็เช่นเดียวกัน แต่ปฏิกิริยาทำลายโอโซนเกิดขึ้นในโลกนี้จริงหรือ? จากประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่สะสมมาแสดงว่ามีจริงเพราะว่าเมื่อใดที่ Cl หรือ Br อยู่ด้วยกันกับโอโซน จะเกิดปฏิกิริยาการทำลายโอโซนขึ้นรวมทั้งปฏิกิริยาอื่นๆ ด้วย เช่นเมื่อมีการตรวจพบรูรั่วโอโซนที่ขั้วโลกใต้ในฤดูใบไม้ผลิ ทั้งจากเครื่องมือภาคพื้นดิน บอลลูน เครื่องบิน และจากดาวเทียมทำให้ได้รายละเอียดของปฏิกิริยาเคมีในสตราโตสเฟียร์ของแอนตาร์กติกอย่างดี โดยพื้นที่ส่วนใหญ่มีอุณหภูมิต่ำกว่า -80 องศาเซลเซียส หรือ -112 องศาฟาเรนไฮต์ ที่ซึ่งเกิดเมฆสตราโตสเฟียร์และเกิดไม่บ่อยนักยกเว้นในฤดูหนาวขั้วโลก เมฆสตราโตสเฟียร์ในฤดูหนาวที่ขั้วโลกนี้ทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีที่เปลี่ยนรูปคลอรีนที่อยู่ในรูปที่ไม่ทำลายโอโซน ไปอยู่ในรูปที่แอคทีฟหรือทำลายโอโซนได้ หรือกรณีคลอรีนโมโนออกไซด์ (ClO) ซึ่งเริ่มเกิดขึ้นเมื่อมีแสงอาทิตย์ ปริมาณรีแอคทีฟคลอรีนในบริเวณนี้ถูกตรวจพบมากกว่าช่วงละติจูดกลาง ซึ่งทำให้มีการสูญเสียโอโซนรวดเร็วกว่า การที่ปฏิกิริยาเกิดขึ้นในเมฆนี้เป็นที่เข้าใจกันได้ดีจากการศึกษาภายใต้ห้องปฏิบัติการที่จำลองธรรมชาติในบรรยากาศ นักวิทยาศาสตร์ได้ตรวจวัดสารเคมีเหนือทวีปแอนตาร์กติกตั้งแต่ปี ค.ศ. 1986 ระหว่างโอโซนและ คลอรีนโมโนออกไซด์ ภาพข้างล่างเป็นแผนที่จากดาวเทียมแสดงบริเวณที่พบปริมาณคลอรีนโมโนออกไซด์ (ClO)ปริมาณสูง กับบริเวณที่มีการลดลงของโอโซนซึ่งเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วภายในไม่กี่วัน ปฏิกิริยาเดียวกันเกิดระหว่างฤดูหนาว-ใบไม้ผลิในบริเวณทวีปอาร์กติก แต่เนื่องจากความเย็นน้อยกว่าแอนตาร์กติกและเมฆน้อยกว่าจึงเกิดการสูญเสียโอโซนน้อยกว่าเหนือบริเวณขั้วโลกใต้


    <table align="center" border="0" height="780" width="700"><tbody><tr valign="top"><td height="331">คลอรีนส่วนมากในสตราโตสเฟียร์มาจากมนุษย์หรือธรรมชาติิ?

    "ส่วนใหญ่เกิดจากมนุษย์ร้อยละ 82 และมาจากธรรมชาติประมาณร้อยละ 18"
    สารประกอบคลอรีนส่วนใหญ่ถูกปล่อยที่พื้น ที่ละลายน้ำได้จะไม่ขึ้นไปถึงบรรยากาศสตราโตสเฟียร์เพราะถูกชะล้างลงมากับน้ำฝนหรือหิมะ เช่น คลอรีนจำนวนมากถูกปล่อยจากไอน้ำในทะเลในรูปเกลือโซเดียมคลอไรด์ แต่เพราะว่าเกลือละลายในน้ำ คลอรีนจึงขึ้นไปอยู่ในเมฆ หิมะหรือฝน แต่ไปไม่ถึงสตราโตสเฟียร์ อีกรูปแบบหนึ่งคือคลอรีนจากสระว่ายน้ำและสารฟอกขาวที่ใช้ในครัวเรือน เมื่อถูกปล่อยออกมาจะเปลี่ยนรูปไปและละลายน้ำจึงสลายไปในอากาศชั้นล่างอย่างรวดเร็ว ภูเขาไฟก็สามารถปล่อย HCl ปริมาณมากออกมาแต่เป็นก๊าซที่เปลี่ยนรูปเป็นกรดไฮโดรคลอริคอย่างรวดเร็วจึงละลายในน้ำฝน น้ำแข็ง หรือหิมะได้ และไปไม่ถึงสตราโตสเฟียร์ แม้ว่าภูเขาไฟระเบิดสู่บรรยากาศที่สูงก็ตาม การปล่อยยานอวกาศและจรวดจะฉีดคลอรีนสู่สตราโตสเฟียร์โดยตรง แต่นับเป็นปริมาณน้อยมากหรือร้อยละ 1 ต่อปีเทียบกับการปล่อยฮาโลคาร์บอนในสตราโตสเฟียร์ทั้งหมด ในทางกลับกัน สาเหตุหลักคือฮาโลคาร์บอนสังเคราะห์โดยมนุษย์ เช่น CFCs และ CCl4 ที่ไม่ละลายน้ำ ไม่ทำปฏิกิริยากับน้ำแข็ง หิมะ หรืออื่นๆ ตามธรรมชาติที่ผิวพื้นและไม่สามารถสลายตัวโดยทางเคมีได้ ดังนั้นสารประกอบคลอรีนจึงขึ้นไปอยู่ในสตราโตสเฟียร์ได้ การชี้ชัดว่าสารประกอบสังเคราะห์เป็นที่มาของ Cl ในบรรยากาศคือ 1) การตรวจวัดได้แสดงให้เห็นว่าสารประกอบคลอรีนในสตราโตสเฟียร์ที่สำคัญคือ CFCs, CCl4, methyl Chloroform และ HCFC (ไฮโดรคลอโรฟลูออโรคาร์บอนหรือสารทดแทน CFCs) รวมถึงกรดไฮโดรคลอริก (HCl) และ methyl chloride (CH3Cl) ซึ่งมีในธรรมชาติ 2) นักวิจัยตรวจพบก๊าซที่ประกอบด้วยคลอรีนในสตราโตสเฟียร์ จำพวกฮาโลคาร์บอนที่สังเคราะห์ขึ้นเป็นส่วนใหญ่และคลอรีนที่มีโดยธรรมชาติเป็นส่วนน้อย 3) ตรวจพบคลอรีนเพิ่มขึ้นในบรรยากาศปี ค.ศ. 1980-1998 สอดคล้องกับปริมาณที่เพิ่มขึ้นของสารประกอบฮาโลคาร์บอนในช่วงนั้น
    </td> </tr> <tr valign="top"> <td>

    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table></td><td>
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table>
     
  5. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    รอบรู้เรื่องโอโซน

    <table align="center" border="0" height="697" width="90%"><tbody><tr valign="top"><td height="261" width="100%">ความเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติเช่นแสงอาทิตย์และภูเขาไฟระเบิดมีผลต่อความเปลี่ยนแปลงโอโซนหรือไม่?

    " แม้ว่าธรรมชาติจะมีส่วนกำหนดปริมาณโอโซนแต่ไม่เด่นชัดว่ามีผลต่อโอโซนในระยะยาว "
    การฟอร์มตัวของโอโซนในบรรยากาศเกิดจากแสงอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ ดังนั้นการแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์จึงมีผลต่ออัตราการเกิดโอโซนเช่นกัน พลังงานจากดวงอาทิตย์ถูกปลดปล่อยทั้งแสงอัลตราไวโอเลตและอนุภาคประจุเช่นอิเล็กคตรอนและโฟตอนจะแปรผันตามการเกิดจุดในดวงอาทิตย์ในรอบ 11 ปี (11-years sunspot cycle) การตรวจวัฏจักรแสงอาทิตย์หลายๆ รอบที่ผ่านมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 แสดงให้เห็นว่าระดับโอโซนเปลี่ยนแปลงไป 1-2 %จากค่าสูงสุดถึงค่าต่ำสุดของวัฏจักรปกติ อย่างไรก็ตามความเปลี่ยนแปลงจากดวงอาทิตย์ก็ไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงโอโซนในระยะยาว เพราะว่าแนวโน้มลดลงของโอโซนมีมากกว่า 1-2 % รูปข้างล่างแสดงพลังงานจากดวงอาทิตย์ตั้งแต่ปี ค.ศ.1978 มีค่าสูงสุดในปี ค.ศ. 1980 และ 1991 และต่ำสุดในปี 1985 และ 1996 และจะสูงสุดอีกครั้งในปี ค.ศ.2002 แต่โอโซนยังคงลดลงในช่วงนั้น การประเมินโอโซนในรายงานได้จากการพิจารณาอิทธิพลจากดวงอาทิตย์ด้วย ภูเขาไฟระเบิดจะสามารถฉีดสารขึ้นสู่ชั้นโอโซนได้โดยตรง แต่จากการตรวจวัดและแบบจำลองได้แสดงให้เห็นว่า อนุภาคจากภูเขาไฟไม่สามารถไปทำลายโอโซนได้โดยตรง มีเพียงปฏิกิริยาจากคลอรีนจากการสังเคราะห์ขึ้นกับอนุภาคผิวพื้นที่เพิ่มการสูญเสียโอโซนในบรรยากาศในปัจจุบัน โดยเฉพาะจากปฏิบัติการและการตรวจบรรยากาศได้แสดงให้เห็นว่าปฏิกิริยาเคมีที่ผิวพื้นของอนุภาคภูเขาไฟที่ถูกฉีดสู่สตราโตสเฟียร์ตอนล่างนำไปสู่การทำลายโอโซนโดยการไปเพิ่มความเข้มข้นของคลอรีนในรูปที่แอคทีฟทางเคมีจากสารสังเคราะห์โดยมนุษย์อย่างเช่น CFCs การระเบิดของภูเขาไฟ เช่น Agung (1963) Fuego (1974) El Chichon (1982) และ Pinatubo (1991) เป็นต้น ผลจากภูเขาไฟ Pinatubo ได้เพิ่มอนุภาคที่จะไปเพิ่มปฏิกิริยาเคมีเป็นบริเวณกว้าง ผลกระทบจากธรรมชาติจึงขึ้นอยู่กับสารประกอบคลอรีนในบรรยากาศทำนองเดียวกับเมฆในสตราโตสเฟียร์ที่ขั้วโลก เพราะว่าอนุภาคจะหายไปจาก สตราโตสเฟียร์ 2-5 ปี จึงกระทบต่อโอโซนช่วงเวลาสั้นๆ จึงไม่มีผลต่อความเปลี่ยนแปลงระยะยาว การตรวจวัดและการคำนวณได้ชี้ว่าระดับโอโซนต่ำกว่าปกติในปี ค.ศ. 1992-1993 ซึ่งเป็นผลจากภูเขาไฟ Pinatubo ระเบิด พร้อมกับปริมาณคลอรีนที่สูงขึ้นในทศวรรษ 1990 เทียบกันก่อนภูเขาไฟระเบิด


    <table align="center" border="0" height="780" width="85%"><tbody><tr><td height="331" width="100%">รูรั่วโอโซนเกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อใด?

    "รูรั่วโอโซนเหนือทวีปแอนตาร์กติกในฤดูใบไม้ผลิ เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นต้นทศวรรษที่ 1980s เทียบกับข้อมูลในอดีตนับจาก ค.ศ.1957 "
    นับจากปี ค.ศ.1980 เป็นต้นมา ได้เกิดปรากฏการณ์ รูรั่วโอโซน เกิดขึ้นในช่วงประมาณ 3 เดือนเหนือขั้วโลกใต้ในฤดูใบไม้ผลิ(เดือนกันยายน-พฤศจิกายน) โดยค่าโอโซนลดลงสูงสุดถึง 60% ส่วนปลายฤดูร้อนเดือนมกราคม-มีนาคมปริมาณโอโซนไม่ลดลงมากนัก จากการตรวจวัดจากสถานีต่างๆ และดาวเทียมบริเวณขั้วโลกใต้ได้ผลคล้ายกัน การตรวจวัดโดยบอลลูนแสดงความเปลี่ยนแปลงตามความสูงให้ผลดังรูป ที่สถานี Syowa (โดยประเทศญี่ปุ่นในทวีปแอนตาร์กติก) พบว่าโอโซนลดลงที่ความสูงบางช่วงที่เกิดรูรั่วโอโซนในแต่ละปีของฤดูใบไม้ผลิเทียบกับโอโซนปกติก่อนปี ค.ศ.1980 มีสาเหตุคือคลอรีน ก่อนที่สตราโตสเฟียร์จะได้รับผลกระทบจากคลอรีนและโบรมีนจากมนุษย์นั้น ระดับโอโซนตามธรรมชาติของทวีปแอนตาร์กติกในฤดูใบไม้ผลิต่ำกว่าฤดูเดียวกันในทวีปอาร์กติก 30-40 % ความแตกต่างของทั้งสองบริเวณโดยธรรมชาติ (ตรวจพบโดย Dobson) เนื่องจากความเย็นจัดเป็นพิเศษและรูปแบบของลมในฤดูหนาวของสตราโตสเฟียร์ของทวีปแอนตาร์กติกเมื่อเทียบกับอาร์กติก ความเปลี่ยนแปลงทางอุตุนิยมวิทยาในสตราโตสเฟียร์ไม่สามารถอธิบายรูรั่วโอโซนได้ เพราะจากการตรวจวัดพบว่าอุณหภูมิของสตราโตสเฟียร์ของแอนตาร์กติกในฤดูหนาวไม่มีการเปลี่ยนแปลงก่อนที่จะเกิดรูรั่วโอโซนในแต่ละปีในเดือนกันยายน ในทางกลับกันสิ่งที่เด่นชัดคือสารประกอบคลอรีนและโบรมีนที่สังเคราะห์ขึ้น เป็นสาเหตุของการสูญหายไปของโอโซนในหลายปีที่ผ่านมา
    </td> </tr> <tr> <td width="100%">
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table></td> </tr> <tr valign="top"> <td width="100%">
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table>
     
  6. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    รอบรู้เรื่องโอโซน

    <table align="center" border="0" height="780" width="90%"><tbody><tr><td height="331" width="100%">ทำไมรูรั่วโอโซนเกิดขึ้นเหนือทวีปแอนตาร์กติก เมื่อ CFCs และ Halon ส่วนใหญ่ถูกปล่อยในซีกโลกเหนือ?

    "บรรยากาศของโลกมีการหมุนเวียนโดยลมรอบโลก ก๊าซที่ทำลายโอโซนจะผสมกับอากาศที่หมุนเวียนไปโดยทั่วบรรยากาศ รวมทั้งแอนตาร์กติกด้วย ไม่ขึ้นกับว่าแหล่งปล่อยอยู่ที่ใด ขึ้นกับเงื่อนไขว่าก๊าซเหล่านั้นจะมีผลต่อการทำลายโอโซนที่แอนตาร์กติกมากกว่าเมื่อเทียบกับที่อื่น"
    การปล่อยซีเอฟซีและฮาลอน(สารประกอบโบรมีน)ส่วนมากเกิดบริเวณซีกโลกเหนือ ประมาณ 90 % มาจากยุโรป รัสเซีย ญี่ปุ่น และอเมริกาเหนือ ก๊าซพวกซีเอฟซีและฮาลอนไม่ละลายในน้ำและไม่ทำปฏิกิริยาจะคลุกเคล้าในบรรยากาศชั้นล่างภายใน 1- 2 ปี และจะขึ้นไปกับอากาศถึงสตราโตสเฟียร์บริเวณเขตร้อนซึ่งอากาศเบาตัวจึงลอยตัวขึ้นและลมพัดอากาศเหล่านี้ไปยังบริเวณขั้วโลกทั้งเหนือและใต้จาก ดังนั้นอากาศตลอดชั้นสตราโตสเฟียร์ทั่วโลกจึงมีส่วนประกอบของคลอรีนและโบรมีน บริเวณซีกโลกใต้ ขั้วโลกมีส่วนของพื้นทวีปแอนตาร์กติกที่กว้างใหญ่ล้อมรอบด้วยมหาสมุทร และการมีลักษณะสมมาตรนี้ทำให้ฤดูหนาวมีอากาศเย็นจัดในชั้นสตราโตสเฟียร์เหนือทวีป เพราะอากาศถูกแยกส่วนโดยลมที่หมุนเวียนรอบขอบทวีปจึงมีอุณหภูมิที่ต่ำมากทำให้เกิดเมฆในชั้นสตราโตสเฟียร์ขั้วโลก (Polar stratospheric clouds) ซึ่งนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ส่งเสริมให้คลอรีนและโบรมีนมีการแอคทีฟและทำให้เกิดการทำลายโอโซนอย่างรวดเร็วเมื่อทวีปได้รับแสงแดดในเดือนกันยายน-ตุลาคมในแต่ละปี ผลคือเกิดรูรั่วโอโซนเหนือทวีปแอนตาร์กติก (Antarctic Ozone Hole) รูปแสดงขนาดของรูรั่วโอโซนที่กว้างขึ้นตลอดทศวรรษที่ 1980s ซึ่งเป็นผลจากสารประกอบที่ทำลายโอโซนที่สูงขึ้นในบรรยากาศ สภาวะของทวีปอาร์กติกไม่เหมือนกัน เพราะอุณหภูมิในฤดูหนาวชั้นสตราโตสเฟียร์ของอาร์กติกไม่ต่ำมากติดต่อกันหลายสัปดาห์เช่นในขั้วโลกใต้ โอโซนจึงลดลงน้อยกว่าและยังไม่ถึงเกณฑ์ที่เรียกรูรั่วโอโซน (เกณฑ์คือ< 220 Dobson Unit ในเขตขั้วโลก)


    <table align="center" border="0" height="780" width="90%"><tbody><tr><td height="331" width="100%">กิดรูรั่วโอโซนเหนือทวีปอาร์กติกหรือไม่?

    "การลดลงของโอโซนเหนือทวีปอาร์กติก (Arctic Ozone Depletion) พบตอนปลายฤดูหนาว-ใบไม้ผลิ เดือนมกราคม-มีนาคม ถึง 6 ปีภายใน 9 ปีที่ผ่านมา ประมาณ 20-25 % น้อยกว่าบริเวณขั้วโลกใต้ทวีปแอนตาร์กติกที่เรียกรูรั่วโอโซน"
    ความแตกต่างของ 2 บริเวณขั้วโลกเกิดจากรูปแบบของอากาศ กรณีฤดูหนาวของซีกโลกเหนือคล้ายกับในซีกโลกใต้คือเกิดการแยกขอบเขตโดยลม ซึ่งอุณหภูมิต่ำพอที่จะเกิดเมฆขั้วโลก อย่างไรก็ตามลักษณะสมมาตรของทวีปจะน้อยกว่าแอนตาร์กติก ผลคือระบบอากาศในระดับกว้างจะต้านกับกระแสลมทำให้เกิดความไม่เสถียรหรือไม่อยู่นิ่งๆเหมือนกับขั้วโลกใต้ เมฆขั้วโลกเกิดน้อยกว่าแต่ความเย็นยังมีอยู่บ้างในช่วงเดือนมีนาคมเมื่อมีแสงแดดทำให้มีการสูญเสียโอโซนเช่นกัน หลายปีที่ผ่านมาพบว่าฤดูหนาวเหนืออาร์กติกเย็นผิดปกติเทียบกับ 30 ปีก่อน การเย็นอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดการสูญเสียโอโซนมากขึ้นรวมทั้งปริมาณการทำลายโอโซนได้เพิ่มขึ้นมาก อย่างไรก็ตามภาวะทางอุตุนิยมวิทยาก็ยังไม่เป็นที่เข้าใจดี ภาวะนี้อาจเกิดขึ้นอีกในปีที่จะมาถึง การสูญเสียโอโซนจะมีต่อไปอีก แต่เป็นไปได้ที่จะมีลักษณะย้อนกลับมาของโอโซนเช่น 10 ปีก่อน ซึ่งเป็นที่คาดว่าการสูญเสียโอโซนในอาร์กติกจะน้อยลงไป
    </td> </tr> <tr> <td width="100%">
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="100%">
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table>
     
  7. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    รอบรู้เรื่องโอโซน

    <table align="center" border="0" height="780" width="90%"><tbody><tr><td height="331" width="100%">การสูญเสียโอโซนทำให้รังสีอัลตราไวโอเลตที่พื้นเพิ่มขึ้นหรือไม่?

    "การสูญเสียโอโซนทำให้รังสีอัลตราไวโอเลตที่พื้นเพิ่มขึ้น เพราะว่าโอโซนเป็นตัวดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลต"
    ดวงอาทิตย์ปล่อยรังสีหรือพลังงานในช่วงกว้างรวมทั้งที่อยู่ในรูปรังสีอัลตราไวโอเลตพลังงานสูงด้วย ประมาณ 2 % บางส่วนคือ UV-B* ที่มีเป็นอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตเช่น ผิวหนังไหม้เกรียม มะเร็งผิวหนัง และโรคตา ปริมาณรังสี UV ที่ได้รับขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่ตั้งบนพื้นโลก ปริมาณโอโซนในบรรยากาศ เมฆ และมลภาวะ นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า การไม่มีเมฆ หรือมลภาวะในขณะที่โอโซนสูญเสียไปทำให้รังสี UVเพิ่มขึ้นที่พื้นโลก การลดลงของโอโซนมากสุดในรอบ 15 ปี ที่ผ่านมาที่พบเหนือทวีปแอนตาร์กติกช่วงเดือนกันยายน - ตุลาคมที่เกิดรูรั่วโอโซนพร้อมกับการตรวจวัดรังสี UVกับโอโซนพร้อมกันในหลายสถานีพบว่ารังสี UV มีมากเกินระดับปกติในเมือง San Diego, California ซึ่ง ดวงอาทิตย์ทำมุมสูงกับแนวราบ ในบริเวณที่มีการสูญเสียโอโซนน้อย เป็นการยากที่จะตรวจสอบว่า UV-B เพิ่มขึ้นหรือไม่ โดยเฉพาะการตรวจแนวโน้มของรังสี UV-B ที่สัมพันธ์กับโอโซนที่ลดลง เพราะความซับซ้อนในกรณีเมฆ มลภาวะและสภาวะของเครื่องมือที่ใช้เป็นเวลาหลายปี เป็นต้น ราวปลายทศวรรษ 1980 ยังไม่ค่อยมีเครื่องมือที่ถูกต้องเที่ยงตรงสำหรับตรวจวัด UV-B มากนัก ดังนั้นข้อมูลจากสถานีในเมืองที่เก่าแก่และไม่ใช่สำหรับใช้เฉพาะด้านอาจทำให้ข้อมูลเชื่อถือได้ยาก โดยเฉพาะการตรวจควบคู่หาความต่างของสภาวะเมฆหรือมลภาวะยังไม่ค่อยมี ขณะที่ การตรวจในสถานีที่ห่างไกลแหล่งชุมชน ปราศจากมลภาวะ จะเป็นการตรวจคุณภาพสูง การลดลงของโอโซนจึงจะสอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของ UV-B ภาพแสดงการตรวจวัดที่ขณะท้องฟ้าแจ่มใสจาก 6 สถานี แสดงให้เห็นว่าโอโซนที่ลดลงทำให้รังสี UV-B เพิ่มขึ้น
    <table align="center" border="0" height="780" width="90%"><tbody><tr><td height="331" width="100%">
    การสูญเสียโอโซนทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงหรือไม่?

    "การสูญเสียโอโซนทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงได้หลายทางแต่ไม่ใช่สาเหตุหลัก"
    โอโซนในบรรยากาศมีผลกระทบต่อสมดุลย์อุณหภูมิของโลก 2 ด้าน คือการดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตจะทำให้บรรยากาศสตราโตสเฟียร์อบอุ่นขึ้นและยังดูดกลืนรังสีอินฟราเรดที่ปลดปล่อยจากผิวโลก เป็นที่เก็บความร้อนจากชั้นโทรโพสเฟียร์ที่ดี ดังนั้นผลกระทบจากความผันแปรไปของโอโซนจึงขึ้นอยู่กับความสูงที่มันอยู่ โอโซนที่สูญเสียไปเนื่องจากก๊าซที่ประกอบด้วยคลอรีนและโบรมีนโดยมนุษย์ในสตราโตสเฟียร์ตอนล่างทำให้ผิวโลกเย็นลง ในทางกลับกันคาดว่าโอโซนจะเพิ่มขึ้นที่บริเวณผิวพื้นหรือโทรโพสเฟียร์ เพราะว่ามลภาวะในอากาศทำให้โลกอุ่นขึ้นหรือปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) การเปรียบเทียบผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงโอโซนกับก๊าซในบรรยากาศชนิดอื่น ถือเป็นการยากที่จะคำนวณได้ถูกต้อง จากรูป กราฟแท่งทึบแทนอุณหภูมิที่เปลี่ยน แท่งสีขาวแทนความเปลี่ยนแปลงโอโซน พบว่า CO2 ที่เพิ่มขึ้นทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงมากสุดซึ่งเกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆ เช่นถ่านหิน น้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ ปัจจุบัน CO2 ในบรรยากาศเพิ่มขึ้น 30 % เทียบกับ 50 ปีก่อน ก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ มีผลดังกราฟเช่น มีเทน (CH4) ไนตรัสออกไซด์ (N2O) สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน(CFCs) โอโซนผิวพื้น (Tropospheric Ozone) โอโซนในบรรยากาศสตราโตสเฟียร์(Stratospheric Ozone) ในทางกลับกันการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลกก็มีผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศโอโซนเช่นกัน เพราะโอโซนได้รับอิทธิพลจากภาวะทางอุตุนิยมวิทยาและโดยความเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบในบรรยากาศที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ สิ่งสำคัญคือสตราโตสเฟียร์ ที่เย็นมากที่สุดและยังคงเป็นเช่นนี้เป็นเวลานาน เป็นสิ่งกระตุ้นการสูญเสียโอโซนโดยเฉพาะเขตขั้วโลก ในปัจจุบันขนาดและขอบเขตของการเย็นลงจะทำให้ชั้นโอโซนกลับคืนสภาพเดิมช้าออกไปอีก
    </td> </tr> <tr> <td width="100%">
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table>

    </td> </tr> <tr> <td width="100%">
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table>
     
  8. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    รอบรู้เรื่องโอโซน

    <table align="center" border="0" height="780" width="90%"><tbody><tr><td height="331" width="100%">การสูญเสียโอโซนรุนแรงเพียงใด?

    "การสูญเสียโอโซนในบรรยากาศเกิดจากความเข้มข้นของสารสังเคราะห์ที่เพิ่มขึ้นในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา การสูญเสียมากที่สุดเกิดบริเวณทวีปแอนตาร์กติกล่าสุดเกิดในบริเวณนอกเขตขั้วโลกด้วย"
    ภาพแสดงขนาดการหายไปของโอโซนแปรตามละติจูด เช่น มีการสูญเสียน้อยหรือไม่มีในเขตร้อนใกล้เส้นศูนย์สูตร(หรือระหว่างละติจูด 20 N - 20 S) ขนาดการสูญเสียขึ้นกับฤดูกาล จากปี ค.ศ. 1979-1997 การสูญเสียที่ตรวจพบเหนือพื้น เท่ากับ 5-6 % สำหรับละติจูดกลาง ในช่วงฤดูหนาวถึงฤดูใบไม้ผลิบริเวณซีกโลกเหนือ 3 % สำหรับละติจูดกลางในช่วงฤดูร้อนถึงฤดูใบไม้ร่วง 5 % สำหรับทั้งปีในละติจูดกลางซีกโลกใต้ 60 % สำหรับรูรั่วโอโซนเหนือทวีปแอนตาร์กติกทุกฤดูใบไม้ผลิหรือกันยายนถึงตุลาคมนับจากทศวรรษ 1980s 20-25% สำหรับการสูญเสียโอโซนเหนือทวีปอาร์กติกในเดือนมกราคมถึงมีนาคม ในรอบประมาณ 10 ปีที่ผ่านมา สารประกอบคลอรีนและโบรมีนที่เพิ่มขึ้นมากคือสาเหตุรูรั่วโอโซนในทวีปแอนตาร์กติกและการลดลงในอาร์กติกและละติจูดกลาง การเปลี่ยนแปลงอีกอย่างหนึ่งเรียก "transient effect" หรือผลกระทบช่วงสั้นๆ ของชั้นโอโซน คือเกิดหลังจากภูเขาไฟระเบิดไปแล้วเช่น ภูเขาไฟ ปินาตูโบ (Pinatubo) ในปี ค.ศ. 1991พบว่าโอโซนลดลงหลายแห่งในปี ค.ศ. 1992 - 1993 ตัวอย่างเช่น การสูญเสียโอโซนเกิน 20 % ในบริเวณละติจูดกลางในซีกโลกเหนือ และระดับโอโซนที่แอนตาร์กติกที่มีรูรั่วตกลงไปที่ค่าต่ำสุดเป็นประวัติการณ์ ซึ่งเป็นสิ่งไม่ปกติ สำหรับในช่วงเวลาสั้นๆของค่าโอโซนปี ค.ศ. 1992 และ 1993 เชื่อว่าสัมพันธ์กับภูเขาไฟระเบิดที่มีอนุภาคในชั้นบรรยากาศสตราโตสเฟียร์มากขึ้นและไปเพิ่มการสูญเสียโอโซนจากคลอรีนและโบรมีนในบรรยากาศ พอๆ กับผลจากเมฆสตราโตสเฟียร์ที่ขั้วโลกมีอิทธิพลเพิ่มปฏิกิริยาเคมีลดโอโซนบริเวณขั้วโลก


    <table align="center" border="0" height="780" width="90%"><tbody><tr valign="top"><td height="331" width="100%">ชั้นโอโซนจะกลับคืนสภาพหรือไม่ ถ้ากลับคืน จะเป็นเมื่อใด?


    "การสูญเสียโอโซนเกิดจากสารประกอบคลอรีนและโบรมีนที่มนุษย์สังเคราะห์ขึ้น คาดว่าจะค่อยๆ หายไปประมาณกลางศตวรรษที่ 21 เมื่อสารประกอบเหล่านี้ค่อยๆหายไปจากบรรยากาศโดยขบวนการตามธรรมชาติ"
    ความสำเร็จอันนี้เกิดจากข้อตกลงระหว่างประเทศในการหยุดผลิตและใช้สารทำลายโอโซน การปฏิบัติตามข้อตกลงอย่างเต็มที่จะช่วยให้ประสบความสำเร็จในการฟื้นฟูชั้นโอโซนได้ ด้วยการดำเนินการต่างๆ ที่สำคัญๆ โดยย่อ ดังนี้ ปี ค.ศ.1981 มีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงศักยภาพของคลอรีนและโบรมีนในการทำลายชั้นโอโซน ปี ค.ศ. 1985 มีอนุสัญญาเวียนนาสำหรับพิทักษ์ชั้นโอโซน (Vienna Convention) ปี ค.ศ. 1987 มีพิธีสารมอนทรีออลว่าด้วยการเลิกใช้สารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน (Montreal Protocol) ปี ค.ศ. 1990 มีการแก้ไขข้อกำหนดในการควบคุมสารทำลายชั้นโอโซน ณ กรุงลอนดอน (London Amendment) ให้มีการเลิกผลิตและใช้สารทำลายโอโซน (CFCs, Halons) ภายในปี 2000 ในประเทศพัฒนาและ 2010 ในประเทศกำลังพัฒนา และเพิ่มมาตรการควบคุมสารตัวอื่นคือ CCl4 ภายในปี ค.ศ. 2000 และ Methyl Chloroform ภายในปี ค.ศ.2005 ในประเทศพัฒนา ปัจจุบันมีสมาชิกให้สัตยาบันแล้วจำนวน 136 ประเทศ รวมทั้ง ประเทศไทย ปี ค.ศ. 1992 มีการแก้ไขข้อกำหนดในการควบคุมสารทำลายชั้นโอโซน ณ กรุงโคเปนฮาเกน (Copenhagen Amendment) โดยเปลี่ยนเวลาเลิกผลิตและใช้สารทำลายโอโซนให้เร็วขึ้นจากปี ค.ศ. 2000 เป็น 1996 สำหรับประเทศพัฒนา เพิ่มสารควบคุม ไฮโดรโบรโมฟลูออโรคาร์บอน (HBFCs)และไฮโดรคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (HCFCs) สารทดแทนชั่วคราวซึ่งมีศักยภาพในการทำลายโอโซนต่ำ รวมทั้ง Methyl Bromide เข้าไปด้วย ปัจจุบันมีสมาชิกให้สัตยาบันแล้วจำนวน 101 ประเทศ รวมทั้ง ประเทศไทย ปี ค.ศ. 1995 มีการแก้ไขข้อกำหนดในการควบคุมสารทำลายชั้นโอโซน ณ กรุงเวียนนา (Vienna Amendment) เกี่ยวกับข้อเพิ่มเติมอื่นๆ เช่น กำหนดระยะเวลาผ่อนผัน 10 ปี ให้ประเทศกำลังพัฒนาดำเนินการตามพันธกรณีของสารควบคุมกลุ่มสาร CFCs Halons CCl4 และ Methyl Chloroform รวมถึง ให้ใช้ปริมาณ Methyl Bromide ตามตัวเลขปี ค.ศ.1994 เป็นเกณฑ์ ปี ค.ศ. 1997 มีการแก้ไขข้อกำหนดในการควบคุมสารทำลายชั้นโอโซน ณ นครมอนทรีออล (Montreal Amendment) เกี่ยวกับข้อเพิ่มเติมอื่นๆ เช่นการควบคุม Methyl Bromide ให้ลดลง 25 % 50% 75% 100% ภายในปี 1999 2001 2003 และ 2005 ตามลำดับ สำหรับประเทศพัฒนาให้ลดลง 20 % และ 100% ในปี ค.ศ. 2005 และ 2015 ตามลำดับในประเทศกำลังพัฒนา ปี ค.ศ. 1999 มีการแก้ไขข้อกำหนดในการควบคุมสารทำลายชั้นโอโซน ณ กรุงปักกิ่ง (Beijing Amendment) เกี่ยวกับข้อเพิ่มเติมอื่นๆ เช่น ควบคุมสารโบรโมคลอโรมีเทน และไฮโดรคลอโรฟลูออโรคาร์บอน คลอรีนและโบรมีนเริ่มลดลงในปี ค.ศ. 1995 เพราะว่าต้องใช้เวลา 3-6 ปีในการคลุกเคล้ากับอากาศที่ผิวพื้นและขึ้นไปในบรรยากาศจากนั้นปริมาณคลอรีนจะเริ่มคงที่และลดลงอย่างช้าๆ ด้วยการปฏิบัติตามข้อตกลงอย่างเต็มที่จะทำให้ชั้นโอโซนในบรรยากาศกลับคืนมาในสภาพปกติประมาณกลางศตวรรษที่ 21 การกลับคืนอย่างช้าๆ เทียบกับการถูกทำลายอย่างรวดเร็วโดย CFCs เพราะต้องอาศัยเวลาในขบวนการตามธรรมชาติที่จะสลายคลอรีนและโบรมีนจากบรรยากาศ อายุของ CFCs ส่วนมากอยู่ในช่วง 50 ถึงหลายร้อยปี อย่างไรก็ตามอนาคตของชั้นโอโซนยังขึ้นกับองค์ประกอบอื่นนอกจากสารประกอบคลอรีนและโบรมีนด้วย เช่น มีเทน ไนตรัสออกไซด์ อนุภาคซัลเฟต ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกที่เปลี่ยนแปลง เหตุนี้ชั้นโอโซน ดูเหมือนจะไม่เหมือนกับช่วงก่อนทศวรรษ 1980 นัก ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตามการค้นพบลักษณะการสูญเสียไปโอโซนและข้อตกลงต่างๆ จะช่วยให้การรักษาและป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นได้ รูปแสดงปริมาณคลอรีนและโบรมีนในอดีตและโปรเจคชั่นทำนายผลหากไม่มีพิธีสารมอนทรีออลและการแก้ไขต่างๆ แล้ว CFCs และสารทำลายโอโซนอื่นๆ จะเพิ่มขึ้นในบรรยากาศ ปริมาณ คลอรีนและโบรมีน เทียบกับปี ค.ศ. 1980 จะเป็น 10 เท่าประมาณในปี ค.ศ. 2050 ตรงกันข้ามการมีข้อตกลงต่างๆ จะให้ผลการปล่อยสารทำลายโอโซนเป็นไปตามเส้นประดังรูป


    ขอขอบคุณข้อมูลจาก


    http://ozone.tmd.go.th

    </td> </tr> <tr valign="top"> <td width="100%">
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="100%">
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table>
     
  9. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    ขบวนการทางเคมีที่นำไปสู่การสลายโอโซน

    [FONT=&quot]การลดลงของโอโซนในชั้นสตราโตสเฟียร์ตอนล่างบริเวณขั้วโลก เกิดจากผลของปฏิกิริยาทางเคมีที่เริ่มจากการเปลี่ยนก๊าซพวกฮาโลเจน หรือคลอรีนและโบรมีน [FONT=&quot](Cl และ Br) ที่มีช่วงชีวิตนาน ไปอยู่ในรูปที่สะสมกันอยู่หนาแน่นเป็นแอ่ง (Reservoir) และมีความเสถียรน้อย แล้วแอ่งที่ประกอบด้วยคลอรีนก็แตกตัวโดยปฏิกิริยาในเมฆชั้นสตราโตสเฟียร์บริเวณขั้วโลก และปล่อยรีแอคทีฟคลอรีน และ อนุมูลของคลอรีนโมโนออกไซด์ (Cl และ ClO) ความเข้มข้นสูงออกมา ซึ่งนำไปสู่ วัฏจักรคะตาไลติก ที่ทำลายโอโซนได้อย่างรวดเร็วเมื่อมีแสงแดด[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]แอ่งที่ประกอบด้วยโบรมีน จะไม่มีความเสถียร ในตอนกลางวันโบรมีนส่วนมากอยู่ในรูป โบรมีนและโบรมีนโมโนออกไซด์ [FONT=&quot](Br และ BrO) อนุมูลเหล่านี้ยังรวมอยู่ในวัฏจักรคะตาไลติกซึ่งทำลายโอโซนได้อย่างรวดเร็วอีกด้วย [/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]นอกจากบริเวณเหนือขั้วโลกแล้ว ในเขตละติจูดกลางก็เกิดขบวนการเดียวกัน แม้ว่าปริมาณคลอรีนในสตราโตสเฟียร์ส่วนมากถูกดึงดูดให้อยู่บริเวณแอ่งเหนือขั้วโลก เหตุนี้ การสูญเสียโอโซนเขตนี้จึงต่ำกว่าเหนือขั้วโลก[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]แอ่งคลอรีนก็คือกรดไฮโดรคลอริก [FONT=&quot](HCl) และ คลอรีนไนเตรต (ClONO<sub>2</sub>) ส่วนแอ่งของไนโตรเจนออกไซด์ ได้แก่ ไดไนโตรเจนเพนตะออกไซด์ (N<sub>2</sub>O<sub>5</sub>) และกรดไนตริก (HNO<sub>3</sub>) ทุกปฏิกิริยาของก๊าซระหว่างแอ่งต่างๆ จะช้ามาก แต่ปฏิกิริยาที่เกิดเร็วก็สามารถเกิดขึ้นได้บนผิวที่เหมาะสมหรือในสารละลาย หรือเฮเตอโรจีเนียส (Heterogeneous reactions) จากการทดลองในห้องปฏิบัติการพบปฏิกิริยาที่สำคัญดังนี้[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]HCl + ClONO<sub>2</sub>à[FONT=&quot] HNO<sub>3</sub>+Cl (1)[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ClONO<sub>2</sub>+H<sub>2</sub>O à[FONT=&quot] HNO<sub>3</sub>+HOCl (2)[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]HCl+HOCl à[FONT=&quot] H2O+Cl<sub>2</sub> (3)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]N<sub>2</sub>O<sub>5</sub>+H<sub>2</sub>O à[FONT=&quot] 2HNO<sub>3</sub> (4)[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]สารประกอบคลอรีนที่อยู่ในรูปปฏิกิริยาเหล่านี้พร้อมที่จะถูกสลายตัวโดยแสงแดด แม้ว่าจะมีแสงน้อยก็สามารถปล่อยอะตอมคลอรีนออกมาได้ ปฏิกิริยาเฮเตอโรจีเนียส ที่เกี่ยวข้องกับโบรมีน มีดังนี้[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]BrONO<sub>2</sub>+H<sub>2</sub>O à[FONT=&quot] HNO<sub>3</sub>+HOBr (5)[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]HOBr+HCl à[FONT=&quot] H<sub>2</sub>O+BrCl (6)[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]กรดไนตริกที่อยู่ในรูปปฏิกิริยาเหล่านี้ สามารถเหลือเป็นอนุภาคได้ ดังนั้นความเข้มข้นของไนโตรเจนออกไซด์ในสถานะก๊าซจึงลดลงที่เรียกว่า ดีนอกซิฟิเคชัน [FONT=&quot](denoxification) ซึ่งทำให้อัตราการใช้ ClO ช้าลงในปฏิกิริยา[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot] ClO+NO<sub>2</sub>+M à[FONT=&quot] ClONO<sub>2</sub>+M (7)[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]โดยที่ [FONT=&quot]M เป็นโมเลกุลอากาศใดๆ ดังนั้นจึงเป็นการทำให้ระดับ ClO ยังสูงอยู่ในช่วงฤดูใบไม้ผลิเหนือขั้วโลก[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]อนุภาคที่สนับสนุนปฏิกิริยาเฮเตอโรจีเนียสมีอยู่ตลอดชั้นสตราโตสเฟียร์ มีมากโดยเฉพาะในฤดูหนาวเหนือขั้วโลก อนุภาคซัลเฟตหรือหยดของเหลวของกรดซัลฟุริก[FONT=&quot](มักจะอยู่ในชั้นสตราโตสเฟียร์ตอนล่างๆ) ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากการเกิดออกซิเดชันของคาโบนิลซัลไฟด์ ซึ่งเป็นการเกิดโดยธรรมชาติของสารประกอบซัลเฟอร์ที่มีช่วงชีวิตนานพอที่จะเคลื่อนย้ายสู่ชั้นสตราโตสเฟียร์อย่างช้าๆ อีกอย่างหนึ่ง ที่มาของฝุ่นละอองในอากาศคือซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่ถูกปล่อยสู่บรรยากาศโดยภูเขาไฟระเบิดซึ่งสามารถเพิ่มอนุภาคฝุ่นละอองในอากาศได้หลายเท่ากว่าปกติ[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot] ที่ละติจูดสูงในฤดูหนาวฝุ่นละอองซัลเฟตซึ่งเป็นของเหลวเหล่านี้สามารถเพิ่ม ปริมาณหยดน้ำ และกรดไนตริกขึ้นเพื่อก่อเป็นอนุภาคของเมฆชั้นสตราโตสเฟียร์เหนือขั้วโลกที่อุณหภูมิ ประมาณ -78 องศาเซลเซียส อนุภาคเมฆซึ่งเป็นของแข็งที่ประกอบด้วยน้ำและกรดไนตริกจึงสามารถเกิดขึ้นได้ที่อุณหภูมิต่ำเช่นนี้ [FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot] ปฏิกิริยาที่ (1)-(6) สามารถเกิดได้กับฝุ่นละอองซัลเฟต โดยปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องกับคลอรีนจะขึ้นกับอุณหภูมิและมีอิทธิพลต่อเมฆชั้นสตราโตสเฟียร์เหนือขั้วโลกมาก อย่างไรก็ตามที่ละติจูดกลาง ปฏิกิริยาของฝุ่นละอองเหล่านี้สามารถไปมีผลทางเคมีโดยเฉพาะเมื่อมีภูเขาไฟระเบิดซึ่งมีอนุภาคฝุ่นละอองจำนวนมาก เมฆชั้นสตราโตสเฟียร์เหนือขั้วโลก ยังไปส่งเสริมปฏิกิริยาที่ (1)-(4) ให้ปล่อยรีแอคทีฟคลอรีนและลดพวกไนโตรเจนออกไซด์ หรือดีนอกซิฟิเคชัน จึงเป็นโอกาสที่จะเกิดการสลายโอโซน [FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot] หลังจากการเกิดปฏิกิริยาเฮเตอโรจีเนียส แอคทีฟคลอรีนแล้ว แสงแดดสามารถนำให้เกิดวัฏจักรคะตาไลติกต่อไปนี้ ในบริเวณขั้วโลก [FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot](I) ClO + ClO + M à[FONT=&quot] Cl<sub>2</sub>O<sub>2</sub>+M (II) ClO+BrO [/FONT]à[FONT=&quot] Br+Cl+O<sub>2</sub>[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]Cl<sub>2</sub>O<sub>2</sub>+hn[FONT=&quot] [/FONT]à[FONT=&quot] Cl+ClO<sub>2</sub> Cl+ O<sub>3 </sub>[/FONT]à[FONT=&quot] ClO+O<sub>2<o:p></o:p></sub>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ClO<sub>2</sub>+ M à[FONT=&quot] Cl+O<sub>2</sub>+M Br+O<sub>3 </sub>[/FONT]à[FONT=&quot] BrO+O<sub>2<o:p></o:p></sub>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]2 x (Cl+O<sub>3 </sub>à[FONT=&quot] ClO+O<sub>2</sub>) Net: 2O<sub>3 </sub>[/FONT]à[FONT=&quot] 3O<sub>2</sub>[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]Net: [FONT=&quot] 2O<sub>3 </sub> [/FONT]à[FONT=&quot] 3O<sub>2</sub>[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]อนุมูล [FONT=&quot]ClO หรือ Cl<sub>2</sub>O<sub>2 </sub>ในวัฏจักร (I) จะเป็นการไม่เสถียร และวัฏจักรจะเป็นผลมากสุดที่อุณหภูมิต่ำจึงมีผลทำให้สูญเสียโอโซนมากสุดในทวีปแอนตาร์กติก กับรีแอคทีฟโบรมีนที่เกิดจากวัฏจักร (II) ในเขตอาร์กติกที่อบอุ่นกว่าการสูญเสียที่มากกว่าอาจเกิดโดย วัฏจักร (II) ในเขตละติจูดกลางชั้นสตราโตสเฟียร์ ทั้งวัฏจักร ClO+BrO และ BrO+HO<sub>2</sub> จะทำให้ ฮาโลเจนเพิ่มขึ้น-ที่ชักนำการลดลงเชิงเคมี[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]สูตรเคมีที่เกี่ยวข้อง[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]

    <table style="width: 92%; margin-left: -36pt;" border="0" cellpadding="0" width="92%"> <tbody><tr> <td style="padding: 0.75pt; width: 56.42%;" width="56%">
    • [FONT=&quot]BrO โบรมีน โมโนออกไซด์<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]BrONO<sub>2</sub> โบรมีนไนเตรต<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]CCl<sub>4</sub> คาร์บอนเตตระคลอไรด์<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]CH<sub>3</sub>CCl<sub>3</sub> เมธิลคลอโรฟอร์ม (1,1,1-ไตรคลอโรอีเทน)<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]CF<sub>2</sub>Cl<sub>2</sub> CFC-12 ไดคลอโรไดฟลูออโรมีเทน<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]CFCl<sub>3</sub> CFC-11 ฟลูออโรไตรคลอโรมีเทน<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]CH<sub>4</sub> มีเทน<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]CH<sub>3</sub>Br เมธิลโบรไมด์<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]CHF<sub>2</sub>Cl HCFC-22 คลอโรไดฟลูออโรมีเทน<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]ClO คลอรีน โมโนออกไซด์<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]ClONO<sub>2</sub> คลอรีนไนเตรต<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]N<sub>2</sub>O<sub>5</sub> ไดไนโตรเจน เพนโตออกไซด์<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]HOCl กรด ไฮโดรคลอรัส <o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="padding: 0.75pt; width: 42.56%;" width="42%">
    • [FONT=&quot]NO<sub>x</sub> ไนโตรเจนออกไซด์ (NO, NO2, NO3)<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]HNO<sub>3</sub> กรดไนตริก<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]SO<sub>2</sub> ซัลเฟอร์ไดออกไซด์<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]H<sub>2</sub>HO<sub>4</sub> กรด ซัลฟุริก<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]HCl กรดไฮโดรคลอริก<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]HBr ไฮโดรเจนโบรไมด์<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]OClO คลอรีนไดออกไซด์<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]OH อนุมูลไฮดรอกซิล<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]ClO<sub>x</sub> แอคทีฟคลอรีน ทั้งหมด<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]IO ไอโอดีน โมโนออกไซด์<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]Cl<sub>y</sub> คลอรีนที่เป็นอนินทรีย์ ทั้งหมด<o:p></o:p>[/FONT]
    • [FONT=&quot]Br<sub>y</sub> โบรมีนที่เป็นอนินทรีย์ ทั้งหมด<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> </tr> </tbody></table> ​
    [FONT=&quot] <hr align="center" size="3" width="100%"> [/FONT]​
    [FONT=&quot]ที่มา [FONT=&quot]: [/FONT][FONT=&quot]Stratospheric ozone 1999, DETR Environment Transport Regions[/FONT][/FONT]
     
  10. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    สารที่ทำลายโอโซนและเป็นมิตรกับโอโซน

    [FONT=&quot]สารทำลายโอโซน[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]สารทำลายโอโซน หรือ[FONT=&quot] โอโซนดีพลีตติ้งซับสแตนท์[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]([/FONT][FONT=&quot]Ozone Depleting Substance, ODS) <o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]เป็นสารเคมีที่สังเคราะห์ขึ้นโดยมนุษย์เพื่อใช้ในภาคอุตสาหกรรม กว่า 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งพบว่าเป็นต้นเหตุของการทำลายชั้นโอโซนในบรรยากาศทำให้ชั้นโอโซนบางลง การบางลงทำให้รังสีอัลตราไวโอเลตที่เป็นอันตรายส่องถึงโลกมากขึ้นและเป็นอันตรายต่อมนุษย์ เช่น มะเร็งผิวหนัง ต้อเนื้อต้อลม พืชแคระแกรน วัสดุต่างๆ เปราะและหักพังเร็วขึ้น [FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]สารทำลายโอโซน ได้แก่สารพวก[FONT=&quot] ฮาโลคาร์บอน[/FONT][FONT=&quot] (Halocarbon) คือสารที่มีส่วนประกอบของธาตุ คลอรีน (Cl) ฟลูออรีน (F) โบรมีน (Br) คาร์บอน (C) และไฮโดรเจน (H) ซึ่งเป็นคำรวมที่เรียกสารทำลายโอโซนส่วนมาก เช่น [/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]คลอโรฟลูออโรคาร์บอนหรือซีเอฟซี[FONT=&quot] (Ch[/FONT][FONT=&quot]l[/FONT][FONT=&quot]orofluorocarbon[/FONT][FONT=&quot],[/FONT][FONT=&quot] CFCs[/FONT][FONT=&quot]) คือ สารที่มีส่วนประกอบของธาตุ คลอรีน ฟลูออรีนและคาร์บอน ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องทำความเย็นในตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ โฟม กระป๋องสเปรย์ สารดับเพลิง สารชะล้าง [/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]ฮาลอน[FONT=&quot] (Halon) ประกอบด้วย คาร์บอน[/FONT][FONT=&quot],[/FONT][FONT=&quot]โบรมีน[/FONT][FONT=&quot],[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ฟลูออรีน[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]และ [/FONT][FONT=&quot]คลอรีน[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]มักใช้เป็นสารดับเพลิง[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]คาร์บอนเตตระคลอไรด์[FONT=&quot] (CCl<sub>4</sub>) ประกอบด้วย คาร์บอน และคลอรีน มักใช้เป็นตัวทำละลายในห้องปฏิบัติการ การผลิตยาเม็ด และใช้ทดสอบการดูดซึมของถ่านกัมมันตรังสี [/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]เมธิลคลอโรฟอร์ม[FONT=&quot] ([/FONT][FONT=&quot]M[/FONT][FONT=&quot]ethyl Chloroform or 1,1,1-Trichloroethane) ประกอบด้วย คาร์บอน ไฮโดรเจน และ คลอรีน มักใช้ใน อุตสาหกรรมการผลิตเสื้อผ้า ผ้าเย็น และใช้ทำความสะอาดมอเตอร์เครื่องกำเนิดไฟฟ้า เป็นต้น[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ปัจจุบันประเทศต่างๆได้ตัดสินใจหยุดผลิตและบริโภค ยกเว้นเพื่อการใช้กรณีจำเป็น และในอุตสาหกรรมได้พยายามพัฒนาสารทดแทนที่เป็นมิตรกับโอโซน [FONT=&quot]([/FONT][FONT=&quot]Ozone[/FONT][FONT=&quot]-[/FONT][FONT=&quot]Friendly[/FONT][FONT=&quot]) ตามพิธีสารมอนทรีออลซึ่งเป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ว่าด้วยการลดและเลิกใช้สารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน


    [/FONT]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]สารทดแทนและเป็นมิตรกับโอโซน[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]Alternative Ozone-friendly[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]ปัจจุบันมีการผลิตในประเทศอุตสาหกรรมกันอย่างกว้างขวาง แม้ในประเทศกำลังพัฒนาเช่น อินเดีย จีน บราซิล ผู้ผลิตสินค้าต่างๆมีการตื่นตัวในการลดการใช้สาร [FONT=&quot]CFCs และหันมาใช้สารทดแทนเป็นส่วนประกอบในการผลิต โดยมีระบุในผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับการใช้สาร CFCs หรือใช้สารทดแทนต่างๆ ซึ่งได้แก่<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot]1.[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ภาคของเครื่องทำความเย็น [/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot]ก.[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ตู้เย็นผลิตใหม่[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot](New refrigeration units) ใช้สารทดแทนเป็น HFC-134a, สารไฮโดรคาร์บอนต่างๆ HFC blends, HCFC 22 และ แอมโมเนีย<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot]ข.[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เครื่องปรับอากาศ[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot](Air-cooled air conditioning units) ใช้ HFC-134a, HFC blends<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot]ค.[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เครื่องทำน้ำเย็นในระบบปรับอากาศ[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot](Chiller equipment) ใช้ HFCs, HCFC และ HFC blends<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot]ง.[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เครื่องปรับอากาศรถยนต์[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot](Mobile Air Conditioners) ใช้ HFC-134a, HFC blends<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot]2.[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ภาคการผลิตโฟม[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ใช้สารทดแทนที่ศักยภาพการทำลายโอโซนเป็นศูนย์ ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรคาร์บอนต่างๆ [FONT=&quot]HFC-152a หรือ HFC-134a และ HCFCs<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot]3.[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ละอองสเปรย์ [/FONT][FONT=&quot](Aerosols)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ใช้สารทดแทนได้แก่ สารไฮโดรคาร์บอนต่างๆ เช่น โพรเพน บิวเทน และ ไอโซ-บิวเทน [FONT=&quot]HCFC, HFCs ไดเมธิล อีเทอร์ และ เพอฟลูโอรอลอีเทอร์ เป็นต้น<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot]4.[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]การทำลายเชื้อโรค[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    [FONT=&quot]ใช้สารทดแทนที่ศักยภาพการทำลายโอโซนเป็นศูนย์ ได้แก่ เอธิลีนออกไซด์ 100[FONT=&quot]% ส่วนผสมของเอธิลีนออกไซด์และคาร์บอนไดออกไซด์ การสเตอริไรซ์ และ การใช้ฟอร์มัลดีไฮด์ รวมไปถึง HCFCs ต่างๆ <o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot]5.[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ตัวทำละลายคาร์บอนเตตระคลอไรด์[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    [FONT=&quot]ใช้สารทดแทนเป็นสารอินทรีย์เช่น อัลกอฮอล์ คีโตน และ อีสเตอร์ หรือ ที่มีคลอรีนคือ เพอคลอโรเอธิลีน เป็นต้น สารทดแทนเหล่านี้มีทั้งคุณและโทษ[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot]6.[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เครื่องดับเพลิง [/FONT][FONT=&quot](Fire-Fighting)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    [FONT=&quot]ให้มีการใช้สารเฮลอน กรณีจำเป็นเท่านั้น ส่วนสารทดแทน เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ หรือผงแป้ง[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot]7.[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]สารชะล้าง[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot](Solvents)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    [FONT=&quot]ทดแทน [FONT=&quot]CFC-113 และเมธิลคลอโรฟอร์ม เช่นการทำความสะอาดด้วยของเหลวและกึ่งของเหลว ใช้ไฮโดรคาร์บอน HCFCs เพอฟลูออโรคาร์บอน และ วิธีอื่นๆที่ไม่ใช่สารชะล้าง<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot]8.[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เมธิลโบรไมด์[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    [FONT=&quot]ใช้สารทดแทนในขบวนการอบหรือพ่นในดิน ได้แก่ การใช้แสงอาทิตย์ การพ่นไอน้ำ การควบคุมทางชีวภาพ การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชไร้ดิน และสารเคมีเช่น คลอโรพิริน เมธัมโซเดียม ดาโซเมต ฯลฯ


    http://ozone.tmd.go.th

    [/FONT]
     
  11. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    ฝนกรด

    [FONT=&quot]ฝนกรด[FONT=&quot] หมายถึง น้ำฝนที่มีค่า[/FONT][FONT=&quot] pH ต่ำกว่า 5.6[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ฝนกรด [FONT=&quot](Acid Rain)[/FONT][FONT=&quot] วัดได้จากการใช้เสกลที่เรียกว่า pH ซึ่งค่ายิ่งน้อยแสดงความเป็นกรดที่แรงขึ้น น้ำบริสุทธิ์มี pH เท่ากับ 7 น้ำฝนปกติมีความเป็นกรดเล็กน้อยเพราะว่ามีคาร์บอนไดออกไซด์ละลายอยู่ ส่วนฝนกรดจะมี pH ต่ำกว่า 5.6 ฝนกรดส่วนมากพบในบริเวณศูนย์กลางอุตสาหกรรมได้แก่ ทวีปยุโรป อเมริกา ญี่ปุ่น และจีน ตะกอนกรดสามารถอยู่ในรูปของฝน หมอก หิมะ และมีผลกระทบต่อพืช สัตว์น้ำ และสิ่งก่อสร้างต่างๆ ลมที่พัดแรงสามารถพัดพาอนุภาคกรดไปพื้นที่อื่นได้ไกลหลายร้อยกิโลเมตร<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shapetype id="_x0000_t75" coordsize="21600,21600" o:spt="75" o:preferrelative="t" path="m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe" filled="f" stroked="f"> <v:stroke joinstyle="miter"/> <v:formulas> <v:f eqn="if lineDrawn pixelLineWidth 0"/> <v:f eqn="sum @0 1 0"/> <v:f eqn="sum 0 0 @1"/> <v:f eqn="prod @2 1 2"/> <v:f eqn="prod @3 21600 pixelWidth"/> <v:f eqn="prod @3 21600 pixelHeight"/> <v:f eqn="sum @0 0 1"/> <v:f eqn="prod @6 1 2"/> <v:f eqn="prod @7 21600 pixelWidth"/> <v:f eqn="sum @8 21600 0"/> <v:f eqn="prod @7 21600 pixelHeight"/> <v:f eqn="sum @10 21600 0"/> </v:formulas> <v:path o:extrusionok="f" gradientshapeok="t" o:connecttype="rect"/> <o:lock v:ext="edit" aspectratio="t"/> </v:shapetype><v:shape id="_x0000_i1025" type="#_x0000_t75" style='width:444pt; height:340.2pt'> <v:imagedata src="acid.files/image001.png" o:title=""/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]-->[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="_x0000_i1026" type="#_x0000_t75" style='width:327.6pt;height:365.4pt'> <v:imagedata src="acid.files/image003.png" o:title=""/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]-->[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]การกำเนิดของฝนกรด[FONT=&quot] นักวิทยาศาสตร์พบว่า สาเหตุของฝนกรดคือ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ [/FONT][FONT=&quot](SO<sub>2</sub>) และ ออกไซด์ของไนโตรเจน (NO<sub>x</sub>) ซึ่งเกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงในเครื่องยนต์และโรงงานต่างๆ แล้วถูกปล่อยสู่บรรยากาศ และเกิดการทำปฏิกิริยากับน้ำ ออกซิเจน และสารเคมีอื่นๆ ก่อให้เกิดสารประกอบที่เป็นกรดซัลฟุริกและกรดไนตริกซึ่งมีแสงอาทิตย์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเหล่านี้ให้มากขึ้น เรียกว่า ขบวนการออกซิเดชัน<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ความเป็นกรดที่เพิ่มขึ้นของน้ำฝน เกิดจากมลพิษ [FONT=&quot]2 ตัวหลัก คือ<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]1. ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO<sub>2</sub>) ทำให้เกิดกรด ซัลฟุริก (H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>)<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]2. ออกไซด์ของไนโตรเจน (NO<sub>x</sub>) ทำให้เกิดกรด ไนตริก (HNO<sub>3</sub>)<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น จากการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในการผลิตกระแสไฟฟ้า[FONT=&quot],โรงงานอุตสาหกรรมต่าง[/FONT][FONT=&quot] ๆ การเผาไหม้ในเครื่องยนต์ดีเซล เบนซิน ส่วนที่เกิดจากธรรมชาติ เช่นการระเบิดของภูเขาไฟ การระเหยจากน้ำทะเล[/FONT][FONT=&quot] การเน่าเปื่อยของพืชและแพลงตอน มีน้อยมาก<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]กลไกการเปลี่ยนจากก๊าซ[FONT=&quot] SO<sub>2</sub> และ NO<sub>x</sub> เป็นตะกอนกรด[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]เกิดได้ทั้งในสถานะก๊าซและของเหลว[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]1.ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO<sub>2</sub>)<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]สถานะก๊าซ[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]เกิดทั้งหมด [FONT=&quot]2 ปฎิกิริยาด้วยกัน<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]1.1 โฟโต้ออกซิเดชั่นของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ โดย UV ซึ่งมีศักยภาพสูงในการกระตุ้นโมเลกุลและนำไปสู่ออกซิเดชัน<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]1.2 ปฎิกิริยาของซัลเฟอร์ไดออกไซด์กับออกซิเจนในบรรยากาศ ดังนี้<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]SO<sub>2</sub> + O<sub>2</sub> ---> 2SO<sub>3</sub> <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]SO<sub>3</sub>+H<sub>2</sub>O ---> H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]แต่พบว่าปฎิกิริยาทั้ง [FONT=&quot]2 ปฎิกิริยา ไม่มีความสำคัญมากนัก เนื่องจากเกิดได้ช้ามาก ปฎิกิริยาที่มีความสำคัญ คือ <o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]HO + SO<sub>2</sub> (+M) ---> H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]สถานะของเหลว[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ในสถานะนี้ [FONT=&quot]SO<sub>2</sub> จะมี 3 รูป<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot][S (IV)] ---> [SO<sub>2</sub> (aq)] + [HSO<sub>3</sub><sup>-</sup>] + [SO<sub>3</sub> <sup>2-</sup>]<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ซึ่งเกิดการแตกตัว โดย [FONT=&quot]2 กระบวนการนี้<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]SO<sub>2</sub> (aq) --> H<sup>+</sup> + HSO<sub>3</sub> <sup>2-</sup><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]HSO<sub>3</sub><sup>-</sup> (aq)---> H<sup>+</sup> + SO<sub>3</sub> <sup>2-</sup><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]การเกิดออกซิเดชั่นของซัลเฟอร์ไดออกไซด์เกิดโดยโมเลกุลของออกซิเจนกับตัวกระตุ้นจำพวกโลหะเช่น[FONT=&quot] Fe<sup>3+</sup> หรือ Mn<sup>2+</sup> หรือทั้ง 2 อย่างรวมกัน อย่างไรก็ตามการเกิดออกซิเดชั่นโดยโอโซนเป็นกระบวนการที่น่าสนใจเนื่องจากไม่ต้องมีตัวกระตุ้นและมีปริมาณในบรรยากาศมาก เช่น ปฎิกิริยาที่เกี่ยวข้องกับตัวกลาง(Intermediate) และไอออนของกรด peroxymonosulfurous ดังสมการ<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]HSO<sub>3</sub><sup>- </sup>+ H<sub>2</sub>O<sub>2</sub>--->A<sup>-</sup> + H<sub>2</sub>O<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]A<sup>-</sup> +[FONT=&quot] H<sup>+</sup> ---> H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub><o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]2. ออกไซด์ของไนโตรเจน [FONT=&quot](NO<sub>x</sub>)[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]สถานะก๊าซ[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ตัวการหลักในการเกิดกรดไนตริก คือ อนุมูลของไฮโดรเจน[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]HO +[FONT=&quot] NO<sub>2</sub> [+M] ----> HONO<sub>2</sub> (+M)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]จากนั้นจะเกิดออกซิเดชันโดยออกซิเจนในบรรยากาศอีกมาก แต่ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างเป็นตัวการหลักของการเกิดกรดไนตริก[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]สถานะของเหลว[FONT=&quot] มี [/FONT][FONT=&quot]3 รูป<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]2N<sub>2</sub>O([FONT=&quot]g) + H<sub>2</sub>O (l) ---->2H<sup>+</sup> + NO<sub>3</sub><sup>-</sup> + NO[/FONT]<dfn><sup>[FONT=&quot]2-[/FONT]</sup></dfn><sup>[FONT=&quot] [/FONT]</sup>[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]NO (g) + H<sub>2</sub>O (l) -----> 2H<sup>+</sup> + 2NO<sub>3</sub><sup>-</sup> + NO (g) <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]3N<sub>2</sub>O([FONT=&quot]g) + H<sub>2</sub>O (l) ----> 2H<sup>+</sup> + 2NO<sub>3</sub><sup>-</sup> + NO (g)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ปฎิกิริยา[FONT=&quot]ออกไซด์ของไนโตรเจน เหล่านี้เกิดที่ความกดบางระดับและมีเสถียรภาพต่ำ การเพิ่มขึ้นของปฎิกิริยาเกิดเมื่อมีตัวกระตุ้นจำพวกโลหะ[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ผลกระทบของฝนกรด[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]พืช[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ฝนกรดสามารถทำปฎิกิริยากับธาตุอาหารที่สำคัญของพืช เช่น [FONT=&quot]Calcium, magnesium และ potassium ทำให้พืชไม่สามารถนำธาตุอาหารไปใช้ได้ และ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในบรรยากาศยังไปปิดปากใบพืช ทำให้ความสามารถในการสังเคราะห์แสงลดลง<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]สัตว์[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]โดยเฉพาะสัตว์น้ำจะได้รับผลกระทบโดยตรง จากการศึกษาพบว่า ความเป็นกรดที่เพิ่มขึ้นของน้ำทำให้สัตว์น้ำไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ จากการศึกษาพบว่า จำนวนปลา [FONT=&quot]Trout และ salmonในประเทศนอร์เวย์ได้ลดจำนวนลงเป็นจำนวนมากและในระยะยาวยังพบว่าปลาหยุดการผสมพันธุ์อีกด้วย นอกจากนี้สัตว์ที่อยู่ในลำดับขั้นที่สูงกว่าก็จะได้รับผลกระทบเช่นเดียวกัน<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]สิ่งก่อสร้าง[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ฝนกรดสามารถละลาย [FONT=&quot]Calcium carbonate ในหินเกิดการผุพัง เช่น ปิรามิดในประเทศอียิปต์ และ ทัชมาฮาลในประเทศอินเดีย<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]การควบคุมและป้องกัน[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]สามารถทำได้โดยการลดตัวการที่จะทำให้เกิดฝนกรด โดยลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลให้น้อยลง จะสามารถทำให้ค่าความเป็นกรดในน้ำฝนลดลงได้ สำหรับพวกเราควรระมัดระวัง การดื่มน้ำฝนที่เป็นกรดและสารพิษอื่นๆ ซึ่งตกลงมาผ่านอากาศที่เป็นมลพิษในเมืองใหญ่เช่น กรุงเทพฯ พบว่าน้ำฝนมีความเป็นกรดสูง คือ [FONT=&quot]pH[/FONT][/FONT][FONT=&quot] อยู่ระหว่าง 3.5-5.0 โดยเฉพาะช่วงที่ฝนตกใหม่ๆ น้ำฝนจะไม่สะอาด ส่วนในชนบทที่อากาศสะอาด เราจะสามารถดื่มน้ำฝนได้อย่างปลอดภัย

    http://ozone.tmd.go.th


    [/FONT]
     
  12. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    เป็นอย่างไรบ้างครับ กับข้อมูลที่นำมาเสนอ หวังว่าเพื่อนสมาชิกคงจะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศและองค์ความรู้อื่น ๆ ประกอบด้วยนะครับ หากข้อมูลที่ผมได้นำเสนอเป็นประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลยนะครับ เพื่อจะได้ช่วยกันรักษาโลกใบนี้ให้คงอยู่อย่างไม่มีมลพิษต่อไปครับ

    หากมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทความที่นำเสนอหรืออยากให้เพิ่มบทความไหนก็ comment มาได้นะครับ
     
  13. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    สถานะก๊าซเรือนกระจก

    [FONT=&quot]กิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้กลายเป็นส่วนสำคัญที่ให้ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทั่วโลก นับตั้งแต่ยุคอุตสาหกรรมเริ่มขึ้น โดยได้เพิ่มการใช้พื้นที่ดิน น้ำ แร่ธาตุและแหล่งธรรมชาติอื่นๆ และการเติบโตขึ้นของประชากรและเศรษฐกิจจะส่งผลกระทบต่อโลกไปอีกในอนาคต ภูมิอากาศ ตลอดจน ขบวนการทางชีวเคมีของโลก [FONT=&quot](Biogeochemical) และระบบนิเวศน์ในธรรมชาติต่างๆ ได้เชื่อมกันใกล้ชิดยิ่งขึ้น และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ในระบบใดระบบหนึ่ง อาจส่งผลกระทบถึงระบบอื่นๆ ซึ่งสามารถให้ผลที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตต่างๆ<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]สสารพวกก๊าซและอนุภาคต่างๆที่เกิดจากมนุษย์และถูกปล่อยสู่บรรยากาศได้ทำให้สมดุลพลังงานในบรรยากาศเปลี่ยนไปและทั้งนี้ก็มีผลกระทบต่อกันระหว่างระบบบรรยากาศ น้ำ และสิ่งมีชีวิต อย่างไรก็ตามมนุษย์ยังมีความรู้ความเข้าใจที่ยังไม่เพียงพอเกี่ยวกับองค์ประกอบทางเคมีของบรรยากาศ และความสัมพันธ์ของมันระหว่างระบบต่างๆ ความไม่แน่ชัดส่วนมากทางด้สนเคมีในบรรยากาศและมหาสมุทรเนื่องมาจากการขาดแคลนข้อมูลจากการตรวจวัดที่เพียงพอ[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกได้เริ่มโครงการเฝ้าติดตามบรรยากาศ ([FONT=&quot]WMO GAW) ขึ้นในปี 1989 เพื่อส่งเสริมการตรวจวัดที่เป็นระบบและเชื่อถือได้ รวมทั้งก๊าซเรือนกระจกด้วย (CO<sub>2</sub>, CH<sub>4</sub>, CFCs, N<sub>2</sub>O, etc.) และก๊าซอื่นๆ เช่น CO, NO<sub>x</sub> และ SO<sub>2</sub> ในบรรยากาศ<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]เดือนตุลาคม 1990 [FONT=&quot]WMO ได้ก่อตั้งศูนย์ข้อมูลก๊าซเรือนกระจกโลก (World Data Centre of Greenhouse Gases, WDCGG) ขึ้น ณ สำนักงานอุตุนิยมวิทยาแห่งญี่ปุ่น เพื่อให้เป็นศูนย์กลางการเก็บรวบรวม การทำเอกสาร และเผยแพร่ข้อมูลก๊าซเรือนกระจกและที่เกี่ยวข้องในบรรยากาศกับมหาสมุทร สำหรับโครงการเฝ้าติดตามบรรยากาศทั่วโลก ดังนั้น WDCGG จึงเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุกสถานีตรวจวัดทั่วโลกที่อยู่ในโครงการนี้และโครงการวิจัยต่างๆ ตลอดจนการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจกและก๊าซอื่นๆ จากข้อมูลที่มีอยู่ และมีรายงานผลการวิเคราะห์โดยสรุปเป็นระยะๆ <o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]การวิเคราะห์[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]

    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]

    [FONT=&quot]ก๊าซเรือนกระจก ต่างๆ จะถูกปล่อย เปลี่ยนรูปและสลายไปในบรรยากาศได้หลายทางเช่น[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]คาร์บอนไดออกไซด์ [FONT=&quot](CO<sub>2</sub>) ถูกปล่อยจากกิจกรรมมนุษย์จำพวก การสันดาปเชื้อเพลิงฟอสซิล และถ่ายเทแลกเปลี่ยนกับสิ่งมีชีวิตโดยการหายใจ การสังเคราะห์แสง และจากมหาสมุทร ส่วนการเปลี่ยนรูปของ คาร์บอนไดออกไซด์ ในบรรยากาศเองมีเพียงเล็กน้อยเท่านั้น <o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]มีเทน ([FONT=&quot]CH<sub>4</sub>) มักถูกปล่อยที่ผิวโลกสู่บรรยากาศโดยขบวนการหายใจที่ไม่ใช้อากาศของแบคทีเรีย (anaerobic) และจากการสังเคราะห์อื่นๆ การสลายตัวโดยการออกซิเดชันกับอนุมูลไฮดรอกซิล (OH) ในบรรยากาศ สารบางชนิดเช่น โอโซน จะ เกิดและสลายตัวในบรรยากาศผ่านขบวนการโฟโตเคมีคัล<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]จุดมุ่งหมายของการตรวจวัดก๊าซเรือนกระจกคือ เพื่อติดตามความเปลี่ยนแปลงและพัฒนาความรู้ความเข้าใจ ในกลไกการผลิต/การปล่อย และการสลายตัว ตลอดจนการเตรียมข้อมูลเพื่อการทำนายการเปลี่ยนแปลงของก๊าซเรือนกระจก [FONT=&quot]WDCGG มีบทบาทในการรวบรวม วิเคราะห์ จัดทำเอกสารและเผยแพร่ข้อมูลความเข้มข้นของก๊าซต่างๆ จากการตรวจวัดที่มีรายงานเข้ามา<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]สรุปผลการวิเคราะห์[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]

    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]

    [FONT=&quot]1. คาร์บอนไดออกไซด์ ([FONT=&quot]CO<sub>2</sub>) <o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ระดับของคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งทำให้เกิดความอบอุ่นของโลกมากที่สุดในจำพวกก๊าซเรือนกระจก ได้เพิ่มขึ้นตั้งแต่ยุคก่อนอุตสาหกรรม ความเข้มข้นเฉลี่ยทั่วโลก 363 ส่วนต่อล้านส่วนในปี 1997 มากที่สุดในซีกโลกเหนือและละติจูดกลาง เนื่องจากมีแหล่งกำเนิดของคาร์บอนไดออกไซด์มากในบริเวณนี้ อัตราเพิ่มทั่วโลก 1.5 ส่วนต่อล้านส่วนต่อปี ระหว่างปี 1983-1997 [FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot] <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]
    <o:p></o:p>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]อย่างไรก็ตามอัตราเพิ่มระหว่างปีต่างๆ ได้แปรผันไปอย่างมาก โดย ปี 1983 1987/1988 1994/1995 และ 1997 สัมพันธ์กับเหตุการณ์ [FONT=&quot]El Nino ทางซีกโลกใต้ (ENSO) ซึ่งรุนแรงมากในปี 1997/1998 ทำให้ระดับ CO<sub>2</sub> สูงเป็นกรณีพิเศษในปี 1998 ที่สถานี Mauna Loa ใน ฮาวาย สหรัฐอเมริกา และ Ryori ในญี่ปุ่น อัตราเพิ่มที่ต่ำเป็นพิเศษในปี 1992 โดยมีอัตราเพิ่มเป็นลบในละติจูดกลางซีกโลกเหนือ เกิดจากอุณหภูมิต่ำทั่วโลก และภูเขาไฟ ปินาตูโบในปี 1991 แอมปลิจูดของวัฏจักรตามฤดูกาลสูงอย่างชัดเจนใน ซีกโลกเหนือและละติจูดกลาง แอมปลิจูดต่ำในละติจูดใกล้ศูนย์สูตรของซีกโลกใต้ การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของซีกโลกเหนือเกิดจากการเปลี่ยนแปลงในด้านการดูดกลืนและปลดปล่อยในย่านที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต ขณะที่วัฏจักรในซีกโลกใต้เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของมหาสมุทรและการเผาไหม้มวลชีวภาพรวมทั้งอิทธิพลจากสิ่งมีชีวิต ในละติจูดต่ำๆ ทางซีกโลกใต้ การเปลี่ยนแปลงในรอบปีไม่ค่อยชัดเจนแต่ครึ่งปีเห็นได้ชัดกว่า อาจเนื่องมาจากองค์ประกอบที่ตรงกันข้าม 2 อย่างคือ อิทธิพลโดยตรงของแหล่งที่ปล่อยและแหล่งสะสม(sink) และการแพร่กระจายที่ไม่เป็นไปตามฤดูกาลในซีกโลกเหนือ<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot] <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]
    <o:p></o:p>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]2. มีเทน[FONT=&quot] (CH<sub>4</sub>)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ถือเป็นก๊าซเรือนกระจกที่สำคัญเป็นอันดับสอง ระดับมีเทนได้เพิ่มขึ้นตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 19 ความเข้มข้นทั่วโลก อยู่ที่ระดับ 1749 ส่วนต่อพันล้านส่วนในปี 1998 ความเข้มข้นรายปีมีค่าสูงสุดในละติจูดทางซีกโลกเหนือมากที่สุดและลดลงมาทางละติจูดซีกโลกใต้ จะเห็นว่าความเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่อยู่ทางซีกโลกเหนือ อัตราเพิ่มทั่วโลก 9 ส่วนต่อพันล้านส่วนต่อปี เฉลี่ยจากปี 1984-1998 แต่อัตรานี้ได้ลดลงมาจากทศวรรษที่ 1980-1990 อัตราเพิ่มได้ลดลงมากในบางปี รวมทั้ง ปี 1992 เมื่อค่าลบเกิดในละติจูดสูงทางซีกโลกเหนือ และ ปี 1996 เมื่ออัตราเพิ่มหยุดชะงักในหลายภูมิภาค อย่างไรก็ตามทั้งสองซีกโลกก็มีอัตราเพิ่มสูงในปี 1998 ที่เกิดจากอุณหภูมิเฉลี่ยทั่วโลกสูงเป็นกรณีพิเศษ ในปีทศวรรษ 1990 มีเทนมีอัตราเพิ่มแปรผันตามอุณหภูมิอากาศทั่วโลกโดยใช้ค่าเฉลี่ยทั้งปี[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot] <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]
    <o:p></o:p>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]ความเข้มข้นเฉลี่ยรายเดือนมีการแปรผันตามฤดูกาลซึ่งจะมีความเข้มข้นสูงในฤดูหนาวและต่ำในฤดูร้อน ต่างกับ [FONT=&quot]CO<sub>2</sub> โดย CH<sub>4</sub> จะมีความแตกต่างของแอมปลิจูดในวัฏจักรมากกว่า ไม่เพียงแต่ในซีกโลกเหนือแต่ในละติจูดกลาง-สูงของซีกโลกใต้ด้วย ส่วนในละติจูดต่ำในซีกโลกใต้ จะเด่นชัดช่วงครึ่งปี โดยมีค่าสูงสุดอีกครั้งในฤดูหนาว ทั้งนี้เนื่องจากการเคลื่อนย้ายของมีเทนจากซีกโลกเหนือ ปรากฏการณ์นี้จะเห็นจากสถานีทางตะวันตกของในมหาสมุทรอินเดีย และตะวันตกถึงตอนกลางของมหาสมุทรแปซิฟิกเขตศูนย์สูตร<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]
    <o:p></o:p>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]3. ไนตรัสออกไซด์ [FONT=&quot](N<sub>2</sub>O)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot] เป็นก๊าซเรือนกระจกที่สำคัญตัวหนึ่งที่มีช่วงชีวิตยาวถึง 120 ปี ถูกปล่อยสู่บรรยากาศจากแหล่งธรรมชาติและการสังเคราะห์ รวมไปถึงมหาสมุทร ดิน การสันดาปน้ำมันเชื้อเพลิง การเผาไหม้มวลชีวภาพ การใช้ปุ๋ย การใช้คะตาไลติกคอนเวอร์เตอร์ในรถยนต์ และอุตสาหกรรมต่างๆ และสามารถสลายตัวในบรรยากาศโดยแสงอาทิตย์ในชั้นบรรยากาศสตราโตสเฟียร์<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ความเข้มเฉลี่ยทั่วโลกกำลังเพิ่มขึ้นที่ประมาณ 275 [FONT=&quot]ppb ในยุคก่อนอุตสาหกรรม ถึง 299 ppb ในปี 1976 และ 311-312 ppb ในปี 1996 และมีอัตราเพิ่มเป็น 0.7 -0.8 ส่วนต่อพันล้านส่วนต่อปี ระหว่างปี 1987 ถึง 1989ในซีกโลกเหนือและต่อเนื่องมาในระยะยาวตลอดทศวรรษ 1990<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot] <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]
    <o:p></o:p>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot] 4. ฮาโลคาร์บอน (HC)<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ฮาโลคาร์บอน คือสารประกอบคาร์บอนที่ รวมตัวกับ ฟลูออรีน คลอรีน โบรมีน หรือ ไอโอดีน ฮาโลคาร์บอน ที่ประกอบด้วยคลอรีน เช่น [FONT=&quot]CFCs, HCFCs, คาร์บอนเตตระคลอไรด์ (CCl<sub>4</sub>) เมธิลคลอโรฟอร์ม (CH<sub>3</sub>CCl<sub>3</sub>) และรวมกับโบรมีน ที่เรียกว่า ฮาลอน (halon) ซึ่งเป็นสารที่มีประสิทธิภาพในการทำลายชั้นโอโซน ส่วนมากมักเกิดจากการสังเคราะห์ การลดลงของชั้นโอโซนมีผลทำให้พลังงานการแผ่รังสีเป็นลบ และพลังงานการแผ่รังสีสุทธิโดยฮาโลคาร์บอนจะน้อยกว่าพลังงานการแผ่รังสีตรง<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]CFCs ต่างๆ จะถูกสลายตัวโดยแสงอาทิตย์ช่วงอัลตราไวโอเลตในชั้นสตราโตสเฟียร์และมีช่วงชีวิตยาว เช่น CFC-11 =50 ปี อย่างไรก็ตาม HCFCsและ เมธิลคลอโรฟอร์ม ซึ่งโมเลกุลประกอบด้วยไฮโดรเจน จะทำปฏิกิริยากับอนุมูลไฮดรอกซิลในชั้นโทรโพสเฟียร์ ทำให้มีช่วงชีวิตที่สั้น (เมธิลคลอโรฟอร์ม ประมาณ 5 ปี) <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ระดับของฮาโลคาร์บอน เช่น ซีเอฟซีต่างๆ ได้เพิ่มขึ้น 5 เปอร์เซ็นต์ต่อปี หรือมากกว่านั้น ในทศวรรษที่ 1970 แต่ปัจจุบันได้หยุดการเพิ่มขึ้นแล้วเนื่องจากกฏหมายที่ห้ามการผลิตและการปล่อยสารทำลายโอโซนในพิธีสารมอนทรีออลและการแก้ไขต่างๆในเวลาต่อมา[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]แนวโน้มระยะยาวของ ก๊าซฮาโลคาร์บอนต่างๆ มีดังนี้[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]CFC-11 สูงสุดปี 1993 หลังจากนั้นเริ่มลดลง<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]CFC-12 เพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ แต่มีแนวโน้มจะหยุดเพิ่มในเร็วๆนี้<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]CFC-113 เพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ แต่มีแนวโน้มจะหยุดเพิ่มในเร็วๆนี้<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]CCl<sub>4</sub> ลดลงอย่างช้าๆ<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]CH<sub>3</sub>CCl<sub>3</sub> สูงสุดในปี 1991 จากนั้นลดลงอย่างชัดเจน<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]
    <o:p></o:p>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] <o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]
    <o:p></o:p>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]5. คาร์บอนมอนออกไซด์[FONT=&quot] (CO) <o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่ใช่ก๊าซเรือนกระจกที่สำคัญนักแต่ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจกโดยการทำปฏิกิริยากับอนุภาค [FONT=&quot]OH ความเข้มข้นของ CO ได้เพิ่มขึ้นในเขตละติจูดสูงทางซีกโลกเหนือนับแต่ปี 1850 แต่ไม่เปลี่ยนแปลงมากนักเหนือทวีปแอนตาร์กติกระหว่าง 2 พันปีที่ผ่านมา ค่าเฉลี่ยรายปีประมาณ 90 ส่วนต่อพันล้านส่วนในปี 1996 ความเข้มข้นเฉลี่ยรายปี จะสูงในซีกโลกเหนือและต่ำในซีกโลกใต้ เนื่องมาจากมีการปล่อยมากในซีกโลกเหนือ ในอดีตระดับของ CO ได้เพิ่มขึ้นแต่แนวโน้มได้เปลี่ยนเป็นลดลงหลังทศวรรษ 1980 อัตราเพิ่มเป็น –0.2 ส่วนต่อพันล้านส่วนต่อปี ในปี 1993-1996 อัตราเพิ่มเป็นลบในปี 1992ในทุกละติจูด ปี 1995 ในซีกโลกเหนือและปี 1996 ในซีกโลกใต้ ขณะที่ปี 1993 ถึงปี 1994 ในซีกโลกเหนือได้เพิ่มขึ้นพร้อมเหตุการ์เอลนิโนในปี 1997/1998 CO เพิ่มขึ้นอย่างมากใน Ryori ในญี่ปุ่น สำหรับผลกระทบจากเอลนิโนต่ออัตราเพิ่มของ CO จะต้องทำการตรวจสอบข้อมูลมากขึ้นไปอีก ความเข้มข้นรายเดือนแสดงการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลซึ่งมีแอมปลิจูดสูงในซีกโลกเหนือและต่ำในซีกโลกใต้ การผันแปรตามฤดูกาลเกิดจากการแปรผันของแหล่ง OH การปล่อยจากโรงงานอุตสาหกรรม และการเผาไหม้มวลชีวภาพ และการขนส่งในระดับกว้าง<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot] <o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]6. ไนโตรเจนออกไซด์และไนโตรเจนไดออกไซด์ [FONT=&quot]NO<sub>x</sub> (NO, NO<sub>2</sub>) <o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่ใช่ก๊าซเรือนกระจกแต่มีส่วนทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นก๊าซเรือนกระจกตัวอื่นๆ ที่สำคัญโดยการทำปฏิกิริยากับอนุมูลไฮดรอกซิล [FONT=&quot](OH) กล่าวคือ เมื่อมี NO<sub>x</sub>, CO และ HC จะถูกออกซิไดซ์ทำให้เกิดโอโซน (O<sub>3</sub>) ในชั้นใกล้ผิวโลก ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจกตัวหนึ่งที่มีผลต่อสมดุลการแผ่รังสีของโลก และทำให้เกิด OH อีกครั้งซึ่งมีศักยภาพในการเกิดออกซิเดชันในบรรยากาศ และนำไปสู่การเป็นกรด โดยทั่วไปพบว่าความเข้มข้นของไนโตรเจนไดออกไซด์ ในซีกโลกเหนือจะสูงกว่าในซีกโลกใต้ เนื่องจากกิจกรรมของมนุษย์ <o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot] <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]7. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ([FONT=&quot]SO<sub>2</sub>) <o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่ใช่ก๊าซเรือนกระจกแต่เป็นสารตั้งต้นของละอองกรดซัลฟุริก[FONT=&quot](H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>) ในบรรยากาศ ซึ่งละอองกรดซัลฟุริกนี้เกิดจากการเปลี่ยนจากก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์มาเป็นอนุภาคโดยปฏิกิริยาโฟโตเคมีคัล ซัลเฟอร์ไดออกไซด์เป็นแหล่งเกิดฝนกรดและตะกอนกรดที่สำคัญนับตั้งแต่ยุคอุตสาหกรรมเป็นต้นมา จากข้อมูลที่มีอยู่ ความเข้มข้นของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ในยุโรปตอนใต้จะสูงกว่าทางตอนเหนือ ส่วนในส่วนกลางและทางตะวันออกมีค่าต่ำในปี 1997 มากกว่าช่วงทศวรรษ 1990 ที่ผ่านมา<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot] <o:p></o:p>[/FONT]
    อ้างอิง<o:p></o:p>

    [FONT=&quot]WMO WDCGG DATA SUMMARY, WDCGG No.22, GAW DATA Volume IV-Greenhouse Gases and Other Atmospheric Gases, JMA-WMO, March 2000<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot] <hr align="center" size="3" width="100%"> [/FONT]
     
  14. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    การกระจายโอโซนในบรรยากาศทั่วโลก


    [​IMG]
    ประเทศไทยตรวจวัดได้ระหว่าง 240-280 หน่วยด็อบสัน
    (ที่มา: Global Ozone Observing System, GO3OS)
     
  15. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    อัพเดทรูรั่วโอโซน
    (Ozone Hole Update)

    <o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p>
    <o:p></o:p><o:p></o:p>
    การลดลงของโอโซนบริเวณขั้วโลกใต้จะเกิดในช่วงฤดูใบไม้ผลิ (สิงหาคม-ตุลาคม) โดยค่าเฉลี่ยของโอโซนรวมจะลดลงจาก 300 หน่วยด็อบสัน จนถึงต่ำกว่า 220 หน่วยด็อบสัน ในแต่ละปีค่าการลดลงของโอโซนจะขยายเป็นวงกว้างในเขตซีกโลกใต้และบางครั้งกระทบไปถึงบริเวณที่มีประชากรหนาแน่นทำให้ได้รับอันตรายจากรังสีอัลตราไวโอเลต (โอโซนจะดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลต) สามารถสรุปสถานการณ์รูรั่วของโอโซน ในปี 2000-2006 ได้ดังนี้
    <table align="center" border="1" height="263" width="62%"> <tbody><tr> <td height="10" width="74">
    ปี
    </td> <td width="214">
    พื้นที่ (ล้านตารางกิโลเมตร)
    </td> <td width="183">
    ค่าต่ำสุด (หน่วยด็อบสัน)
    </td> </tr> <tr> <td width="74">
    2000
    </td> <td width="214">
    28.4
    </td> <td width="183">
    98
    </td> </tr> <tr> <td width="74">
    2001
    </td> <td width="214">
    25
    </td> <td width="183">
    116
    </td> </tr> <tr> <td height="28" width="74">
    2002
    </td> <td height="28" width="214">
    20
    </td> <td height="28" width="183">
    100
    </td> </tr> <tr> <td width="74">
    2003
    </td> <td width="214">
    28
    </td> <td width="183">
    106
    </td> </tr> <tr> <td width="74">
    2004
    </td> <td width="214">
    23
    </td> <td width="183">
    99
    </td> </tr> <tr> <td width="74">
    2005
    </td> <td width="214">
    27
    </td> <td width="183">
    102
    </td> </tr> <tr> <td width="74">
    2006
    </td> <td width="214">
    ~29
    </td> <td width="183">
    ~100
    </td> </tr> </tbody></table> ปี 2000 การลดลงของโอโซนจะเกิดเป็นบริเวณกว้างรูรั่วของโอโซนที่เกิดขึ้นมีลักษณะคล้ายวงรีครอบคลุมพื้นที่ไปถึงทวีปอเมริกาใต้ จากการวัดมีโอโซนถูกทำลายไปประมาณ 57 ล้านตัน ในระหว่างต้นเดือนกันยายน โดยมีค่ามากกว่าทุกๆ ปีที่ผ่านมา (นับตั้งแต่ปี 1979) โดยกินพื้นที่ประมาณ 28.4 ล้านตารางกิโลเมตร (ค่าโอโซนต่ำสุดเท่ากับ 98 หน่วยด็อบสัน)
    ปี 2001 สถานการณ์โอโซนเริ่มดีขึ้นโดยมีขนาดพื้นที่การสูญเสียลดลงกล่าวคือขนาดพื้นที่โอโซนที่ลดลงมีค่าประมาณ 25 ล้านตารางกิโลเมตร ปริมาณโอโซนที่ถูกทำลายประมาณ 54 ล้านตัน รูรั่วโอโซนมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ขั้วโลกใต้ (ค่าโอโซนต่ำสุดเท่ากับ 116 หน่วยด็อบสัน)
    ปี 2002 การลดลงของโอโซนจะน้อยกว่า 2 ปีที่ผ่านมาและเกิดเป็น 2 บริเวณ (ดังรูปในหน้าอัพเดทรูรั่วโอโซน) กินพื้นที่ประมาณ 20 ล้านตารางกิโลเมตร (ค่าโอโซนต่ำสุดเท่ากับ 150 หน่วยด็อบสัน)
    ปี 2003 การลดลงของโอโซนจะเกิดเป็นบริเวณกว้างขึ้นใกล้เคียงกับปี 2000 โดยกินพื้นที่ประมาณ 28 ล้านตารางกิโลเมตร (ค่าโอโซนต่ำสุดเท่ากับ 106 หน่วยด็อบสัน)
    ปี 2004 การลดลงมีค่าลดลงคิดเป็นพื้นที่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของ 10 ปีที่ผ่านมาคือมีขนาดพื้นที่ประมาณ 23 ล้านตารางกิโลเมตร (ค่าโอโซนต่ำสุดเท่ากับ 99 หน่วยด็อบสัน)
    ปี 2005 การลดลงของโอโซนได้ขยายพื้นที่เพิ่มขึ้นจนถึงประมาณ 27 ล้านตารางกิโลเมตร (ค่าโอโซนต่ำสุดเท่ากับ 102 หน่วยด็อบสัน)
    ปี 2006 พบเป็นบริเวณกว้างใกล้เคียงกับปี 2000 ซึ่งขนาดพื้นที่รูรั่วโอโซนที่เพิ่มขึ้นนี้นักวิทยาศาสตร์จาก NASA (National Aeronautics and Space Adminitration) และ NOAA (National Oceanic and Atmospheric Admnistration) ได้สรุปสถานะรูรั่วที่รุนแรงว่ามีสาเหตุมาจากการสะสมตัวของสารเคมีจำพวก CFCs ที่มีปริมาณมากในชั้นสตราโตรสเฟียร์บวกกับอุณหภูมิที่มีค่าต่ำมากในช่วงฤดูหนาว (ต่ำกว่า -80 องศาเซลเซียส) ซึ่งเป็นตัวแปรสำคัญที่ทำลายชั้นโอโซนในบรรยากาศและคาดว่าสิ่งมีชีวิตจะได้รับผลกระทบจากรังสีอัลตราไวโอเลตที่รุนแรงรวมถึงสภาวะทางอุตุฯที่เปลี่ยนแปลงไปจากสถานการณ์รูรั่วโอโซนในครั้งนี้ ซึ่งขนาดพื้นที่ของรูรั่วโอโซนแสดงได้ดังกราฟ คาดว่าการลดลงของโอโซนยังคงเป็นไปในลักษณะนี้อย่างต่อเนื่องและจะเริ่มดีขึ้นในอีก 40-50 ข้างหน้า (สารเคมีที่ทำลายโอโซนมีช่วงชีวิตยาว)


    [​IMG]

    Credit: European Space Agency (ESA)
     
  16. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    [​IMG]
    <o:p> </o:p>
    [​IMG]
    [​IMG]
    <o:p></o:p>​
    <o:p> Credit: NASA</o:p>​
    <o:p></o:p>​
    รูรั่วโอโซน ? คือบริเวณที่มีโอโซนในบรรยากาศน้อยกว่าปกติ เช่น บริเวณขั้วโลก ใน ฤดูกาล ปกติ มีค่า 300-400 Dobson Unit (DU) แต่ในเดือน กันยายน-พฤศจิกายน มีค่าต่ำถึง < 100 DU<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    เกณฑ์รูรั่วโอโซน คือต่ำกว่า 220 DU

    http://ozone.tmd.go.th/ozhole.htm

     
  17. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    การตรวจวัดรังสีดวงอาทิตย์

    [FONT=&quot]การตรวจวัดรังสีดวงอาทิตย์[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT] [FONT=&quot]ฟลักซ์ต่างๆ ของรังสีที่ส่องถึงและออกจากผิวโลกเป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดต่อระบบบรรยากาศและในแง่เศรษฐศาสตร์ ซึ่งการตรวจวัดรังสีมีจุดมุ่งหมายต่างๆดังต่อไปนี้<o:p></o:p>[/FONT]

    [FONT=&quot]ก.เพื่อศึกษาการถ่ายเทพลังงานภายในระบบบรรยากาศโลกและการแปรเปลี่ยนตามเวลาและสถานที่[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ข. การวิเคราะห์คุณสมบัติและการกระจายของบรรยากาศเนื่องจากส่วนประกอบต่างๆ เช่น อนุภาค ไอน้ำและโอโซน เป็นต้น[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ค. การศึกษาการกระจายและการแปรผันของรังสีตกกระทบ สะท้อนและรังสีสุทธิ[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ง. ความจำเป็นทางด้านชีววิทยา การแพทย์ การเกษตร สถาปัตยกรรม และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับรังสีดวงอาทิตย์[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]จ. เพื่อการหาค่าจากการตรวจวัดรังสีด้วยดาวเทียม[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ปริมาณรังสีอาจแบ่งออกเป็น [FONT=&quot]2 กลุ่มตามแหล่งกำเนิด คือ รังสีดวงอาทิตย์และรังสีโลก[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]รังสีดวงอาทิตย์[FONT=&quot](Solar Radiation)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]เป็นพลังงานที่ปล่อยออกมาจากดวงอาทิตย์ รังสีดวงอาทิตย์ที่ตกกระทบขอบบรรยากาศเรียกว่า รังสีที่นอกโลก [FONT=&quot](Extraterrestrial Solar Radiation) ซึ่ง ประกอบด้วย ช่วงคลื่นสั้น ตั้งแต่ 290-300 นาโนเมตร ถึง 97 เปอร์เซ็นต์ ส่วนของรังสีนอกโลกที่ผ่านชั้นบรรยากาศมาถึงผิวโลกจะถูกกระจายและดูดกลืนโดยโมเลกุลของกาซต่างๆ อนุภาคฝุ่น และเมฆที่อยู่ในชั้นบรรยากาศ การแบ่งรังสีดวงอาทิตย์ตามคุณสมบัติและช่วงคลื่นได้แก่<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    รังสีแสงสว่าง (Visible Radiation)<o:p></o:p>

    [FONT=&quot]แสงสว่างเป็นรังสีที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ช่วงสเปคตรัมของแสงสว่างต่ำสุด เริ่มตั้งแต่ 360 ถึง 400 นาโนเมตร และสูงสุดอยู่ระหว่าง 360-830 นาโนเมตร([FONT=&quot]ICI 1987a) ทั้งนี้ 99 เปอร์เซ็นต์ของรังสีแสงสว่างจะอยู่ในช่วง 400-730 รังสีที่ช่วงคลื่นต่ำกว่า 400 นาโนเมตร เรียกว่ารังสีอัลตราไวโอเลต และยาวกว่า 800 นาโนเมตรเรียกว่า รังสีอินฟราเรด <o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    รังสีอัลตราไวโอเลต<o:p></o:p>

    [FONT=&quot]มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า แบ่งออกเป็น 3 ช่วง ([FONT=&quot]IEC 1987) คือ <o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]UV-A: 315...400 ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตมากนัก ความเข้มที่ผิวพื้นไม่ขึ้นกับปริมาณโอโซนในบรรยากาศ<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]UV-B: 280...315 มีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตมาก ความเข้มที่ผิวพื้นขึ้นกับปริมาณโอโซนในบรรยากาศ ความเข้มขึ้นกับความยาวคลื่น <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]UV-C: 100...280 ถูกดูดกลืนโดยชั้นบรรยากาศทั้งหมดไม่พบที่ผิวพื้นโลก<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]รังสีโลก [FONT=&quot](Terrestrial radiation)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]เป็นพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นยาวที่ปลดปล่อยออกที่ผิวโลก และโดยก๊าซต่างๆ ฝุ่นละออง และเมฆในบรรยากาศ โดยบางส่วนถูกดูดกลืนภายในบรรยากาศ โดยที่อุณหภูมิ [FONT=&quot]300 เคลวิน (27 องศาเซลเซียส) พลังงาน 99.99 เปอร์เซ็นต์ของรังสีโลกมีช่วงคลื่นยาวระหว่าง 3000 นาโนเมตร และ 99 เปอร์เซ็นต์ยาวกว่า 5000 นาโนเมตรและที่อุณหภูมิต่อกว่านี้สเปคตรัมจะมีช่วงคลื่นที่ยาวกว่านี้<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    ปริมาณรังสีในทางอุตุนิยมวิทยา<o:p></o:p>

    [FONT=&quot]รังสีตรง[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot](Direct solar radiation) รังสีที่ส่องตรงมาที่ผิวโลก<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]รังสีกระจาย[FONT=&quot](Diffuse solar radiation) รังสีที่กระจัดกระจายในท้องฟ้า<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]รังสีแห่งโลก[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot](Global solar radiation) ผลรวมของรังสีตรงและกระจาย<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]รังสีรวม[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot](Total Radiation) การรวมกันของรังสีโลกและรังสีดวงอาทิตย์<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]รังสีสุทธิ[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot](Net Radiation) รังสีสุทธิของรังสีดวงอาทิตย์หรือรังสีสุทธิคลื่นยาวที่มีทิศขึ้นและลงหักล้างกัน<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ค่าคงที่สุริยะ[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot](Solar Constant) รังสีดวงอาทิตย์ที่ขอบนอกบรรยากาศที่ระยะทางระหว่างโลกและดวงอาทิตย์เฉลี่ย<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]เครื่องมือวัดรังสีดวงอาทิตย์ในทางอุตุนิยมวิทยา<o:p></o:p>[/FONT]

    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    <table style="border: medium none ; width: 441.55pt; border-collapse: collapse;" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0" width="589"> <tbody><tr> <td style="border: 0.5pt solid windowtext; padding: 0cm 5.4pt; width: 103.55pt;" valign="top" width="138"> ชนิดเครื่องมือ<o:p></o:p>

    </td> <td style="border-style: solid solid solid none; border-color: windowtext windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: 0.5pt 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 7cm;" valign="top" width="265">
    [FONT=&quot]พารามิเตอร์ที่วัด<o:p></o:p>[/FONT]​
    </td> <td style="border-style: solid solid solid none; border-color: windowtext windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: 0.5pt 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 139.55pt;" valign="top" width="186">
    [FONT=&quot]Viewing angle (steradians)<o:p></o:p>[/FONT]​
    </td> </tr> <tr> <td style="border-style: none solid solid; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext; border-width: medium 0.5pt 0.5pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 103.55pt;" valign="top" width="138"> [FONT=&quot]Absolute pyrheliometer<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 7cm;" valign="top" width="265"> [FONT=&quot]Direct solar radiation (เพื่อเป็นมาตรฐาน)<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 139.55pt;" valign="top" width="186"> [FONT=&quot]5x10-3 (approx. 2.5°[FONT=&quot]half angle)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    </td> </tr> <tr> <td style="border-style: none solid solid; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext; border-width: medium 0.5pt 0.5pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 103.55pt;" valign="top" width="138"> [FONT=&quot]pyrheliometer<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 7cm;" valign="top" width="265"> [FONT=&quot]Direct solar radiation<o:p></o:p>[/FONT]

    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 139.55pt;" valign="top" width="186"> [FONT=&quot]5x10-3 to 2.5 x10-2<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> </tr> <tr> <td style="border-style: none solid solid; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext; border-width: medium 0.5pt 0.5pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 103.55pt;" valign="top" width="138"> [FONT=&quot]Spectral pyrheliometer<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 7cm;" valign="top" width="265"> [FONT=&quot]Direct solar radiation in broad spectral bands<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 139.55pt;" valign="top" width="186"> [FONT=&quot]5x10-3 to 2.5 x10-2<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> </tr> <tr> <td style="border-style: none solid solid; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext; border-width: medium 0.5pt 0.5pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 103.55pt;" valign="top" width="138"> [FONT=&quot]Sun photometer<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 7cm;" valign="top" width="265"> [FONT=&quot]Direct solar radiation in narrow spectral bands (500+ 2.5 nm, 368 + 2.5 nm) <o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 139.55pt;" valign="top" width="186"> [FONT=&quot]1x10-3 to 1 x10-2<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot](Approx. 2.3°[FONT=&quot] full angle)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    </td> </tr> <tr> <td style="border-style: none solid solid; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext; border-width: medium 0.5pt 0.5pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 103.55pt;" valign="top" width="138"> [FONT=&quot]Pyranometer<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 7cm;" valign="top" width="265"> [FONT=&quot]Global Radiation, Sky radiation, <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]Reflected solar radiation<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 139.55pt;" valign="top" width="186"> [FONT=&quot]2p[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    </td> </tr> <tr> <td style="border-style: none solid solid; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext; border-width: medium 0.5pt 0.5pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 103.55pt;" valign="top" width="138"> [FONT=&quot]Spectral Pyranometer<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 7cm;" valign="top" width="265"> [FONT=&quot]Global Radiation in broadband spectral ranges<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 139.55pt;" valign="top" width="186"> [FONT=&quot]2p[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    </td> </tr> <tr> <td style="border-style: none solid solid; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext; border-width: medium 0.5pt 0.5pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 103.55pt;" valign="top" width="138"> [FONT=&quot]Net pyranometer<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 7cm;" valign="top" width="265"> [FONT=&quot]Net global radiation<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 139.55pt;" valign="top" width="186"> [FONT=&quot]4p[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    </td> </tr> <tr> <td style="border-style: none solid solid; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext; border-width: medium 0.5pt 0.5pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 103.55pt;" valign="top" width="138"> [FONT=&quot]Pyrgeometer<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 7cm;" valign="top" width="265"> [FONT=&quot]Upward long-wave radiation, <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]Downward long-wave radiation<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 139.55pt;" valign="top" width="186"> [FONT=&quot]2p[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    </td> </tr> <tr> <td style="border-style: none solid solid; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext; border-width: medium 0.5pt 0.5pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 103.55pt;" valign="top" width="138"> [FONT=&quot]Pyradiometer<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 7cm;" valign="top" width="265"> [FONT=&quot]Total Radiation<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 139.55pt;" valign="top" width="186"> [FONT=&quot]2p[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    </td> </tr> <tr style="height: 3.5pt;"> <td style="border-style: none solid solid; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext; border-width: medium 0.5pt 0.5pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 103.55pt; height: 3.5pt;" valign="top" width="138"> [FONT=&quot]Net Pyrradiometer<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 7cm; height: 3.5pt;" valign="top" width="265"> [FONT=&quot]Net total radiation<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color windowtext windowtext -moz-use-text-color; border-width: medium 0.5pt 0.5pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 139.55pt; height: 3.5pt;" valign="top" width="186"> [FONT=&quot]4p[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    </td> </tr> </tbody></table> ​
    การตรวจวัดรังสีชนิดพิเศษ <o:p></o:p>
    [FONT=&quot]Illuminance meter ใช้ตรวจวัด Daylight (Direct, Diffuse, Global luminance) ช่วงคลื่น 380-780 นาโนเมตรที่ตามนุษย์มองเห็นได้<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]การตรวจวัดรังสีอัลตราไวโอเลต[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]

    [FONT=&quot]โดยเครื่องมือชนิดต่างๆ แบ่งเป็น 3 ชนิด ได้แก่ชนิด [FONT=&quot]Broadband sensors จะอินทิเกรตทั้งสเปคตรัม UV-A และ UV-B ที่กระทบต่อสุขภาพมนุษย์ ชนิด Narrowband sensors ที่อินทิเกรตเฉพาะส่วนทั้งสเปคตรัม UV-A และ/หรือ UV-B และสเปคโตรมิเตอร์ที่ใช้เกรตติงกระจายพลังงานให้เป็นสเปคตรัม[/FONT][/FONT]
     
  18. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    มารู้จักโอโซนกันนะครับ(เพิ่มเติมครับ)


    [​IMG]
    ในบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกนั้นบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์นับว่าเป็นชั้นที่มีอิทธิพลต่อสิ่งมีชีวิตบนพื้นโลกมากที่สุดในเพราะสามารถกรองรังสีอุลตราไวโอเลต(UV) ซึ่งเป็นอันตรายต่อชีวิตมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีส่วนสำคัญที่ทำให้อุณหภูมิของโลกอบอุ่นขึ้นอีกด้วย ดังนั้นการศึกษาสถานภาพของโอโซนและสารประกอบที่สามารถทำลายโอโซนในบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์จึงมีความสำคัญมาก โอโซนในบรรยากาศมีปริมาณน้อยมาก เฉลี่ยประมาณ 3 ใน 10 ล้านโมเลกุลอากาศ แม้ว่าจะมีปริมาณเล็กน้อยแต่มีบทบาทสำคัญในบรรยากาศมาก โดยปกติพบมากใน 2 บริเวณคือร้อยละ 90 พบในชั้นบรรยากาศ สตราโตสเฟียร์ที่ความสูงประมาณ 8 ถึง 50 กิโลเมตรพบโอโซนหนาแน่นที่ประมาณ 15 - 35 กิโลเมตร เรียกว่า ชั้นโอโซน ส่วนที่เหลือร้อยละ 10 พบที่บริเวณชั้นล่างลงมาคือชั้นโทรโพสเฟียร์ ดังภาพ
    [​IMG]
    โมเลกุลของโอโซนใน 2 บริเวณนี้มีลักษณะทางเคมีเหมือนกันเพราะว่าประกอบด้วยอะตอมออกซิเจน 3 อะตอมรวมกันด้วยสูตรเคมี O3 แต่มีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตต่างกัน
    โอโซนในบรรยากาศสตราโตสเฟียร์มีบทบาทสำคัญในการดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตที่เป็นอันตรายทางชีวภาพที่เรียกว่า UV-B ซึ่งมีเพียงส่วนน้อยที่ส่องถึงพื้นโลก การดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตทำให้เกิดความอบอุ่นในบรรยากาศสตราโตสเฟียร์ซึ่งมีลักษณะอุณหภูมิสูงขึ้นตามความสูง โอโซนจึงมีความสำคัญต่อระบบอุณหภูมิในบรรยากาศโลก หากปราศจากการกรองรังสีอัลตราไวโอเลตแล้วจะมีรังสีส่องถึงพื้นโลกมากขึ้นและส่งผลกระทบต่อมนุษย์ สัตว์ และพืช
    ส่วนที่ผิวพื้นโลก โอโซนกลับเป็นอันตรายเพราะว่าทำปฏิกิริยากับโมเลกุลอื่น และระดับโอโซนที่สูงจะเป็นพิษกับสิ่งมีชีวิตซึ่งเป็นผลกระทบที่ตรงกันข้ามกับคุณประโยชน์ในการช่วยกรองรังสี UV-B
    บทบาททั้งสองประการของโอโซนนำไปสู่เรื่องของสิ่งแวดล้อมที่แยกประเด็นกันชัดเจน คือความเป็นห่วงในโอโซนผิวพื้นที่เพิ่มขึ้นซึ่งเป็นส่วนประกอบในหมอกโฟโตเคมิคัลที่บริเวณผิวพื้นในเมืองใหญ่และในชนบท และความเป็นห่วงเรื่องการสูญเสียโอโซนในบรรยากาศสตราโตสเฟียร์ เครื่องมือต่างๆ ทั้งภาคพื้นดินและดาวเทียมตรวจพบว่ามีโอโซนลดลงมากเหนือทวีปแอนตาร์กติกถึงร้อยละ 60 ระหว่างเดือนกันยายน-พฤศจิกายนของทุกปีที่เรียกปรากฏการณ์ "รูรั่วโอโซนในทวีปแอนตาร์กติก" (Antarctic Ozone Hole) และเกิดการลดลงทำนองเดียวกันในขั้วโลกเหนือคือทวีปอาร์กติก ในฤดูหนาวถึงฤดูใบไม้ผลิตามปกติคือเดือนมกราคม-มีนาคมในช่วงเวลากว่า 10 ปีที่ผ่านมา อัตราการลดลงของโอโชนเฉลี่ยถึงร้อยละ 20-25 และมีค่าสูงกว่านี้สำหรับช่วงสั้นๆ ขึ้นอยู่กับปัจจัยทางอุตุนิยมวิทยา เช่นการเกิดของเมฆสตราโตสเฟียร์บริเวณขั้วโลกหรือ Polar Stratospheric Clouds (PSC) ซึ่งเป็นตัวการสำคัญในการนำสารประกอบ CFCs ไปสู่บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์ ถึงแม้อัตราการลดลงจะรุนแรงน้อยกว่าในขั้วโลกใต้แต่มีความสำคัญมากเพราะว่าเป็นที่อยู่อาศัยของประชากรส่วนใหญ่ เพราะการเพิ่มขึ้นของรังสี UV-B ที่ตรวจพบนั้นสัมพันธ์กับการลดลงของโอโซนอย่างเห็นได้ชัด
    จากการตรวจวัดภาคพื้นและดาวเทียมซึ่งได้ใช้เวลาศึกษามากกว่า 2 ทศวรรษโดยประชาคมผู้วิจัยจากนานาประเทศได้แสดงให้เห็นว่า สารเคมีที่มนุษย์สังเคราะห์ขึ้นทำให้ชั้นโอโซนบางลง สารประกอบที่ทำลายโอโซนประกอบด้วยคลอรีน (Cl) ฟลูออรีน (F) โบรมีน (Br) คาร์บอน (C) และไฮโดรเจน (H) มักเรียกรวมกันว่า ฮาโลคาร์บอน (Halocarbon) ส่วนสารที่ประกอบด้วยเพียง คลอรีน ฟลูออรีนและคาร์บอน เรียกว่า คลอโรฟลูออโรคาร์บอน หรือ CFCs(Chlorofluorocarbon) สารประกอบ CFCs คาร์บอนเตตระคลอไรด์(CCl4) และเมธิลคลอโรฟอร์ม(methyl Chloroform or 1,1,1-Trichloroethane) เป็นก๊าซสังเคราะห์ที่ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องทำความเย็นเช่น ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ การเป่าโฟม การใช้ทำความสะอาดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และใช้เป็นสารชะล้างอื่นๆ สามารถทำลายโอโซนได้เป็นอย่างมาก อีกกลุ่มหนึ่งคือ ฮาลอน (Halon) ประกอบด้วย C, Br, F และ Cl มักใช้เป็นสารดับเพลิง ประเทศต่างๆได้ตัดสินใจหยุดผลิตและบริโภค ยกเว้นเพื่อการใช้กรณีจำเป็น และในอุตสาหกรรมได้พัฒนาสารทดแทนที่ไม่ทำลายโอโซน( Ozone-Friendly)ขึ้นมาใหม่

    ปัญหาที่เกิดขึ้นกับโอโซน มี 2 ประเด็น คือ
    1. เราสามารถฟื้นฟูโอโซนที่เสียไปได้หรือไม่
    2. เราจะป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างไร การเยียวยาแก้ไขมี
    ทางเลือกคือ
    1.หาทางเอา CFCs ออกจากบรรยากาศ
    2. หยุดปล่อยคลอรีนที่ทำลายโอโซนก่อนที่จะเกิดความเสียหายมากกว่านี้
    3. ทดแทนโอโซนที่สูญเสียไปในบรรยากาศ หรือ บางทีควรจะนำโอโซนมลพิษในเมืองที่มากเกินไปฉีดขึ้นไปชดเชยส่วนที่ขาดหาย หรือสร้างขึ้นใหม่
    อย่างไรก็ตามเนื่องจากโอโซนทำปฏิกิริยากับโมเลกุลอื่นได้ง่าย จึงไม่เสถียรพอที่จะถูกสร้างและส่งขึ้นไปในบรรยากาศสตราโตสเฟียร์ได้ เมื่อพิจารณาปริมาตรของบรรยากาศและขนาดของโอโซนที่หายไป ที่มีขนาดมหาศาล จะเป็นการลงทุนที่สูง และใช้พลังงานมากจึงเป็นสิ่งปฏิบัติยากและเป็นการทำลายสิ่งแวดล้อมอีกด้วย
    การฟื้นฟูชั้นโอโซน ด้วยการมีพิธีสารมอนทรีออล และการแก้ไขต่างๆ ซึ่งเป็นข้อตกลงเรื่องการหยุดผลิตและบริโภคสารทำลายโอโซนต่างๆ โดยการหยุดผลิตอย่างสิ้นเชิงและการใช้กรณีวิกฤตเพียงเล็กน้อยเท่านั้น โดยกำหนดให้ปี ค.ศ. 1996 เป็นหมายกำหนดการเลิกผลิตและใช้สำหรับประเทศพัฒนาแล้ว และปี ค.ศ. 2000 เป็นหมายกำหนดการเลิกผลิตและใช้สำหรับประเทศกำลังพัฒนา ผลลัพธ์คือปริมาณคลอรีนในบรรยากาศชั้นล่างๆ ที่จะสามารถขึ้นไปถึงสตราโตสเฟียร์ได้ถึงจุดสูงสุดแล้ว และความเข้มข้นในชั้นสตราโตสเฟียร์จะถึงจุดสูงสุดในปลายศตวรรษที่ 20 และจะเริ่มลดลงอย่างช้าๆ โดยขบวนการธรรมชาติและชั้นโอโซนจะกลับคืนมาเหมือนเดิมในอีกประมาณ 50 ปีข้างหน้า


    http://ozone.tmd.go.th/ozbasic.htm

     
  19. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    รังสีอัลตราไวโอเลต

    รังสีอัลตราไวโอเลต<o:p></o:p>

    (Ultraviolet Radiation)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    [FONT=&quot]1. รังสีอัลตราไวโอเลต คืออะไร [FONT=&quot]?<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]รังสีอัลตราไวโอเลต เป็นส่วนหนึ่งของรังสีดวงอาทิตย์ที่ส่องถึงพื้นโลก รังสีดวงอาทิตย์ ([FONT=&quot]Solar Radiation) เป็นพลังงานในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่รังสีออกจากดวงอาทิตย์ ประกอบด้วยสเปคตรัม ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 แถบกว้างๆ ตามรูปที่ 1<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<o:p> </o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shapetype id="_x0000_t75" coordsize="21600,21600" o:spt="75" o:preferrelative="t" path="m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe" filled="f" stroked="f"> <v:stroke joinstyle="miter"/> <v:formulas> <v:f eqn="if lineDrawn pixelLineWidth 0"/> <v:f eqn="sum @0 1 0"/> <v:f eqn="sum 0 0 @1"/> <v:f eqn="prod @2 1 2"/> <v:f eqn="prod @3 21600 pixelWidth"/> <v:f eqn="prod @3 21600 pixelHeight"/> <v:f eqn="sum @0 0 1"/> <v:f eqn="prod @6 1 2"/> <v:f eqn="prod @7 21600 pixelWidth"/> <v:f eqn="sum @8 21600 0"/> <v:f eqn="prod @7 21600 pixelHeight"/> <v:f eqn="sum @10 21600 0"/> </v:formulas> <v:path o:extrusionok="f" gradientshapeok="t" o:connecttype="rect"/> <o:lock v:ext="edit" aspectratio="t"/> </v:shapetype><v:shape id="_x0000_i1025" type="#_x0000_t75" style='width:274.2pt; height:112.8pt' o:allowoverlap="f"> <v:imagedata src="uvbasic.files/image002.png" o:title=""/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]รูปที่ 1 สเปคตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า [FONT=&quot](James H. Gibson, 2002)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]มีการศึกษาเกี่ยวกับรังสีดวงอาทิตย์ในบรรยากาศและพบสัดส่วนของพลังงานรังสีดวงอาทิตย์ที่นอกบรรยากาศ ต่อหน่วยพื้นที่ต่อหน่วยเวลา และรังสีมีแนวตั้งฉากกับพื้นที่ ที่ระยะทางระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์เฉลี่ยทั้งปี เป็นดังตารางที่ 2[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ตารางที่ 2 พลังงานรังสีดวงอาทิตย์ [FONT=&quot](James H. Gibson, 2002)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    <table class="MsoNormalTable" style="border: medium none ; background: silver none repeat scroll 0% 50%; -moz-background-clip: -moz-initial; -moz-background-origin: -moz-initial; -moz-background-inline-policy: -moz-initial; border-collapse: collapse;" border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr style="height: 19.05pt;"> <td style="border-style: solid none none solid; border-color: gray -moz-use-text-color -moz-use-text-color gray; border-width: 1pt medium medium 1pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 104.85pt; height: 19.05pt;" valign="top" width="175"> [FONT=&quot]Spectral<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: solid none none; border-color: gray -moz-use-text-color -moz-use-text-color; border-width: 1pt medium medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 98.3pt; height: 19.05pt;" valign="top" width="164"> [FONT=&quot]Wavelengths (nm)<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: solid none none; border-color: gray -moz-use-text-color -moz-use-text-color; border-width: 1pt medium medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 105.7pt; height: 19.05pt;" valign="top" width="176"> [FONT=&quot]Irradiance (W/m<sup>2</sup>)<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: solid solid none none; border-color: gray gray -moz-use-text-color -moz-use-text-color; border-width: 1pt 1pt medium medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 3cm; height: 19.05pt;" valign="top" width="142"> [FONT=&quot]% Of Total<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> </tr> <tr style="height: 20.75pt;"> <td style="border-style: none none none solid; border-color: -moz-use-text-color -moz-use-text-color -moz-use-text-color gray; border-width: medium medium medium 1pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 104.85pt; height: 20.75pt;" valign="top" width="175"> [FONT=&quot]Solar constant<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border: medium none ; padding: 0cm 5.4pt; width: 98.3pt; height: 20.75pt;" valign="top" width="164"> [FONT=&quot]All<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border: medium none ; padding: 0cm 5.4pt; width: 105.7pt; height: 20.75pt;" valign="top" width="176"> [FONT=&quot]1370<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid none none; border-color: -moz-use-text-color gray -moz-use-text-color -moz-use-text-color; border-width: medium 1pt medium medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 3cm; height: 20.75pt;" valign="top" width="142"> [FONT=&quot]100<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> </tr> <tr style="height: 19.9pt;"> <td style="border-style: none none none solid; border-color: -moz-use-text-color -moz-use-text-color -moz-use-text-color gray; border-width: medium medium medium 1pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 104.85pt; height: 19.9pt;" valign="top" width="175"> [FONT=&quot]Infrared<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border: medium none ; padding: 0cm 5.4pt; width: 98.3pt; height: 19.9pt;" valign="top" width="164"> [FONT=&quot]> 700<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border: medium none ; padding: 0cm 5.4pt; width: 105.7pt; height: 19.9pt;" valign="top" width="176"> [FONT=&quot]677<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid none none; border-color: -moz-use-text-color gray -moz-use-text-color -moz-use-text-color; border-width: medium 1pt medium medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 3cm; height: 19.9pt;" valign="top" width="142"> [FONT=&quot]49.4<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> </tr> <tr style="height: 19.9pt;"> <td style="border-style: none none none solid; border-color: -moz-use-text-color -moz-use-text-color -moz-use-text-color gray; border-width: medium medium medium 1pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 104.85pt; height: 19.9pt;" valign="top" width="175"> [FONT=&quot]Visible<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border: medium none ; padding: 0cm 5.4pt; width: 98.3pt; height: 19.9pt;" valign="top" width="164"> [FONT=&quot]400-700 <o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border: medium none ; padding: 0cm 5.4pt; width: 105.7pt; height: 19.9pt;" valign="top" width="176"> [FONT=&quot]580<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid none none; border-color: -moz-use-text-color gray -moz-use-text-color -moz-use-text-color; border-width: medium 1pt medium medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 3cm; height: 19.9pt;" valign="top" width="142"> [FONT=&quot]42.3<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> </tr> <tr style="height: 20.75pt;"> <td style="border-style: none none none solid; border-color: -moz-use-text-color -moz-use-text-color -moz-use-text-color gray; border-width: medium medium medium 1pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 104.85pt; height: 20.75pt;" valign="top" width="175"> [FONT=&quot]UV-A<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border: medium none ; padding: 0cm 5.4pt; width: 98.3pt; height: 20.75pt;" valign="top" width="164"> [FONT=&quot]320-400<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border: medium none ; padding: 0cm 5.4pt; width: 105.7pt; height: 20.75pt;" valign="top" width="176"> [FONT=&quot]86<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid none none; border-color: -moz-use-text-color gray -moz-use-text-color -moz-use-text-color; border-width: medium 1pt medium medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 3cm; height: 20.75pt;" valign="top" width="142"> [FONT=&quot]6.3<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> </tr> <tr style="height: 20.75pt;"> <td style="border-style: none none none solid; border-color: -moz-use-text-color -moz-use-text-color -moz-use-text-color gray; border-width: medium medium medium 1pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 104.85pt; height: 20.75pt;" valign="top" width="175"> [FONT=&quot]UV-B<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border: medium none ; padding: 0cm 5.4pt; width: 98.3pt; height: 20.75pt;" valign="top" width="164"> [FONT=&quot]280-320<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border: medium none ; padding: 0cm 5.4pt; width: 105.7pt; height: 20.75pt;" valign="top" width="176"> [FONT=&quot]21<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid none none; border-color: -moz-use-text-color gray -moz-use-text-color -moz-use-text-color; border-width: medium 1pt medium medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 3cm; height: 20.75pt;" valign="top" width="142"> [FONT=&quot]1.5<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> </tr> <tr style="height: 21.65pt;"> <td style="border-style: none none solid solid; border-color: -moz-use-text-color -moz-use-text-color gray gray; border-width: medium medium 1pt 1pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 104.85pt; height: 21.65pt;" valign="top" width="175"> [FONT=&quot]UV-C & shorter<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none none solid; border-color: -moz-use-text-color -moz-use-text-color gray; border-width: medium medium 1pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 98.3pt; height: 21.65pt;" valign="top" width="164"> [FONT=&quot]< 280<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none none solid; border-color: -moz-use-text-color -moz-use-text-color gray; border-width: medium medium 1pt; padding: 0cm 5.4pt; width: 105.7pt; height: 21.65pt;" valign="top" width="176"> [FONT=&quot]6<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> <td style="border-style: none solid solid none; border-color: -moz-use-text-color gray gray -moz-use-text-color; border-width: medium 1pt 1pt medium; padding: 0cm 5.4pt; width: 3cm; height: 21.65pt;" valign="top" width="142"> [FONT=&quot]0.5<o:p></o:p>[/FONT]
    </td> </tr> </tbody></table> ​
    [FONT=&quot]<o:p> </o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]นอกจากนี้ยังพบว่ารังสีดวงอาทิตย์ในเดือนมกราคม มากกว่าในเดือนกรกฎาคม ถึง 6.9 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจาก ระยะทางระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ ใกล้ที่สุดในวันที่ 3 มกราคมประมาณ 147 ล้านกิโลเมตร และห่างที่สุดวันที่ 4 กรกฎาคม ประมาณ 152 ล้านกิโลเมตร แต่รังสีฯ ที่ตรวจวัดได้ในเดือนมกราคมไม่สูงกว่าเดือนกรกฎาคมสำหรับประเทศไทย เพราะว่าแกนของโลกเอียงไปทางซีกโลกใต้ทำให้ประเทศไทยซึ่งอยู่ซีกโลกเหนืออยู่ห่างกว่าซีกโลกใต้และมีแนวดวงอาทิตย์เหนือศีรษะมาก รังสีฯ จึงไม่เข้มที่สุดในเดือนมกราคม[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<o:p> </o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]2.บทบาทของรังสีอัลตราไวโอเลตมีอย่างไรบ้าง[FONT=&quot]?<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]รังสีดวงอาทิตย์มีบทบาทสำคัญต่อธรรมชาติเพราะว่าก่อให้เกิดภูมิอากาศของโลกและมีอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยิ่ง สเปคตรัมของดวงอาทิตย์ช่วงอัลตราไวโอเลตมีบทบาทสำคัญในกระบวนการทางชีววิทยาหลายประการแต่ก็มีอันตรายหากได้รับรังสีอัลตราไวโอเลตในปริมาณที่มากเกินไปเช่นความสามารถในการปรับและป้องกันตัวของสิ่งมีชีวิตบางชนิดรวมทั้งมนุษย์จะเสื่อมถอยลงและจะเป็นอันตรายขั้นรุนแรงต่อไปโดยเฉพาะผิวหนังและตา ดังนั้นเพื่อหลีกเลี่ยงรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีความเข้มสูงจึงควรมีวิธีป้องกันและจำกัดการรับรังสีดวงอาทิตย์ [FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<o:p> </o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]3. ชนิดรังสีอัลตราไวโอเลต [FONT=&quot]?<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]รังสีดวงอาทิตย์ประกอบด้วยรังสีอัลตราไวโอเลต [FONT=&quot](Ultraviolet) รังสีช่วงแสงสว่าง (Visible) และอินฟราเรด (Infrared) รังสีมีคุณสมบัติตามช่วงคลื่น มักแสดงในหน่วยนาโนเมตร (nanometer, nm = 10<sup>-9</sup>m) เพื่อที่จะอธิบายผลกระทบทางชีววิทยา สเปคตรัมรังสีอัลตราไวโอเลต ([/FONT][FONT=&quot]Solar[/FONT][FONT=&quot] Ultraviolet Spectra)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ประกอบด้วย [/FONT][FONT=&quot]3 ส่วนดังรูปที่ 2<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<o:p> </o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="_x0000_i1026" type="#_x0000_t75" style='width:271.2pt;height:140.4pt'> <v:imagedata src="uvbasic.files/image004.png" o:title=""/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]-->[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]รูปที่ 2 สเปคตรัมรังสีอัลตราไวโอเลต[FONT=&quot] (James H. Gibson, 2002)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]<o:p> </o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]UV-C ช่วงคลื่น 100-280 นาโนเมตร ถูกดูดกลืนเกือบทั้งหมดโดย โอโซน และออกซิเจนในบรรยากาศ <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]UV-B ช่วงคลื่น 280-315 นาโนเมตร ถูกดูดกลืนเป็นส่วนใหญ่และส่องถึงพื้นโลกประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]UV-A ช่วงคลื่น 315-400 นาโนเมตร ไม่ดูดกลืนโดยโอโซน แต่ส่วนมากไม่ทำลายสิ่งมีชีวิต<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]รังสีอัลตราไวโอเลตสามารถวัด[FONT=&quot]ได้[/FONT][FONT=&quot]ในรูปกำลังงานการแผ่รังสีตกกระทบต่อหน่วยพื้นที่ [/FONT][FONT=&quot](Irradiance) ที่ใช้หน่วยเป็นวัตต์ต่อตารางเมตร (w/m<sup>2</sup>) หรือในรูปพลังงานตกกระทบต่อหน่วยพื้นที่ในช่วงเวลาที่กำหนด (Radiant Exposure or dose) ใช้หน่วย จูลต่อตารางเมตร (J/m<sup>2</sup>)[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<o:p> </o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]4.เหตุใดหญ้ามีสีเขียว ท้องฟ้าเป็นสีฟ้า? [FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<o:p> </o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]เป็นเพราะปฏิกิริยาระหว่างรังสีกับวัตถุ เราสามารถสังเกตปฏิกิริยาของวัตถุกับแสงได้รอบตัว เช่น หญ้ามีสีเขียว เพราะ ว่าโฟตอนของสีแดงและน้ำเงินถูกดูดกลืนโดยคลอโรฟีลของพืช หรือรถยนต์เห็นเป็นสีแดงเพราะแสงสีน้ำเงินและเขียวถูกดูดกลืนโดยสีที่ใช้เคลือบรถ วัตถุสามารถปล่อยโฟตอน (ซึ่งตรงข้ามกับการดูดกลืน) ถ้าถูกกระตุ้นด้วยพลังงานหรือให้ความร้อนจนมีอุณหภูมิสูงพอ แสงจากหลอดฟลูออเรสเซนต์เป็นผลจากการกระตุ้นไอปรอทด้วยอิเลคตรอนพลังงานสูงแล้วปล่อยโฟตอนออกมา (แท้จริงอยู่ในช่วง [FONT=&quot]UV) และทำปฏิกิริยากับ ฟอสฟอรัสที่ฉาบไว้กับผนังหลอดจึงปล่อยแสงสว่างออกน้ำเงินที่เราเห็น หลอดไฟบนขอบถนนที่ออกเป็นสีเหลืองเป็นผลจากโฟตอนที่ถูกปล่อยโดยไอโซเดียมที่ถูกกระตุ้นหรือให้ความร้อน ดังนั้น ปฏิกิริยาระหว่างวัตถุกับรังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นผลมาจากทั้ง การดูดกลืนและการปล่อยโฟตอน ขึ้นอยู่กับแต่ละปรากฏการณ์ที่สังเกต<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]กรณีของรังสี [FONT=&quot]UV-B กับอินทรีย์ของสิ่งมีชีวิต มักจะเป็นปรากฏการณ์การดูดกลืน โดยที่ดวงอาทิตย์เป็นวัตถุที่มีพลังงานสูงมากและปล่อยโฟตอนออกมาหลายช่วงความถี่ รวมทั้งช่วง UV ซึ่งมีการดูดกลืนโดยอินทรีย์ และเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต ต่างกับการดูดกลืนโฟตอนของพืชในช่วงสีน้ำเงินและแดง (400-500 และ 650-780 นาโนเมตร) เพื่อเป็นพลังงานใช้ในการสังเคราะห์แสง แต่การดูดกลืนรังสี UV ของอินทรีย์ของสิ่งมีชีวิตถือเป็นการทำลายเซลล์แบบถาวร<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]รังสี [FONT=&quot]UV-C[/FONT][FONT=&quot] มีความเข้มสูงที่สุดของช่วง UV แต่ถูกดูดกลืนไว้เกือบหมด นับเป็นโชคดีของสิ่งมีชีวิต หาไม่แล้วอาจไม่มีสิ่งมีชีวิตเช่นเราๆ บนโลก ตัวอย่างเช่น ใช้รังสี UV-C ที่ปล่อยจากหลอดซึ่งใช้สำหรับฆ่าเชื้อโรค (germicidal lamp) <o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]รังสี[FONT=&quot] UV-B[/FONT][FONT=&quot] ถูกดูดกลืนโดยโอโซนส่วนใหญ่และส่องถึงพื้นโลกบางส่วนเท่านั้น มีผลในการสร้างวิตามินดีในเวลาสั้นๆแต่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตมากที่สุด ทำให้ผิวหนังแดง ไหม้เกรียม มีการสะสมทำให้เกิดมะเร็งผิวหนัง โรคเกี่ยวกับตา และยับยั้งระบบภูมิคุ้มกันร่างกายในระยะยาว [/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]รังสี[FONT=&quot] UV-A[/FONT][/FONT][FONT=&quot] ถูกดูดกลืนโดยโอโซนเป็นส่วนน้อย ส่วนใหญ่ส่องถึงพื้นโลกได้ แต่มีอันตรายไม่มาก มีความจำเป็นต่อร่างกายในการสังเคราะห์วิตามินดี แต่หากมากเกินไปจะทำให้ผิวหนังหยาบกร้าน ยับยั้งภูมิคุ้มกันร่างกาย ทำให้ผิวหนังแดงและโรคเกี่ยวกับตาน้อยกว่า UV-B[/FONT]



    http://ozone.tmd.go.th/uvaffect.htm


    <!-- Start of StatCounter Code --> [​IMG]
     
  20. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    ผลกระทบจากรังสีอัลตราไวโอเลต

    [FONT=&quot]
    [FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]สามารถแบ่งประเภทผลกระทบได้ 3 ประเภท คือ[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]1. ผลกระทบต่อมนุษย์<o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot] รังสีอัลตราไวโอเลต มีทั้ง[FONT=&quot]คุณ[/FONT][FONT=&quot]และโทษต่อสุขภาพมนุษย์ [/FONT][FONT=&quot] คุณ[/FONT][FONT=&quot]ประโยชน์ของรังสีอัลตราไวโอเลตคือ ช่วยสังเคราะห์วิตามิน [/FONT][FONT=&quot]D ที่ผิวหนังมนุษย์และสัตว์[/FONT][FONT=&quot]และ[/FONT][FONT=&quot]มี[/FONT][FONT=&quot]ส่วน[/FONT][FONT=&quot]สำคัญในการสร้างเสริมเนื้อเยื่อกระดูก [/FONT][FONT=&quot] ส่วน[/FONT][FONT=&quot]ผลกระทบที่เป็นโทษของรังสีอัลตราไวโอเลต คือ ผิวหนังเกรียม กระจกตาอักเสบ[/FONT][FONT=&quot] ([/FONT][FONT=&quot]snow [/FONT][FONT=&quot]blindness) [/FONT][FONT=&quot]ต้อกระจก ผิวหนังเหี่ยวย่น และมะเร็งผิวหนัง[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot] เราสามารถแบ่งผลกระทบออกเป็น [FONT=&quot]4 ส่วนดังนี้<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]

    [FONT=&quot]ผลกระทบต่อดวงตา[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]

    [FONT=&quot]ตาของมนุษย์ไม่เพียงแต่ได้รับแสงที่ส่งมาจากดวงอาทิตย์โดยตรงเท่านั้น แต่ยังได้รับแสงจากการตก[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]กระทบภายใต้มุมที่เฉียงมากๆอีกด้วย ดังนั้นหากตาได้รับรังสีอัลตราไวโอเลตโดยที่ไม่มีอุปกรณ์ป้องกัน ก็จะเป็นอันตรายต่อดวงตา โดยผลกระทบระยะสั้นที่เกิดขึ้นคือ กระจกตาอักเสบ[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] และผลกระทบระยะยาวเช่น ต้อเนื้อ ต้อลมหรือ ต้อกระจก[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]

    [FONT=&quot]โรคเกี่ยวกับตา[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]

    [FONT=&quot]ต้อเนื้อ[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]

    [FONT=&quot]คือภาวะที่มีการเสื่อมของเยื่อบุตาขาว พบมากในประเทศที่มีอากาศร้อน และแสงแดดจัดๆ เช่น ประเทศไทย จะพบผู้ป่วยที่เป็นต้อเนื้อกันมากโดยเฉพาะในสังคมชนบทที่มีแสงแดดจัด ลมแรง จะพบว่าผู้ทำไร่ ทำสวน ทำนา เป็นต้อเนื้อกันมาก[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shapetype id="_x0000_t75" coordsize="21600,21600" o:spt="75" o:preferrelative="t" path="m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe" filled="f" stroked="f"> <v:stroke joinstyle="miter"/> <v:formulas> <v:f eqn="if lineDrawn pixelLineWidth 0"/> <v:f eqn="sum @0 1 0"/> <v:f eqn="sum 0 0 @1"/> <v:f eqn="prod @2 1 2"/> <v:f eqn="prod @3 21600 pixelWidth"/> <v:f eqn="prod @3 21600 pixelHeight"/> <v:f eqn="sum @0 0 1"/> <v:f eqn="prod @6 1 2"/> <v:f eqn="prod @7 21600 pixelWidth"/> <v:f eqn="sum @8 21600 0"/> <v:f eqn="prod @7 21600 pixelHeight"/> <v:f eqn="sum @10 21600 0"/> </v:formulas> <v:path o:extrusionok="f" gradientshapeok="t" o:connecttype="rect"/> <o:lock v:ext="edit" aspectratio="t"/> </v:shapetype><v:shape id="_x0000_i1025" type="#_x0000_t75" style='width:87.75pt; height:67.5pt' fillcolor="window"> <v:imagedata src="./uvaffect.files/image002.png" o:title=""/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]รูปที่ 1 ต้อเนื้อ (รพ. ไทยนครินทร์)[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]อาการ [FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]

    [FONT=&quot]โดยมากจะ[FONT=&quot]เป็น[/FONT][FONT=&quot]เวลานาน[/FONT][FONT=&quot]ก่อน[/FONT][FONT=&quot]จะ[/FONT][FONT=&quot]พบอาการ[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]มัก[/FONT][FONT=&quot]เกิด[/FONT][FONT=&quot]บริเวณหัวตามากกว่าหางตา[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เห็นเป็นลักษณะแผ่นเนื้อสีชมพู หรือแดงเข้าไปในกระจกตาดำ ถ้าเป็นมากหรือนานๆ ก็อาจ[/FONT][FONT=&quot]เข้า[/FONT][FONT=&quot]ไป[/FONT][FONT=&quot]ถึง[/FONT][FONT=&quot]กลางตาดำ ทำให้มองไม่เห็นได้ ผู้ป่วยที่เป็นต้อเนื้อจะมีอาการเคืองตา เจ็บตา[/FONT][FONT=&quot]หรือ[/FONT][FONT=&quot]แสบตา เหมือนมีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในตาโดยเฉพาะเวลาโดนแดดหรือลม บริเวณที่เป็นต้อ[/FONT][FONT=&quot]เนื้อ[/FONT][FONT=&quot]จะมีอาการอักเสบแดงซึ่งจะเคืองตามากขึ้น[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]การรักษา[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]

    [FONT=&quot]ในระยะแรกจักษุแพทย์จะพิจารณาให้การรักษาตามอาการไปก่อน แต่ถ้าเป็นมากแล้วก็จะ[FONT=&quot]ต้อง[/FONT][FONT=&quot]ทำการลอกออก ซึ่งปัจจุบันวิธีการลอกต้อเนื้อมีหลายวิธี [/FONT][FONT=&quot]([/FONT][FONT=&quot]แต่[/FONT][FONT=&quot]ละวิธีจะให้[/FONT][FONT=&quot]ผลใกล้เคียงกัน[/FONT][FONT=&quot])[/FONT][FONT=&quot] เป็นวิธีการหนึ่งที่[/FONT][FONT=&quot]นำเอา[/FONT][FONT=&quot]ต้อ[/FONT][FONT=&quot]เนื้ออ[/FONT][FONT=&quot]อกมาจากกระจกตาดำ[/FONT][FONT=&quot]ได้[/FONT][FONT=&quot] แต่พบว่าต้อเนื้อก็ยังสามารถที่จะกลับมาเป็นใหม่ได้อีกเช่นกัน แต่[/FONT][FONT=&quot]มีโอกาส[/FONT][FONT=&quot]น้อย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยและสิ่งแวดล้อม[/FONT][FONT=&quot]ต่างๆ [/FONT][FONT=&quot]ด้วย เช่น หลังการลอกแล้วยังทำงานกลางแดดเป็นประจำหรือไม่ [/FONT][FONT=&quot]เป็นต้น<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]การป้องกัน[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]

    [FONT=&quot]การป้องกัน[FONT=&quot]ถือ[/FONT][FONT=&quot]เป็นการรักษาที่ดีที่สุดของต้อเนื้อ[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เพราะว่าถ้าป้องกันได้ดี[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ต้อเนื้อที่เป็นอยู่ขณะนั้นก็จะไม่ลุกลามมากขึ้น และอาจ[/FONT][FONT=&quot]เบา[/FONT][FONT=&quot]บางลงได้ [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ผู้ป่วยจะเคืองตาน้อยลง การป้องกันที่[/FONT][FONT=&quot]ดีที่สุด[/FONT][FONT=&quot]คือ การหล[/FONT][FONT=&quot]บ[/FONT][FONT=&quot]เลี่ยงจากแสงแดดจัด[/FONT][FONT=&quot]ซึ่ง[/FONT][FONT=&quot]มีรังสีอัลตราไวโอเลต หรือบริเวณที่[/FONT][FONT=&quot]มี[/FONT][FONT=&quot]ลมแรงๆ ฝุ่นละอองหรือ ควันมากๆ ซึ่งจะระคายเคืองตาและทำให้ต้อเนื้ออักเสบ การสวมใส่แว่นกันแดดเวลา[/FONT][FONT=&quot]อยู่กลางแดด[/FONT][FONT=&quot]จะมีส่วนช่วยได้มาก[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]

    [FONT=&quot]ต้อลม[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]

    [FONT=&quot]คือ[FONT=&quot]ภาวะที่มีการเสื่อมของเยื่อบุตาขาว เช่นเดียวกันกับต้อเนื้อ ต่างกันตรงที่ต้อลมไม่ลุกลามเข้า[/FONT][FONT=&quot]ไปใน[/FONT][FONT=&quot]กระจกตาดำ[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ลักษณะที่พบ[FONT=&quot] ผู้ป่วยจะสังเกตเห็นว่ามีเยื่อตุ่มที่บริเวณลูกตาข้างๆ กระจกตาดำ สีขาว[/FONT][FONT=&quot] /[/FONT][FONT=&quot] เหลือง[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] บางครั้งจะมีลักษณะแดง บางรายรู้สึกเหมือนมีสิ่งแปลกปลอมในตา[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="_x0000_i1026" type="#_x0000_t75" style='width:101.25pt;height:62.25pt' fillcolor="window"> <v:imagedata src="./uvaffect.files/image004.png" o:title=""/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]รูปที่ 2 ต้อลม (รพ. ไทยนครินทร์)[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]อาการ[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]

    [FONT=&quot]ผู้ป่วยมีอาการระคายเคือง เจ็บตาโดยเฉพาะเวลาที่มีการอักเสบเป็นตุ่มแดงๆ จะมีอาการมากขึ้น หรือผู้ป่วยอาจไม่มีอาการอะไรเลย เพียงสังเกตเห็นว่าเป็นตุ่มขาวๆ เหลืองๆ บริเวณข้างๆ กระจกตาดำเท่านั้น [FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]การรักษา[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]

    [FONT=&quot]การรักษาตามอาการที่เป็น ไม่มีข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดลอกต้อลมออก ยกเว้น[FONT=&quot]กรณี[/FONT][FONT=&quot]ผู้ป่วยมีอาการอักเสบเป็นๆ หายๆ บ่อย[/FONT][FONT=&quot]ครั้ง [/FONT][FONT=&quot] ต้อลมนูนหนาจนดูน่าเกลียดหรือต้อลมเป็นอุปสรรคต่อการใช้เลนส์สัมผัส [/FONT][FONT=&quot](Contact lens)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]การป้องกัน[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]

    [FONT=&quot]พยายามหลีกเลี่ยงบริเวณที่มีลมแรงปะทะ เช่น ริมหน้าต่างรถ หรือจักรยานยนต์ หรือแม้กระทั่งเครื่องปรับอากาศรถยนต์ นอกจากนี้ ควรหลีกเลี่ยงบริเวณที่มีฝุ่นควันมากๆ เช่น บริเวณสูบบุหรี่ เป็นต้น การใส่แว่นจะช่วยป้องกันสิ่งเหล่านี้ได้บ้าง อาจจะไม่จำเป็นต้องเป็นแว่นกันแดด แต่ถ้าเป็นแว่นกันแดดได้ด้วยก็จะดียิ่งขึ้น[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]การยับยั้งภูมิคุ้มกันร่างกาย[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ระบบภูมิคุ้มกัน ทำหน้าที่ป้องกันร่างกายไม่ให้เกิดโรคติดต่อ และมะเร็งบางชนิด โดย[FONT=&quot]มี[/FONT][FONT=&quot]กลไกสำคัญ [/FONT][FONT=&quot]2 ข้อ คือ<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot]-[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]Antibody สามารถแก้พิษ ทำลายจุลินทรีย์ ป้องกันการติดเชื้อ และกำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาสู่ร่างกาย<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot]-[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]Lymphocyte เป็นสื่อที่นำไปสู่การผลิต cytokines ซึ่งกระตุ้นเซลล์อื่นๆของระบบเม็ดเลือดขาวเพื่อทำลายเชื้อโรค ไวรัส และเซลล์มะเร็งบางชนิด<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    [FONT=&quot]รังสีอัลตราไวโอเลตสามารถเปลี่ยนแปลงระบบภูมิคุ้มกันบริเวณตำแหน่งที่ได้รับรังสี โดย[FONT=&quot]ยับยั้ง[/FONT][FONT=&quot]ภูมิคุ้มกันและ[/FONT][FONT=&quot]มี[/FONT][FONT=&quot]บทบาทในการ[/FONT][FONT=&quot]ก่อให้เกิด[/FONT][FONT=&quot]โรคมะเร็งทั้งชนิด [/FONT][FONT=&quot]Melanoma และ non-melanoma โรคติดเชื้อ [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]autoimmunity [/FONT][FONT=&quot]และภูมิแพ้[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]มะเร็งผิวหนัง [FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]รังสีอัลตราไวโอเลต จะทำลาย [FONT=&quot]DNA (genotoxic) เป็นสาเหตุให้เกิดมะเร็งผิวหนัง ซึ่งมี 2 ประเภทคือ<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot](1) มะเร็งผิวหนังชนิด [FONT=&quot]Non-melanoma[/FONT][FONT=&quot] (NMSC) ซึ่งแบ่งกว้างๆ ออกเป็น 2 ชนิด[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]คือ[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot] (1.1) Basal cell carcinoma (BCC) ตัวอย่างแสดงดังรูปที่ 3 <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot] <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="_x0000_i1027" type="#_x0000_t75" alt="pink growth" style='width:59.25pt; height:76.5pt' o:allowoverlap="f"> <v:imagedata src="./uvaffect.files/image006.jpg" o:href="http://www.1stladylauraskincare.com/basal7.jpg"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]รูปที่ [FONT=&quot]3 Basal cell carcinoma (1st Lady Laura Skin Care, 2001)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot](1.2) [FONT=&quot] Squamous cell carcinoma (SCC) ตัวอย่างแสดงดังรูปที่ 4 <o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="Picture10" o:spid="_x0000_i1028" type="#_x0000_t75" alt="" style='width:59.25pt; height:71.25pt'> <v:imagedata src="./uvaffect.files/image008.jpg" o:href="http://www.1stladylauraskincare.com/squamous4.jpg"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]รูปที่ 4[FONT=&quot] Squamous cell carcinoma (1st Lady Laura Skin Care, 2001)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot] <o:p></o:p>[/FONT]
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot](2)[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]มะเร็งผิวหนังชนิด [/FONT][FONT=&quot]Melanoma หรือ cutaneous malignant melanoma (CMM) เป็นผลจาก neoplastic transformation ของ melanocytes ซึ่งเป็นเซลล์ที่ผลิตเม็ดสีในผิวหนังชั้นนอก มีด้วยกัน 4 ชนิด คือ<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    [FONT=&quot](2.1) Superficial spreading melanoma (SSM) ตัวอย่างแสดงดังรูปที่ 5 <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="_x0000_i1029" type="#_x0000_t75" alt="Superficial Spreading Melanoma" style='width:82.5pt;height:64.5pt;mso-wrap-distance-left:3.75pt; mso-wrap-distance-right:3.75pt' o:allowoverlap="f"> <v:imagedata src="./uvaffect.files/image010.jpg" o:title="ulcer"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]รูปที่ [FONT=&quot]5 Superficial spreading melanoma (Your Doctor Inc.,1998)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot](2.2)[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]Nodular melanoma (NM) ตัวอย่างแสดงดังรูปที่ 6<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="_x0000_i1030" type="#_x0000_t75" alt="Nodular Melanoma" style='width:69pt; height:72.75pt;mso-wrap-distance-left:3.75pt;mso-wrap-distance-right:3.75pt' o:allowoverlap="f"> <v:imagedata src="./uvaffect.files/image012.jpg" o:title="thick"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]รูปที่ [FONT=&quot]6 Nodular melanoma (Your Doctor Inc., 1998)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot](2.3)[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]Lentigo maligna melanoma (LMM) ตัวอย่างแสดงดังรูปที่ 7<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot](2.4)[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="_x0000_i1031" type="#_x0000_t75" alt="Lentigo Maligna Melanoma of face." style='width:82.5pt;height:74.25pt;mso-wrap-distance-left:3.75pt; mso-wrap-distance-right:3.75pt' o:allowoverlap="f"> <v:imagedata src="./uvaffect.files/image013.jpg" o:title="ALM"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]รูปที่ [FONT=&quot]7 Lentigo maligna melanoma (Your Doctor Inc. , 1998)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    <!--[if !supportLists]-->[FONT=&quot](2.5)[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]Acral lentiginous melanoma (ALM) ตัวอย่างแสดงดังรูปที่ 8<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]<!--[endif]-->
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if gte vml 1]><v:shape id="_x0000_i1032" type="#_x0000_t75" style='width:90.75pt;height:61.5pt'> <v:imagedata src="./uvaffect.files/image014.png" o:title=""/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]รูปที่ [FONT=&quot]8 Acral lentiginous melanoma (American Academy of Dermatology, 2002)<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]การติดเชื้อ[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot] รังสีอัลตราไวโอเลต มีผลกระทบต่อเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย โดยการเปลี่ยนแปลงกลไกการป้องกันการติดเชื้อหรือโดยการกระตุ้นการติดเชื้อโดยตรง เช่น การติดเชื้อจากปรสิต เนื่องจาก[FONT=&quot] UV-B อันเนื่องมาจาก การถูกยับยั้งภูมิคุ้มกันร่างกาย <o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]2. [FONT=&quot]ผลกระทบต่อพืช[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot] รังสีอัลตราไวโอเลตที่เพิ่มขึ้นมีผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อพืช เช่น ยับยั้งกระบวนการสังเคราะห์แสง ทำลาย [FONT=&quot]DNA และเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบในพืช ทำให้ลักษณะทางกายภาพ และขบวนการเจริญเติบโตของพืช เปลี่ยนแปลงไป นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงมวลชีวภาพและผลิตผลลดลง ถึงแม้ว่าจะมีกลไกที่ลดหรือซ่อมแซมและความสามารถในการปรับตัวต่อการเพิ่มระดับของ UV ที่จำกัดทำให้การเจริญเติบโตของพืชได้รับผลกระทบโดยตรงจากรังสี UV-B<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot] การเปลี่ยนแปลงทางอ้อมที่เกิดจาก [FONT=&quot]UVB (เช่น การเปลี่ยนรูปร่างของพืช) อาจสำคัญเท่าๆกันหรือบางครั้งก็มากกว่าผลกระทบในการทำลายของ[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]UVB การเปลี่ยนแปลงนี้มีความสำคัญต่อพืชที่มีการแข่งขันกันอย่างสมดุล สัตว์ที่กินพืช โรคพืช และวัฏจักร biogeochemical<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]--> <!--[endif]--><o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]3.[FONT=&quot] ผลกระทบต่อวัสดุสิ่งก่อสร้าง[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot] Polymer สังเคราะห์, biopolymer และวัตถุบางอย่างที่มีประโยชน์ทางพาณิชย์ถูกกระทบโดยรังสีอัลตราไวโอเลตที่มาจากแสงอาทิตย์ <o:p></o:p>[/FONT]
    [FONT=&quot] รังสีอัลตราไวโอเลตทำให้วัสดุต่างๆมีสีซีดลง เนื่องจากปฏิกิริยาแสงทำให้วัสดุเปลี่ยนโครงสร้างทางเคมีไป ไม้[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]และกระดาษจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองซีดเมื่อได้รับรังสีอัลตราไวโอเลต ปัจจุบันนี้ วัสดุค่อนข้างจะถูก[/FONT][FONT=&quot]ออกแบบให้[/FONT][FONT=&quot]ป้อง[/FONT][FONT=&quot]กัน[/FONT][FONT=&quot]รังสี [/FONT][FONT=&quot]UV [/FONT][FONT=&quot]ได้[/FONT][FONT=&quot]โดยการเพิ่มคุณสมบัติพิเศษ ดังนั้นการเพิ่ม[/FONT][FONT=&quot]ขึ้นของระดับ[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]UV จะ[/FONT][FONT=&quot]ทำให้เกิดการเปราะพังของ[/FONT][FONT=&quot]วัสดุ[/FONT][FONT=&quot]เร็วขึ้น[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][/FONT]
    <!--[if gte vml 1]><v:line id="_x0000_s1032" style='position:absolute;left:0;text-align:left;z-index:1' from="0,12pt" to="468pt,12.05pt" o:allowincell="f" strokecolor="#d4d4d4" strokeweight="1.75pt"> <v:shadow on="t" origin=",32385f" offset="0,-1pt"/> <w:wrap anchorx="page"/> </v:line><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]-->[FONT=&quot]<!--[if !supportEmptyParas]-->

    http://ozone.tmd.go.th/uvaffect.htm


    [/FONT]
     

แชร์หน้านี้

Loading...