การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย HONGTAY, 10 เมษายน 2007.

  1. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    เจาะลึกผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนของบรรยากาศ Climate Changings : Deep detailed Data

    ภาวะความแห้งแล้งในสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลีย

    <table summary="layout"><tbody><tr><td align="left" valign="middle" width="175">
    </td> <td align="center" valign="middle" width="300"> <hr> </td> <td align="right" valign="middle" width="175">
    </td> </tr> </tbody> </table> <table summary="layout" border="0" width="650"> <tbody> <tr> <td align="left" valign="middle" width="325"> Contents Of This Report: </td> <td align="left" valign="middle" width="325"> <center> [​IMG] </center> </td> </tr> </tbody> </table> <center> [​IMG] </center> <table summary="layout"> <tbody> <tr> <td align="left" valign="top" width="650">
    [​IMG] National Overview

    </td> </tr> </tbody> </table> <table summary="layout" border="0" width="650"> <tbody> <tr> <td align="left" valign="top" width="400">
    • Based on the Palmer Drought Index, severe to extreme drought affected about 8 percent of the contiguous United States as of the end of January 2007, a decrease of about 3 percent compared to last month. By contrast, about 10 percent of the contiguous U.S. fell in the severely to extremely wet categories.
    • About 20 percent of the contiguous U.S. fell in the moderate to extreme drought categories (based on the Palmer Drought Index) at the end of January.
    • On a broad scale, the previous two decades (1980s and 1990s) were characterized by unusual wetness with short periods of extensive droughts, whereas the 1930s and 1950s were characterized by prolonged periods of extensive droughts with little wetness ( moderate to extreme drought, severe to extreme drought).
    </td> <td align="left" valign="top" width="250">
    • A file containing the national monthly percent area severely dry and wet from 1900 to present is available for the severe to extreme and moderate to extreme categories.
    • Historical temperature, precipitation, and Palmer drought data from 1895 to present for climate divisions, states, and regions in the contiguous U.S. are available at the Climate Division: Temperature-Precipitation-Drought Data page in files having names that start with "drd964x" and ending with "txt" (without the quotes).
    </td> </tr> </tbody> </table> <table summary="layout"> <tbody> <tr> <td align="left" valign="top" width="650"> <hr>
    [​IMG] Detailed Drought Discussion

    </td> </tr> </tbody> </table>
    <table summary="layout"><tbody><tr><td align="left" valign="top" width="320"> At the end of January drought continued to be concentrated in Texas and Oklahoma, the northwestern Plains, northern Minnesota and Florida. Drought and abnormal dryness spread across the Southwest into northern California and Nevada (January 30 Drought Monitor). In the drought areas, soil moisture was low, vegetative health was fair, and streamflow was low.

    <table summary="layout"> <tbody> <tr> <td align="center" valign="middle" width="320"> <center> [​IMG] </center> </td> </tr> </tbody> </table>
    </td> <td align="left" valign="top" width="10">
    </td> <td align="left" valign="top" width="320"> In north central Texas and in central Florida, mandatory or voluntary water restrictions were in place in several municipalities. Hungry horses in Alaska, Idaho and the Dakotas received help from the U.S. Humane Society, and hay shortages were noted in many states. Lack of forage affected elk migration patterns in Colorado and decreased the deer population in Wyoming. Continuing drought affected the 2007 wheat crop in northern Oklahoma. The panfish population in Georgia declined due to drought; substantial rains are needed for the fish to recover. A positive impact of drought occurred in Minnesota when a community saved money because spraying mosquitoes was not needed due to a lack of water sources in which mosquitoes lay eggs. Impacts in drought-stricken areas have been collected and summarized by county at the National Drought Mitigation Center's Drought Impact Reporter. </td></tr></tbody></table>

    <table summary="LAYOUT"><tbody><tr><td align="left" valign="middle" width="600">Long-term drought continued in portions of Australia during January. Australian Prime Minister John Howard announced a $7.8 billion (USD) water reform plan to deal with severe drought conditions (Associated Press). The January drought statement is available from the Australian Bureau of Meteorology.

    </td> <td align="right" valign="middle" width="300"><center>[​IMG]
    [SIZE=-1]Australia Drought[/SIZE]</center> </td> </tr> </tbody> </table> [​IMG]
     
  2. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    [​IMG]
    <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr> <td align="right" valign="middle" width="300"><center>[​IMG]
    [SIZE=-1]Africa Precipitation Anomalies[/SIZE]</center> </td> <td align="left" valign="middle" width="600">Although monthly totals were near average, excessive daily rainfall in portions of Kenya and Somalia destroyed property and crops, killed livestock, displaced people and caused fatalities. Rift Valley Fever broke out in sections of Kenya and Somalia killing at least 169 people (UN News Service). In Zambia, flooding from heavy rain in the Solwezi and Mpulungu districts affected over 100,000 people (IFRC).

    </td> </tr> </tbody> </table> <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr><td align="left" width="650"> In Angola, heavy rainfall during January 21-24 produced flooding that caused at least 81 deaths (AFP). In Mozambique, flooding rains rendered more than 3,500 homeless during the 20th-23rd (AFP).

    </td> </tr> </tbody> </table> <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr><td align="left" width="650"> For the latest African weather impacts assessment, see the Famine Early Warning System Network.

    </td> </tr> </tbody> </table> <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr> <td align="left" valign="middle" width="600">Heavy rainfall continued in Malaysia during early January, with the number of fatalities at 18 since flooding rains began in December 2006. The flooding was concentrated in the states of Johor and Sabah. The recent flash flooding, described as the worst in decades, was blamed in large part on environmental degradation and poor development planning. At the peak of the flooding, around 110,000 people were sheltering in relief centers (AFP).

    </td> <td align="right" valign="middle" width="300"><center>[​IMG]
    [SIZE=-1]Indonesia/Malaysia Rainfall Anomalies[/SIZE]</center> </td> </tr> </tbody> </table> <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr><td align="left" width="650"> In northeastern Indonesia, a landslide triggered by floodwaters killed 11 people and left 21 others missing. At least 64 houses and two churches were swept away on the remote Sangihe Island (Associated Press).

    </td> </tr> </tbody> </table> <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr> <td align="right" valign="middle" width="300"><center>[​IMG]
    [SIZE=-1]Philippines Rainfall Anomalies[/SIZE]</center> </td> <td align="left" valign="middle" width="600">In the Philippines, heavy rainfall produced flooding and landslides during the first two weeks of January that killed 23 people and displaced nearly 25,000 people. Seventeen people were killed in Samar and southern Leyte provinces, while six fatalities were reported in Agusan province (AFP).

    </td> </tr> </tbody> </table> <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr><td align="left" width="650"> Monsoon-related flash flooding in Sri Lanka killed 14 people and rendered another 61,000 homeless in January (AFP).

    </td> </tr> </tbody> </table> <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr><td align="left" width="650"> In Brazil, heavy rains in the southeastern part of the country resulted in 31 deaths from flooding and mudslides during the first week of January. The majority of the fatalities occurred in the Rio de Janeiro state (Associated Press).

    </td> </tr> </tbody> </table> <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr> <td align="left" valign="middle" width="600">On the 11th, heavy rainfall led to a dam collapse at a mining company in Brazil's Minas Gerais state, releasing about 2 billion liters (530 million gallons) of mud, bauxite and aluminum sulfate into rivers that supply water for around 90,000 people. In the city of Muriae (located about 318 km northeast of Rio de Janeiro), the polluted water covered houses, killed fish and left a muddy mark two meters (~7 feet) high on city buildings (see photo) (Associated Press).

    </td> <td align="right" valign="middle" width="300"><center>[​IMG]
    [SIZE=-1]Flooding in Muriae, Brazil[/SIZE]</center> </td> </tr> </tbody> </table> <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr><td align="left" width="650"> In Peru, heavy rainfall since late December 2006 produced flooding in the Departments of San Martin and Huanuco in northeast Peru, causing the Huallaga River to exceed the flood stage. More than 30,000 people were affected, with significant damage to crops/agriculture (OCHA). In neighboring Bolivia, several thousand families were affected by flooding during the month (OCHA).

    </td> </tr> </tbody> </table> <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr><td align="left" width="650">In Bolivia, heavy rainfall produced flooding along the major rivers of the country, including the Rio Grande, Pilcomayo, San Juan del Oro, and Bermejo. At least 40,000 people were affected (OCHA).

    </td> </tr> </tbody> </table> [​IMG]


    [​IMG]
    <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr> <td align="left" valign="middle" width="600">In the United States, severe thunderstorms generated tornadoes along the central Gulf Coast region on January 4. In Lousiana's Iberia Parish, there were 2 deaths and at least 15 injuries. As many as ten homes were destroyed (Associated Press).

    </td> <td align="right" valign="middle" width="300"><center>[​IMG]
    [SIZE=-1]U.S. Severe Weather Reports[/SIZE]</center> </td> </tr> </tbody> </table> [​IMG]


    [​IMG]
    <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr> <td align="right" valign="middle" width="300"><center>[​IMG]
    [SIZE=-1]Tropical Cyclone Isobel[/SIZE]</center> </td> <td align="left" valign="middle" width="600">Tropical Cyclone Isobel developed in the southern Indian Ocean on the 2nd and moved ashore in Western Australia near Eighty Mile Beach on the 3rd with maximum sustained winds near 75 km/hr (40 knots or 45 mph). There were few reports of damage, although the cyclone merged into a non-tropical low-pressure system to create a much larger storm.

    </td> </tr> </tbody> </table> <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr> <td align="left" valign="middle" width="600">Tropical Cyclone Clovis developed in the southern Indian Ocean on December 31 and made landfall along the east coast of Madagascar on January 3 with maximum sustained winds near 120 km/hr (65 knots or 75 mph). After heavy rainfall from the passage of a cold front as well as Tropical Cyclone Bondo in December 2006, flooding and mudslides were the primary effects from Clovis.

    </td> <td align="right" valign="middle" width="300"><center>[​IMG]
    [SIZE=-1]Tropical Cyclone Clovis [/SIZE]</center> </td> </tr> </tbody> </table>

    <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr><td align="left" width="650">For 2006 basin tropical cyclone statistics, please refer to the following:
    Australian Basin
    North Indian Ocean Basin
    Western North Pacific Basin
    South Pacific Basin
    South Indian Ocean Basin
    Northeast Pacific Ocean Basin
    Atlantic Basin


    </td> </tr> </tbody> </table> [​IMG]


    [​IMG]
    <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr> <td align="right" valign="middle" width="300"><center>[​IMG]
    [SIZE=-1]Australian "Perfect Storm"[/SIZE]</center> </td> <td align="left" valign="middle" width="600">The remnants of Tropical Cyclone Isobel merged with a non-tropical low-pressure system to create a very large and uncharacteristically powerful storm system across Western Australia on the 4th. The storm's evolution drew parallels with the "Perfect Storm" in the North Atlantic Ocean during October 1991. Very heavy rain was reported in southern sections of Western Australia, with 135 mm (5.3 inches) at Esperance along with winds gusting to 72 km/hr (45 mph) (BBC News).

    </td> </tr> </tbody> </table> <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr> <td align="left" valign="middle" width="600">A powerful storm system affected much of northern Europe during the 17th-18th. Torrential rains and winds gusting up to 170 km/hr (105 mph) affected portions of southern Britain, northern France, the Netherlands, Germany, and the Czech Republic. The UK Met Office reported the strongest winds since January 1990 across the country. There were at least 47 deaths across the region, with tens of thousands losing electrical services during the storm (AFP).

    </td> <td align="right" valign="middle" width="300"><center>[​IMG]
    [SIZE=-1]European Storm [/SIZE]</center> </td> </tr> </tbody> </table> [​IMG]


    [​IMG]
    <table summary="LAYOUT"> <tbody> <tr> <td align="right" valign="middle" width="300"><center>[​IMG]
    [SIZE=-1]Muskogee, OK Ice Storm Photo[/SIZE]</center> </td> <td align="left" valign="middle" width="600">Ice and snow affected large sections of the United States during January 12-17, from Texas and Oklahoma northward through Missouri, Illinois and northeastward into New England. There were more than 60 fatalities, and hundreds of thousands of residents lost electricity to their homes and businesses (AFP). In Oklahoma alone, 23 people lost their lives (Reuters).

    </td> </tr> </tbody> </table> <table summary="LAYOUT"><tbody><tr><td align="left" valign="middle" width="600">Subfreezing temperatures and snow occurred unusually far to the south in parts of Southern California. Governor Arnold Schwarzenegger warned that California's fruit industry was facing its worst-ever crisis due to prolonged low temperatures. Preliminary agricultural losses were estimated at $1 billion (USD)(AFP). In Phoenix, Arizona, low temperatures dipped to <nobr>-2°C</nobr> (29°F) on both the 14th and 15th. Previously, the last subfreezing temperature was observed on December 23, 1990.

    </td> <td align="right" valign="middle" width="300"><center>[​IMG]
    [SIZE=-1]U.S. Southwest Temperatures on January 17[/SIZE]</center></td></tr></tbody></table>
    (ข้อมูลน้ำป่าไหลหลาก น้ำท่วมฉับพลัน ความร้อนสูง พายุที่รุนแรง ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงบรรยากาศ)
     
  3. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    รายงานสภาพอากาศทั่วโลก

    (คลิกภาพเพื่อดูภาพขยาย)

    Global Hazards/Extremes

    National Oceanic and Atmospheric Administration

    National Climatic Data Center

    Last updated - January, 2007
    <hr>
    [​IMG]
     
  4. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    ภาวะโลกร้อนส่งผลให้พายุเฮอร์ริเคนมีความรุนแรงมากขึ้น

    ภาวะโลกร้อนส่งผลให้พายุเฮอร์ริเคนมีความรุนแรงมากขึ้น

    รายงานการศึกษาที่ได้รับการสนับสนุนจาก U.S. National Science Foundation พบว่า โดยอุณหภูมิโลกสูงขึ้นจากภาวะเรือนกระจกส่งผลกระทบให้พายุเฮอร์ริเคนที่ก่อตัวในมหาสมุทรแอตแลนติกมีความรุนแรงและสร้างความเสียหายแก่พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบมากขึ้น นับเป็นรายงานฉบับแรกที่ชี้ถึงความเกี่ยวเนื่องโดยตรงระหว่างปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศโลก (Climate Change) และความรุนแรงของพายุเฮอร์ริเคน
    นาย James Elsner นักวิจัยจาก Florida State University ศึกษาข้อมูลจาก Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC)* และ U.S. National Oceanographic and Atmospheric Administration ในรอบ 50 ปีที่ผ่านมา พบความเชื่อมโยงทางสถิติระหว่างอุณหภูมิเฉลี่ยใกล้ผิวโลกและอุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นผิวมหาสมุทรแอตแลนติก กับความรุนแรงของพายุเฮอร์ริเคน โดยอุณหภูมิเฉลี่ยใกล้ผิวโลกช่วงฤดูพายุเฮอร์ริเคน (ช่วงเดือนมิถุนายน ถึง พฤศจิกายน) สามารถใช้พยากรณ์อุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นผิวมหาสมุทรได้ และการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิของพื้นผิวมหาสมุทรจะส่งผลให้พายุเฮอร์ริเคนมีความรุนแรงมากขึ้น
    ทั้งนี้ รายงานการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ใหม่ๆ ต่างชี้ไปในทางเดียวกันว่าภาวะโลกร้อนอันเกิดจากการกระทำของมนุษย์มีผลให้มีการเกิดพายุเฮอร์ริเคนถี่ขึ้น และความรุนแรงของพายุก็มีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่สูงขึ้น ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการเตรียมพร้อมเพื่อลดความรุนแรงของผลกระทบจากเฮอร์ริเคนที่จะเกิดขึ้นมากขึ้นในอนาคต
    *****************************************************************************
    * IPCC เกิดจากความร่วมมือระหว่าง World Meteorological Organization และ U.N. Environment Programme เพื่อการประเมินข้อมูลทางเทคนิค วิทยาศาสตร์ และเศรษฐกิจสังคมที่เกี่ยวข้องในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบและทางออกในการปรับตัวและบรรเทาปัญหาจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศโลก



    http://www.uswatch.in.th
     
  5. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    สหรัฐฯ พร้อมร่วมมือกับนานาชาติจำกัดการปล่อยสารปรอท

    สหรัฐฯ พร้อมร่วมมือกับนานาชาติจำกัดการปล่อยสารปรอท (Global Mercury Emission)
    U.S. Environmental Protection Agency (EPA) ให้คำมั่นที่จะเพิ่มการตระหนักและการแก้ไขปัญหาการปล่อยสารปรอทสู่บรรยากาศในข้อตกลงระหว่างประเทศ รวมถึงการสร้างความร่วมมือระหว่างกลุ่มอุตสาหกรรมและกลุ่มสิ่งแวดล้อม รายงานเดือนกรกฎาคมของ EPA ได้เสนอเกี่ยวกับแหล่งที่มาของการปล่อยสารปรอท ช่องทางการสัมผัสกับสารปรอท ผลต่อสุขภาพมนุษย์ และแผนการลดปริมาณปรอททั่วโลก ซึ่งส่วนสำคัญของแผนการคือการประสานความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์การระหว่างประเทศ เอกชนและ NGO เพื่อรวบรวมข้อมูล แยกแยะที่มา และสร้างกฎเกณฑ์เพื่อลดการใช้และปล่อยโลหะหนักสู่สิ่งแวดล้อม
    จากข้อมูลของ U.N. Environment Programme (UNEP) พบว่าในแต่ละปีมีการปล่อยสารปรอททั่วโลกราว 4,400-7,500 ตัน สารปรอทที่ถูกปล่อยสู่ธรรมชาติมีที่มาทั้งจากธรรมชาติเช่นการปะทุของภูเขาไฟ และจากกิจกรรมของมนุษย์จากการทำเหมืองและโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งนี้ นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่ามนุษย์เป็นตัวการสำคัญของการแพร่กระจายสารปรอทในดินและแหล่งน้ำ โดยมนุษย์จะได้รับสารปรอทแม้ไม่ได้สัมผัสโดยตรง เนื่องจากสารปรอทสามารถสะสมในเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต พืชและสัตว์ และถ่ายทอดสารผ่านห่วงโซ่อาหาร เข้าสู่ระบบร่างกายมนุษย์ได้
    การที่มนุษย์ได้รับสารปรอทมีส่วนให้เกิดความผิดปกติด้านพัฒนาการและความบกพร่องทางเส้นประสาท ซึ่งผลกระทบแตกต่างตามร่างกายมนุษย์แต่ละคน ชนิดของสารประกอบปรอท และระยะเวลาการได้รับสาร ทั้งนี้ พบว่า ประชากรส่วนใหญ่จะได้รับสารผ่านการบริโภคปลาที่มีสารปรอทปนเปื้อน และอีกส่วนคือผู้ที่ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องหรือใกล้ชิดกับโลหะหนัก สารปรอทสามารถส่งผลให้ทารกในครรภ์เกิดความบกพร่องในกระบวนการคิด ความจำ ความสนใจ ภาษา การเคลื่อนไหวทางร่างกายและสายตา ส่วนอาการของได้รับพิษสารปรอทในผู้ใหญ่ ได้แก่ ความผิดปกติในการมองเห็นภาพกว้าง การรับรู้ประสาทสัมผัส การเคลื่อนไหวขาดการประสานกัน ความผิดปกติในการพูด การได้ยิน การเดินและภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแอ
    ในรายงานของ EPA ระบุว่า ปริมาณสารปรอทในสหรัฐฯ มีที่มาจากในประเทศเพียงร้อยละ 17 และสหรัฐฯ ได้ลดการปล่อยสารปรอทสู่อากาศกว่าร้อยละ 45 แล้วตั้งแต่ปี 2533 ทั้งนี้ EPA ประมาณว่าปริมาณที่มนุษย์เป็นตัวการร้อยละ 50-70 เกิดจากการสันดาปของเชื้อเพลิง โดยเฉพาะการเผาไหม้ของถ่านหินจากจีน อินเดียและประเทศในเอเชียอื่นๆ ซึ่งคาดว่าจะยิ่งเพิ่มระดับมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากความต้องการด้านพลังงานเพิ่มขึ้นเรื่อยๆในแถบประเทศดังกล่าว นอกจากนี้ การทำเหมืองแร่ทองและเงินในเอเชีย อเมริกาใต้และแอฟริกา ยังเป็นแหล่งปล่อยสารปรอทกว่า 300-1000 ตันต่อปี



    http://www.uswatch.in.th/newsus.php?PID=8&fktype=20&ID=425

     
  6. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    สหรัฐฯ กับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิอากาศ (Climate change)
    <table border="0" width="100%"> <tbody><tr> <td valign="top" width="1%"> เมื่อปี 2548 นักวิทยาศาสตร์องค์การ NASA ของสหรัฐฯ ประกาศว่าเป็นปีที่โลกมีอุณหภูมิสูงที่สุดในรอบศตวรรษ โดยสูงกว่าปี 2541 ที่เกิดปรากฏการณ์ El Nino ทั้งนี้ในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาอุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้น 0.8 องศาเซลเซียส (1.44 องศาฟาเรนไฮต์) โดยแนวโน้มความรุนแรงที่เกิดขึ้นสามารถเห็นได้อย่างชัดเจนในระยะ 30 ปีที่ผ่านมาที่พบว่าโลกร้อนขึ้น 0.6 องศาเซลเซียส (1.08 องศาฟาเรนไฮต์) และ เกิดสถิติที่โลกมีอุณหภูมิสูงที่สุด ถึง 5 ครั้งในรอบ 8 ปี นั่นคือ ในปี 2548 2541 2545 2546 และ 2547 ปรากฏการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นทั่วโลกและเกิดชัดเจนในเขตใกล้ขั้วโลกเหนือ โดยเฉพาะแถบอะแลสกา อลาสก้า ไซบีเรีย คาบสมุทรแอนตาร์กติกา และมหาสมุทรซึ่งห่างไกลจากเขตเมือง
    นักวิทยาศาสตร์สังเกตอุณหภูมิโลกที่สูงขึ้นกว่า 50 ปีที่ผ่านมา เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ที่เพิ่มปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์และก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ (greenhouse gases- GHGs) สู่ชั้นบรรยากาศ และเชื่อว่าอุณหภูมิโลกที่สูงขึ้น ส่งผลให้น้ำแข็งขั้วโลกละลาย ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น และเกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติที่ผิดแปลกและรุนแรง ซึ่งรวมทั้งน้ำท่วม ภาวะแห้งแล้ง คลื่นความร้อน หรือพายุเฮอร์ริเคน ที่จะส่งผลต่อผลผลิตการเกษตร จนถึงการคงอยู่ของสายพันธุ์สิ่งมีชีวิตในโลก แม้บางครั้งไม่สามารถเชื่อมโยงได้ชัดเจนระหว่างปรากฏการณ์ธรรมชาติกับภาวะโลกร้อน กอปรกับนักวิทยาศาสตร์บางกลุ่มที่ไม่เชื่อว่ามนุษย์เป็นตัวการสำคัญในเรื่องนี้ แต่ไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าปัญหานี้มีอยู่จริงและเชื่อได้ว่าจะทวีความรุนแรงมากขึ้น คำถามจึงมีอยู่ว่าแนวโน้มในอนาคตจะเป็นอย่างไร และจะรับมือกับปัญหานี้อย่างไร ซึ่งกลายเป็นประเด็นถกเถียงอย่างกว้างขวางทั้งในแวดวงการเมือง และในหมู่สาธารณชน ทั้งนี้คำว่าสภาวะโลกร้อน (global warming) เป็นปัญหาหนึ่งของประเด็นนโยบายสิ่งแวดล้อมในเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิอากาศ (climate change) โดยมีนัยว่าเป็นปัญหาที่มีมนุษย์เป็นตัวการสำคัญ
    ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิอากาศ เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่กระทบต่อชีวิตมนุษย์เป็นวงกว้างเนื่องจากความแปรปรวนของธรรมชาติที่มากขึ้นและรุนแรงขึ้น แม้ความกังวลเรื่องนี้จะมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์สนับสนุนเรื่อยมา และได้รับการผลักดันโดยนักวิทยาศาสตร์ นักสิ่งแวดล้อมทั้งหลายมาอย่างต่อเนื่อง แต่กลับไม่ได้รับความสำคัญจากนโยบายทั้งในและระหว่างประเทศเพื่อให้นำมาสู่การแก้ไขปรากฏผลจริงจัง ทั้งนี้ประเด็นสิ่งแวดล้อมมักถูกมองเป็น ‘soft issue’ เพราะเป็นภัยคุกคามไม่เด่นชัด เป็นนามธรรม และไม่ได้มีความเร่งด่วนเฉพาะหน้า เป็นปัญหาที่คาดว่าจะถึงจุดวิกฤตสักวันแต่ไม่อาจชี้ชัดได้ว่าเมื่อไร จึงเป็นเรื่องน่ากลัวว่าหากคนส่วนใหญ่เชื่อว่าเรายังมีเวลาที่จะรับมือกับเรื่องนี้ และปล่อยให้เวลาผ่านไปจนเกิดผลกระทบที่ไม่สามารถแก้ไขได้
    ประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิอากาศเป็นเฉกเช่นเดียวกับประเด็นสิ่งแวดล้อมอื่นๆที่ถูกผลักดันผ่านความร่วมมือระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นปัญหาส่วนรวมที่ไม่สามารถรับมือได้โดยประเทศใดประเทศหนึ่งโดยลำพัง อย่างไรก็ตามอุปสรรคสำคัญคือประเทศต่างๆ ไม่มีแรงจูงใจที่จะรับภาระค่าใช้จ่ายของสิ่งที่เรียกว่าเป็น “สินค้าสาธารณะของโลก” ในการที่จะลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกปล่อยสู่บรรยากาศ เนื่องจากต้องมีการหาแหล่งพลังงานทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล ซึ่งต้องมีการค่าใช้จ่ายสูงในการค้นคว้าวิจัย ในขณะที่การเติบโตทางเศรษฐกิจยังคงเป็นเป้าหมายหลักของประเทศทั้งหลายทั้งประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา
    </td> </tr> </tbody></table>
    [​IMG]

    http://www.climatechange.com.au/2006/01/27; Wikipedia : Climate Change, Global Warming, Kyoto Protocol; http://www.epa.gov/globalwarming/publications/actions/us_position/bush_ccpol_061101.pdf

    สหรัฐฯ กับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิอากาศ (Climate change)
    <table border="0" width="100%"> <tbody><tr> <td valign="top" width="1%"> ช่วงตลอดสามทศวรรษที่ผ่านมาเกิดสนธิสัญญาระหว่างประเทศขึ้นมากมาย แต่มีกฎหมายที่เกิดผลในทางปฏิบัติเพียงเล็กน้อย กฎหมายหลักได้แก่ UN Framework on Climate Change* ที่มีผลตั้งแต่ปี 2537 และ พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)** ที่มีผลตั้งแต่ปี 2548 ที่ประเทศอุตสาหกรรมทั้งหลายต้องลดการปล่อยก๊าซระหว่างปี 2551-2555 ให้มีระดับที่ต่ำกว่าในช่วงปี 2533 แม้พิธีสารเกียวโตเป็นความพยายามหลักเพื่อลดความรุนแรงของภาวะโลกร้อน แต่มีจุดอ่อนคือ สร้างข้อกำหนดไว้ต่ำ โดยเรียกร้องให้เพียงไม่กี่ประเทศลดปริมาณการปล่อยก๊าซได้อีกเพียงเล็กน้อยในช่วง 5 ปีหลังจากที่สามารถลดปริมาณก๊าซในโลกเกิน 50% และมีข้อจำกัดสำคัญคือ สหรัฐฯ ประเทศมหาอำนาจอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ที่มีสัดส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจกราว 30% ของโลกไม่ได้เข้าร่วมในพิธีสารเกียวโต
    ..............................................................................................................................
    *The United Nations Framework Convention on Climate Change (UNFCCC or FCCC) เป็นสนธิสัญญาสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศเกิดขึ้นจาก UN confernce on Environment and Development (UNCED) หรือที่เรียกกันว่า การประชุม “Earth Summit” เมื่อปี 2535 สนธิสัญญาฉบับนี้มุ่งที่จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพื่อต่อสู้กับสภาวะโลกร้อน ทั้งนี้เป็นสนธิสัญญาที่ไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย แต่ระบุถึงมาตราที่จะให้มีการปรับปรุงแก้ไขที่เรียกว่า พิธีสาร (protocols) ที่จะระบุขีดจำกัดของปล่อยก๊าซ นำมาสู่ พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) ในเวลาต่อมา
    ** พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) เกิดขึ้นจากการเจรจาที่เมือง Kyoto ประเทศญี่ปุ่นเมื่อปี 2540 เปิดให้ลงนามในตั้งแต่ปี 2541 และมีผลบังคับใช้เมื่อปี 16 ก.พ. 2548 หลังรัสเซียซึ่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 17 ให้สัตยาบันเมื่อ 18 พ.ย. 2547 เนื่องจากพิธีสารนี้มีบทบัญญัติให้ข้อตกลงมีผลบังคับใช้ภายภายใน 90 วัน หลังจากมีประเทศร่วมให้สัตยาบันอย่างน้อย 55 ประเทศ โดยในจำนวนนี้จะต้องมีประเทศพัฒนาแล้วที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกออกมารวมแล้วอย่างน้อยร้อยละ 55 ของปริมาณที่มีอยู่ในปัจจุบัน ทั้งนี้ประเทศที่ให้สัตยาบันในพิธีสารนี้จะต้องลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่างๆ ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้ำ โอโซน มีเทน ไนตรัสออกไซด์ และคลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (CFCs) ซึ่งหากพิธีสารนี้ได้รับการนำไปปฏิบัติและประสบความสำเร็จอย่างสมบูรณ์ คาดว่าจะสามารถลดอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกได้ถึงประมาณ 0.02 - 0.028 องศาเซลเซียส ภายในปี 2050 นับถึงเดือน เม.ย. 2549 มีประเทศให้สัตยาบันทั้งหมด 163 ประเทศ คิดเป็นสัดส่วนปริมาณก๊าซร้อยละ 61.6 ของโลก แต่ไม่มีสหรัฐฯ และออสเตรเลียร่วมอยู่ด้วย นอกจากนี้ ประเทศกำลังพัฒนาขนาดใหญ่ เช่น จีนและอินเดีย แม้เป็นภาคีในพิธีสารเกียวโต แต่ไม่ถูกกำหนดต้องให้ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
    </td> </tr> </tbody></table>
    [​IMG]

    http://www.climatechange.com.au/2006/01/27; Wikipedia : Climate Change, Global Warming, Kyoto Protocol; http://www.epa.gov/globalwarming/publications/actions/us_position/bush_ccpol_061101.pdf

    สหรัฐฯ กับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิอากาศ (Climate change)
    <table border="0" width="100%"> <tbody><tr> <td valign="top" width="1%"> แม้สหรัฐฯ ลงนามในพิธีสารเกียวโตในปี 2538 แต่มิได้มีการให้สัตยาบัน หรือถอดถอนการลงนามแต่อย่างใด ทำให้พิธีสารนี้ไม่มีผลบังคับใช้ต่อสหรัฐฯจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากข้อตกลงที่ระบุไว้ในพิธีสารเกียวโตกำหนดให้ประเทศต่างๆ ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในอัตราส่วนที่แตกต่างกัน ซึ่งในกรณีของสหรัฐนั้นถูกกำหนดให้ลดการปล่อยก๊าซดังกล่าวลงจากปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปี 2540 ร้อยละ 7 ต่อปี เป็นระยะเวลาต่อเนื่องกัน ตั้งแต่ปี 2551 ถึงปี 2555 ทั้งนี้ มีบทวิเคราะห์เกี่ยวกับพิธีสารเกียวโตและข้อบังคับใช้ของพิธีสารว่ามีความผิดพลาดและไม่เหมาะสมในหลายประการ ซึ่งเป็นข้ออ้างของสหรัฐฯในการไม่ให้สัตยาบันต่อพิธีสารนี้ เช่น จากรายงานของ Environmental Protection Agency (EPA) ได้มีการวิเคราะห์ว่า พิธีสารเกียวโตมีข้อบกพร่องขั้นพื้นฐาน เนื่องจากไม่สามารถกำหนดจุดหมายในระยะยาวที่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์สนับสนุน ก่อให้เกิดความเสี่ยงที่ร้ายแรงต่อระบบเศรษฐกิจอเมริกันและระบบเศรษฐกิจโลกอย่างไม่จำเป็น และยังไม่มีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เนื่องจากไม่ได้มีการบังคับใช้ในบริเวณสำคัญหลายๆแห่งในโลก โดยเฉพาะการไม่นับรวมถึงประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งมีแนวโน้มที่จะปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นอย่างมาก นอกจากนี้ ยังมีการกล่าวอ้างว่า เป้าหมายและกำหนดเวลาของพิธีสารเกียวโต ไม่ได้เกิดขึ้นจากการคิดคำนวณและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หากแต่เป็นผลของการเจรจาทางการเมือง ซึ่งจะไม่ทำให้เกิดผลที่มีประสิทธิภาพได้จริง และโดยเฉพาะเป้าหมายที่สหรัฐฯถูกกำหนดให้ปฏิบัติตามนั้น ดูจะเป็นการเปลี่ยนแปลงที่มากเกินในระยะเวลาอันสั้น เนื่องจากสหรัฐฯนั้น แม้จะถูกกำหนดให้ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงร้อยละ 7 จากปริมาณการปล่อยก๊าซในปี 2540 แต่หากคำนึงถึงอัตราการเพิ่มการปล่อยก๊าซจากปี 2540 จนถึงปัจจุบัน จะพบว่า สหรัฐฯจะต้องลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงถึงหนึ่งในสามจากปัจจุบัน ภายในระยะเวลา 7 ปี
    จากผลการวิเคราะห์ต่างๆพบว่า นอกจากสหรัฐฯจะต้องเสียค่าใช้จ่ายจำนวนมาก ในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ได้ตามเป้าหมายภายในระยะเวลาที่กำหนด ซึ่งจะเกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจอย่างมาก ยังเป็นการบีบบังคับให้สหรัฐฯ ต้องพึ่งพาประเทศกำลังพัฒนาในการปฏิบัติตามกระบวนการของพิธีสารเกียวโต เพื่อที่จะลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกให้ได้ตามเป้าหมาย โดยกลุ่มธุรกิจมีบทบาทเข้ามาสร้างแรงกดดันให้รัฐบาลดำเนินนโยบายปฏิเสธการเข้าร่วมเป็นภาคีของสหรัฐฯ ในพิธีสารดังกล่าวอย่างชัดเจน ได้แก่ ธุรกิจน้ำมัน ธุรกิจรถยนต์ ธุรกิจเหล็ก ธุรกิจไฟฟ้า ธุรกิจถ่านหิน ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องพลังงานเป็นหลัก เป็นกลุ่มที่จะได้รับผลกระทบเสียหายโดยตรงจากข้อกำหนดในพิธีสารเกียวโต ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อกดดันให้รัฐบาลพิจารณาทบทวนนโยบายต่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมครั้งนี้ใหม่ เพื่อปกป้องผลประโยชน์ที่อาจถูกทำลายหรือบั่นทอนจากพิธีสารดังกล่าว
    อย่างไรก็ตาม ในเดือนกุมภาพันธ์ 2545 รัฐบาลประธานาธิบดีบุชได้ประกาศวิธีการรับมือกับประเด็นปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิอากาศแบบใหม่ ที่ใช้วิธีการทางตลาดและเทคโนโลยี เข้ามาช่วยในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และยังรวมถึงการสร้างความร่วมมือกับประเทศกำลังพัฒนาในการลดความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจกของทั้งในระบบเศรษฐกิจอเมริกันและระบบเศรษฐกิจโลก โดยผ่านนโยบายสนับสนุนการเติบโตทางเศรษฐกิจที่จะทำให้ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีแนวโน้มที่ดีขึ้น ทั้งนี้ สหรัฐฯ มีแผนที่จะลดปริมาณความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจกในระบบเศรษฐกิจอเมริกันลงร้อยละ 18 ภายในระยะเวลา 10 ปี โดยมีวิธีการต่างๆ ที่รวมถึงการวิจัยทางพลังงานและเทคโนโลยี และการศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ดูรายละเอียดใน Climate Change Fact Sheet: http://www.state.gov/g/oes/rls/fs/46741.htm) นอกจากนี้ แนวโน้มสำคัญที่อาจส่งเสริมให้ประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิอากาศก้าวหน้ามากขึ้นคือ ภาวะราคาน้ำมันโลกที่เพิ่มสูงสุดเป็นประวัติการณ์ในปี 2549 ซึ่งทำให้การพัฒนาแหล่งพลังงานทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิลมีความจำเป็นและได้รับความสำคัญทางนโยบายมากขึ้น และอาจเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญที่จะนำไปสู่การการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกได้ในระยะยาว
    </td> </tr> </tbody></table>
    [​IMG]

    http://www.climatechange.com.au/2006/01/27; Wikipedia : Climate Change, Global Warming, Kyoto Protocol; http://www.epa.gov/globalwarming/publications/actions/us_position/bush_ccpol_061101.pdf
     
  7. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    ออสซี่แล้งหนัก-ห้ามทดน้ำ!

    [FONT=Tahoma,]

    บีบีซีรายงานว่า เมื่อวันที่ 19 เม.ย. นายจอห์น ฮาวเวิร์ด นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย แถลงว่า จากสถานการณ์ภัยแล้งอย่างรุนแรงทางภาคใต้ ส่งผลให้รัฐบาลต้องออกคำสั่งห้ามประชาชนทดน้ำจากแม่น้ำเมอร์เรย์-ดาร์ลิง แม่น้ำสำคัญที่หล่อเลี้ยง 5 รัฐของออสเตรเลีย มาใช้เพื่อการเกษตรเด็ดขาด เนื่องจากสภาพความแห้งแล้งทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำลดลง คำสั่งนี้มีผลไปจนกว่าระดับน้ำจะเพิ่มขึ้น และหาก 6-8 สัปดาห์ข้างหน้าฝนยังไม่ตก จะไม่มีการทดน้ำไปจนกว่าจะถึงเดือนพฤษภาคมปีหน้า

    นายกรัฐมนตรีฮาวเวิร์ด กล่าวว่า ที่ต้องตัดสินใจเช่นนี้เพราะไม่มีทางเลือก เพราะสถานการณ์ตึงเครียด ขณะที่ผู้เพาะปลูกเตือนว่า หากไม่มีน้ำไหลเข้ามาในไร่ในนา พืชผลจะเสียหาย และชาวออสเตรเลียต้องเผชิญกับราคาสินค้าที่เพิ่มขึ้น

    รายงานระบุว่า ออสเตรเลียกำลังเผชิญกับภัยแล้งที่สุดติดต่อกันเป็นปีที่ 6 และทำให้ผลผลิตการเกษตรแถบอ่างเก็บน้ำเมอร์เรย์-ดาร์ลิงลดลงอย่างรวดเร็ว โดยแอ่งน้ำของประเทศที่มีขนาดใหญ่เท่าประเทศฝรั่งเศสและสเปนรวมกัน เป็นแหล่งน้ำของเกษตรกรรมของประเทศร้อยละ 41 นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งชลประทานของออสเตรเลียถึงร้อยละ 85

    http://www.matichon.co.th/khaosod

    -------------------------------------------------------------------------------------

    [/FONT][FONT=Tahoma,]ชี้ภาวะ"โลกร้อน"กระทบ ทะเลอันดามัน-นักท่องเที่ยวหนี



    ชี้ปรากฏการณ์ "เอลนิญโญ" จากภาวะโลกร้อนส่งผลให้ธรรมชาติใต้ทะเลอันดามันเปลี่ยนแปลง น้ำทะเลเป็นน้ำเย็นมีตะกอนขุ่น

    ดร.ธรณ์ ธำรงค์นาวาสวัสดิ์ อาจารย์ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เผยว่า จากภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นทำให้เกิดหลายปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับทะเลโดยตรงคือเอลนิญโญในเมืองไทยได้รับผลกระทบหลายครั้ง ที่ชัดเจนคือ 10 ปืที่ผ่านมา น้ำทะเลอันดามันเย็นลง ในช่วงเดือนธันวาคม-เมษายน และเกิดน้ำร้อนในอ่าวไทยในเดือนพฤษภาคม-กันยายน และปี 2550 นี้ ลักษณะคล้ายคลึงกัน คือในอันดามันน้ำเย็น มาจากน้ำที่อยู่ในทะเลลึกเคลื่อนที่เข้าสู่พื้นที่ใกล้ฝั่ง ซึ่งน้ำนอกจากเย็นแล้วยังขุ่นมีตะกอนจากทะเลลึก ซึ่งเดิมไม่เคยเข้ามาในเขตตื้น แต่มากับมวลน้ำเย็น และตะกอนนี้มีธาตุอาหารจำนวนมาก ทำให้แพลงตอนที่อยู่ในเขตน้ำตื้นเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว นักท่องเที่ยวที่ไปว่ายน้ำหรือดำน้ำจะรู้สึกว่า น้ำเย็น น้ำขุ่นและคันยิบๆ เพราะแพลงตอนบางตัวซึ่งมีพิษแต่ไม่อันตรายถึงชีวิตแต่ทำให้คัน นอกจากนี้แพลงตอนทำให้มีสัตว์น้ำขนาดใหญ่และสัตว์น้ำแปลกๆ ตามเข้ามา

    "แพลงตอนเพิ่มจำนวนมหาศาลทำให้เกิดปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ ออกซิเจนในน้ำลดลงและแพลงตอนบางชนิดเป็นพิษ ทำให้สัตว์น้ำตาย สิ่งที่เห็นคือน้ำเป็นสีแดงเป็นแนว เป็นหย่อมแดงๆ คนสมัยก่อนเรียกว่าขี้ปลาวาฬ" ดร.ธรณ์ กล่าว

    ดร.ธรณ์ ระบุว่า น้ำเย็น น้ำร้อน นอกจากมีปัญหาเกี่ยวกับแพลงตอนและปลาแล้ว สัตว์หลายชนิดที่ต้องอยู่ในน้ำเย็นมากๆ ก็เกิดปัญหา ช่วง 10 ปีให้หลังที่ผ่านมาพบว่าปะการังสีสวย ๆ ในจุดดำน้ำที่เรียกกันว่า หินแดง หินม่วง จ.กระบี่ เริ่มประสบปัญหาเหี่ยวเฉาและอ่อนแอ ทำให้นักดำน้ำที่ไปดำทางด้านอันดามันใต้คือหินม่วงหินแดงค่อนข้างผิดหวัง เพราะปะการังอ่อนเฉา และบริเวณดังกล่าวไม่ค่อยมีปลา ปลาใหญ่จะขึ้นไปอยู่อันดามันเหนือ ตอนนี้นักดำน้ำส่วนใหญ่ย้ายไปทางอันดามันเหนือ คือหมู่เกาะสุรินทร์, สิมิลัน และเกาะต่างๆ ใน จ.พังงา รวมทั้ง จ.ภูเก็ต ยังอยู่ในภาวะที่มีปลาใหญ่เยอะ แต่พอลงมาที่กระบี่ ตรัง สตูล ก็เริ่มมีปัญหา

    [/FONT][FONT=Tahoma,]
    http://www.matichon.co.th/khaosod

    [/FONT]
     
  8. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    เหนือ-อีสานอากาศแปรปรวน ร้อนอบอ้าว-ร้อนจัด-ฝนฟ้าคะนอง

    [​IMG]
    กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศ ประจำวันเสาร์ที่ 21 เมษายน 2550 เมื่อเวลา 04:00 น. ว่า ความกดอากาศต่ำจากความร้อนปกคลุมประเทศไทยตอนบน ประกอบกับลมใต้พัดนำความชื้นจากอ่าวไทยเข้ามาปกคลุมภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลักษณะเช่นนี้จะทำให้บริเวณประเทศไทยตอนบนมีอากาศร้อนอบอ้าวโดยทั่วไป กับมีอากาศร้อนจัดในภาคเหนือ และมีฝนฟ้าคะนองกับมีลมกระโชกแรงเกิดขึ้นได้ในระยะนี้ ขอให้ประชาชนระมัดระวังอันตรายจากลมกระโชกแรงไว้ด้วย
    พยากรณ์อากาศสำหรับประเทศไทยตั้งแต่เวลา 06:00 วันนี้ ถึง 06:00 วันพรุ่งนี้ เป็นดังนี้
    กรุงเทพมหานครและปริมณฑล อากาศร้อน และมีฝนฟ้าคะนองเป็นแห่งๆ ร้อยละ 30 ของพื้นที่ และมีลมกระโชกแรงบางแห่ง อุณหภูมิต่ำสุด 26 องศา สูงสุด 37 องศา ลมใต้ ความเร็ว 15-30 กม./ชม.
    ภาคเหนือ อากาศร้อน กับมีอากาศร้อนจัดบริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง และตาก โดยมีฝนฟ้าคะนอง กับมีลมกระโชกแรงบางแห่ง ร้อยละ 10 ของพื้นที่ ส่วนมากบริเวณจังหวัดพิษณุโลก พิจิตร และเพชรบูรณ์ อุณหภูมิต่ำสุด 24 องศา สูงสุด 42 องศา ลมใต้ ความเร็ว 10-25 กม./ชม.
    ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อากาศร้อน และมีฝนฟ้าคะนองเป็นแห่ง ๆ ร้อยละ 30 ของพื้นที่ กับมีลมกระโชกแรงบางแห่ง ส่วนมากบริเวณจังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี อุณหภูมิต่ำสุด 24 องศา สูงสุด 39 องศา ลมใต้ ความเร็ว 15-30 กม./ชม.
    ภาคกลาง อากาศร้อน โดยมีฝนฟ้าคะนองกับมีลมกระโชกแรงบางพื้นที่ ร้อยละ 10 ของพื้นที่ส่วนมากบริเวณจังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี และสระบุรี อุณหภูมิต่ำสุด 27 องศา สูงสุด 39 องศา ลมใต้ ความเร็ว 15-30 กม./ ชม.
    ภาคตะวันออก อากาศร้อนทางตอนบนของภาค กับมีฝนฟ้าคะนองเป็นแห่ง ๆ ร้อยละ 30 ของพื้นที่ และมีลมกระโชกแรงบางแห่ง ส่วนมากบริเวณจังหวัดปราจีนบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี จันทบุรี และตราด อุณหภูมิต่ำสุด 25 องศา สูงสุด 39 องศา ลมตะวันออกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม./ชม.ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร ส่วนบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูง 1-2 เมตร
    ภาคใต้ (ฝั่งตะวันออก) มีฝนฟ้าคะนองเป็นแห่ง ๆ ร้อยละ 20 ของพื้นที่ส่วนมากบริเวณจังหวัดเพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฏร์ธานี และนครศรีธรรมราช อุณหภูมิต่ำสุด 23 องศา สูงสุด 37 องศา ลมตะวันออก ความเร็ว 15-30 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร
    ภาคใต้ (ฝั่งตะวันตก) มีฝนฟ้าคะนองเป็นแห่งๆ ร้อยละ 20 ของพื้นที่ส่วนมากบริเวณจังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต ตรัง และสตูล อุณหภูมิต่ำสุด 23 องศา สูงสุด 36 องศา ลมตะวันตกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-30 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร




    http://www.thairath.co.th

     
  9. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    บรรยากาศบนดาวเคราะห์ระบบสุริยะอื่น

    [FONT=Tahoma,]<table align="left" border="0" cellpadding="1" cellspacing="5" width="20%"><tbody><tr bgcolor="#f8b8cb"><td>[​IMG]
    ภาพวาดดาวเคราะห์ เอชดี 189733 บี (HD 189733b) ตามจินตนาการของศิลปิน เป็นดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดาวฤกษ์แบบดวงอาทิตย์ดวงอื่นดวงแรกที่นักดาราศาสตร์วัดสเปคตรัมอินฟราเรดได้ ดาวเคราะห์ดวงนี้ดูเหมือนไม่มีโมเลกุลพื้นฐานเช่นน้ำหรือมีเทนเลย นักดาราศาสตร์คาดว่าโมเลกุลเหล่านั้นอาจมีอยู่แต่ถูกบดบังด้วยชั้นเมฆซิลิเกตอยู่ (ภาพจาก David A. Aguilar (CfA))

    </td></tr></tbody></table>การศึกษาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะอื่นได้ก้าวหน้าขึ้นไปอีกขั้นหนึ่งแล้ว เมื่อนักดาราศาสตร์สามารถตรวจหาองค์ประกอบของบรรยากาศบนดาวเคราะห์ได้ แต่ก็ต้องประหลาดใจกับสิ่งที่พบ

    คณะนักดาราศาสตร์ที่นำโดย คาร์ล กริลล์แมร์ จากศูนย์วิทยาศาสตร์สปิตเซอร์และ เดวิด ชาบงโน จากศูนย์ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ฮาร์วาร์ด-สมิทโซเนียน รายงานว่า สามารถวัดสเปคตรัมโดยตรงจากดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดาวฤกษ์ดวงอื่นเป็นครั้งแรก

    ดาวเคราะห์ที่นักดาราศาสตร์คณะนี้สำรวจ มีชื่อว่า เอชดี 189733 บี (HD 189733b) เป็นดาวเคราะห์ของดาวฤกษ์ดวงหนึ่งที่เบากว่าและเย็นกว่าดวงอาทิตย์เล็กน้อย อยู่ห่างออกไป 60 ปีแสงในทิศทางของกลุ่มดาวหมาจิ้งจอก และเป็นดาวเคราะห์ที่มีแนวโคจรผ่านหน้าดาวฤกษ์ที่ใกล้โลกที่สุด การสำรวจอาศัยสเปคโทรกราฟอินฟราเรดที่ติดอยู่บนกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ของนาซา

    "มันเหมือนกับการได้ไปสูดบรรยากาศบนดาวเคราะห์ดวงนั้นเข้าในปอดจริงๆ" ชาบงโนเปรียบเปรย "แต่เราก็ต้องประหลาดใจกับสิ่งที่พบ หรือจะว่ากันให้ถูกต้อง เราต้องประหลาดใจกับสิ่งที่เราไม่พบ"

    "เราคาดหวังว่าจะได้เห็นโมเลกุลทั่วไปอย่างเช่น น้ำ มีเทน และคาร์บอนไดออกไซด์ แต่กลับไม่พบเลย สเปคตรัมที่พบราบเรียบ ไม่มีลักษณะเฉพาะตัวของโมเลกุลใดเลย" กริลล์แมร์อธิบาย

    ดาวเอชดี 189733 บี เป็นดาวเคราะห์ประเภท "พฤหัสร้อน" ซึ่งหมายถึงเป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่และหนักมาก โคจรรอบดาวฤกษ์ด้วยวงโคจรเล็กมาก ในกรณีของดาวเคราะห์ดวงนี้มีคาบโคจร 2.2 วัน มีมวลและขนาดใหญ่กว่าพฤหัสบดี อยู่ห่างจากดาวฤกษ์เพียงสาม 4.8 ล้านกิโลเมตร อุณหภูมิของดาวเคราะห์ดวงนี้จึงสูงมากถึง 930 องศาเซลเซียส

    ดาวเอชดี 189733 บี ได้รับเลือกให้เป็นเป้าหมายในการสำรวจเนื่องจากมีแนวโคจรผ่านหน้าดาวแม่ ดังนั้น บางช่วงดาวจะผ่านหน้าดาวฤกษ์ และบางช่วงก็หายไปอยู่ด้านหลัง ช่วงที่ดาวเคราะห์ผ่านหน้า ดาวเคราะห์จะบังแสงจากดาวฤกษ์ไปบางส่วน ทำให้แสงสว่างจากดาวฤกษ์ลดลงเล็กน้อย ในทางกลับกัน เมื่อดาวเคราะห์อ้อมไปอยู่หลังดาวฤกษ์ แสงจากดาวเคราะห์ก็ถูกดาวฤกษ์บัง แสงจากทั้งระบบก็จะลดลงเล็กน้อยเช่นกัน การสำรวจการบังในช่วงที่ดาวเคราะห์อ้อมไปอยู่ด้านหลังช่วยให้นักดาราศาสตร์สามารถคัดกรองเอาสัญญาณของดาวฤกษ์ใกล้เคียงดวงอื่นออกไป เหลือเฉพาะแสงจากดาวเคราะห์เพียงอย่างเดียวได้

    การคำนวณตามทฤษฎีไม่ว่าจะมาจากนักดาราศาสตร์สำนักใดล้วนระบุตรงกันว่า ดาวเคราะห์ดวงนี้น่าจะแสดงสเปคตรัมของไอน้ำเด่นชัดที่สุด สเปคตรัมของมีเทนก็ควรจะมีอยู่เป็นจำนวนไม่น้อยเช่นกัน แล้วเหตุใดกลับไม่พบสเปคตรัมของไอน้ำและมีเทนบนดาวเคราะห์ดวงนี้เลย

    นักดาราศาสตร์เชื่อว่า ดาวเคราะห์ไม่ว่าที่ใดล้วนมีกำเนิดแบบเดียวกัน และเนื่องจากบริเวณรอบดวงอาทิตย์มีโมเลกุลของน้ำและมีเทนอยู่มาก ดังนั้น รอบดาวฤกษ์ดวงอื่นที่คล้ายดวงอาทิตย์ก็ควรมีโมเลกุลสองชนิดนี้มากเช่นเดียวกัน เขาเชื่อว่าสาเหตุที่ตรวจไม่พบน่าจะเป็นเพราะมีบางอย่างมาบดบังโมเลกุลสองชนิดนี้อยู่

    ผู้ที่มาช่วยคลี่คลายปมปริศนาข้อนี้เป็นดาวเคราะห์อีกดวงหนึ่ง ชื่อ เอชดี 209458 บี (HD 209458b) ซึ่งเป็นดาวเคราะห์ของดาวฤกษ์อีกดวงหนึ่ง สำรวจโดยคณะนักดาราศาสตร์ที่นำโดย เจอเรมี ริชาร์ดสัน จากศูนย์การบินอวกาศกอดดาร์ด นักดาราศาสตร์คณะนี้วัดสเปคตรัมของดาวเคราะห์นี้ได้เช่นกันและพบสัญญาณของซิลิเกต ซึ่งเป็นโมเลกุลที่ประกอบด้วยซิลิคอนและออกซิเจน บนโลกเราจะพบโมเลกุลประเภทนี้ในก้อนหิน แต่ในสภาพแวดล้อมที่ร้อนระอุบนดาวเคราะห์เหล่านั้น ซิลิเกตจะอยู่ในรูปของฝุ่นเม็ดเล็กจิ๋วที่ก่อกันเป็นก้อนเมฆได้

    "เราเชื่อว่าดาวเคราะห์ทั้งสองดวงน่าจะปกคลุมไปด้วยเมฆซิลิเกต" ชาบงโนกล่าว "คาดว่าดาวเคราะห์สองดวงนี้คงจะดูดำมืด ดำกว่าดาวเคราะห์ทุกดวงในระบบสุริยะของเรา"

    หนทางที่ดีที่สุดที่จะพิสูจน์ทฤษฎีนี้ก็คือต้องศึกษาดาวเคราะห์ประเภทพฤหัสร้อนดวงอื่นเพิ่มขึ้น แล้วดูว่ามีสัญญาณแบบเดียวกันในสภาพบรรยากาศบนดาวดวงนั้นหรือไม่

    http://www.matichon.co.th
    [/FONT][FONT=Tahoma,]วันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2550 [/FONT]
     
  10. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    ปริศนาการอพยพของวอลรัส บนเกาะกรีนแลนด์

    [FONT=Tahoma,]<table cellpadding="1" cellspacing="5" width="100%"><tbody><tr><td>คอลัมน์ โลกสามมิติ

    โดย บัณฑิต คงอินทร์ bandish.k@psu.ac.th

    </td><td align="right" valign="top">

    </td></tr></tbody></table>

    [​IMG]ภาพวอลรัส (walrus) ที่นอนผึ่งแดดอยู่บนแผ่นน้ำแข็งอันขาวโพลนด้วยความขี้เกียจในบริเวณตะวันตกของเกาะกรีนแลนด์เป็นภาพที่ชินตาของนักวิทยาศาสตร์และนักล่าวอลรัส แต่ทว่าเมื่อถึงฤดูร้อนกลับไม่มีภาพเช่นนี้ให้เห็นอีกเลย วอลรัสจะอพยพจากที่นี่ไปจนหมดสิ้น

    พวกมันอพยพไปไหนกัน? เป็นสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์อยากรู้ แต่จนกระทั่งถึงบัดนี้ก็ยังหาคำตอบไม่ได้ การอพยพของวอลรัสยังคงเป็นปริศนาดำมืดอยู่ต่อไป

    มันไม่ง่ายเลยที่รู้ความจริงโดยใช้วิธีเดินเท้าแกะรอยตามวอลรัสเหล่านี้ในดินแดนที่ทุรกันดารซึ่งเต็มไปด้วยแผ่นน้ำแข็งที่ทอดยาวออกไปไกลจนสุดลูกหูลูกตา ท่ามกลางอากาศที่เย็นยะเยือกและลมกระโชกแรง

    แต่ความพยายามของนักวิทยาศาสตร์ก็ไม่ได้สิ้นสุดลง พวกเขาคิดว่าวิธีที่น่าจะได้ผลดีที่สุดก็คือแกะรอยวอลรัสจากอวกาศโดยใช้ดาวเทียม

    ทีมนักวิทยาศาสตร์ของ Greenland Natural Environment Institute และ Danish Natural Environment Research Institute จึงได้ออกปฏิบัติติดเครื่องส่งสัญญาณดาวเทียมให้กับวอลรัสที่เกาะกรีนแลนด์เมื่อต้นเดือนเมษายน 2007 ที่ผ่านมา

    นักวิทยาศาสตร์หวังว่าผลของมันไม่เพียงแต่จะทำให้เราจะรู้เส้นทางอพยพและจุดหมายปลายทางของวอลรัสเท่านั้น แต่ยังทำให้เรารู้ว่าพวกมันถูกล่าอย่างไร รวมทั้งพวกมันได้ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอากาศอย่างไรอีกด้วย

    เรือลากอวนขนาด 70 ตัน แล่นฝ่าแผ่นน้ำแข็งเข้าไปในบริเวณช่องแคบเดวิส ซึ่งอยู่ระหว่างชายฝั่งตะวันตกของกรีนแลนด์กับเกาะแบฟฟิน ของแคนาดา

    นักวิทยาศาสตร์เห็นวอลรัสหลายตัวอยู่ข้างหน้า ในบริเวณเฮลเลฟิสเก้ แบงก์ ที่นี่วอลรัสจะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม สองหรือสามตัว ชีวิตประจำวันของพวกมันก็คือดำดิ่งลงไปที่ก้นทะเลซึ่งลึก 70 เมตร หรือ 230 ฟุต เพื่อจับหอยกินเป็นอาหาร หลังจากนั้นพวกมันก็จะกลับขึ้นมานอนผึ่งแดด
    <table style="border: 1px dotted rgb(255, 255, 255);" align="right" border="1" cellpadding="1" cellspacing="5" width="20%"><tbody><tr bgcolor="#ffe9ff"><td>[​IMG]</td></tr></tbody></table>

    แม้ว่าวอลรัสจะอยู่ไม่ไกลจากเรือมากนักก็ตาม แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ต้องใช้เวลาถึงห้าวันกว่าจะเข้าถึงตัวมันและติดเครื่องส่งสัญญาณดาวเทียมได้สำเร็จเพราะสภาพแวดล้อมเลวร้ายกว่าที่คาดไว้มาก

    มิกเกล วิลลัม เจนเซ่น เล่าว่า "มันต้องใช้เวลาถึงห้าวันจึงจะจัดการกับพวกมันได้ เพราะว่ามีน้ำแข็งจำนวนมากซึ่งทำความยากลำบากให้กับพวกเราในการเดินเรือเข้าไปยังที่อยู่ของพวกมัน"

    รีเบคคา มอเรลลี นักวิทยาศาสตร์อีกคนหนึ่งบรรยายเหตุการณ์ว่า หลังจากรอคอยมาเป็นเวลาห้าวัน เช้าวันอังคารที่ 10 เมษายน 2007 กระแสลมแรงจนทำให้แผ่นน้ำแข็งแตกออก กัปตันเรือจึงสามารถนำเรือเข้าไปยังที่อยู่ของพวกมันได้

    เมื่อไปถึงก็พบวอลรัสหนังสีน้ำตาลตัวหนึ่งซึ่งอยู่ไม่ไกลนัก ทันทีที่เห็นวอลลัมและโอเลรีบกระโดดลงเรือเล็กและแล่นเรือเข้าไปหามัน ทว่าเสียงที่เกิดจากกราบเรือกระแทกกับแผ่นน้ำแข็งทำให้วอลรัสตัวนี้ตกใจ มันดำดิ่งลงสู่ก้นทะเลทันที

    วอลลัมและโอเลต้องรอคอยโอกาสที่วอลรัสจะโผล่ขึ้นมาหายใจ ซึ่งในเวลาไม่กี่นาทีต่อมามันก็โผล่ขึ้นมา พวกเขาใช้เครื่องยิงธนูอัดลมซึ่งติดเครื่องส่งสัญญาณดาวเทียมขนาดเล็กที่หัวธนูยิงไปยังวอลรัสตัวนี้ในระยะเพียงไม่กี่เมตร มันถูกยิงเข้าที่ไหล่ และภารกิจติดตั้งเครื่องส่งสัญญาณสำหรับวอลรัสตัวแรกก็ประสบผลสำเร็จ


    ทีมนักวิทยาศาสตร์ตั้งเป้าหมายว่าจะติดตั้งเครื่องส่งสัญญาณดาวเทียมให้กับวอลรัสให้ได้จำนวน 10 ตัว แต่ก็ทำได้เพียง 8 ตัวเท่านั้น อย่างไรก็ตาม เจนเซ่นบอกว่า จำนวนเท่านี้ก็ทำให้เขามีความสุขแล้ว

    วอลรัสเกือบทั้งหมด มีอายุอยู่ในระหว่าง 6-8 ปี และมีเพียง 2 ตัวที่มีอายุมากกว่า 20 ปี สัญญาณดาวเทียมจากตัววอลรัสจะถูกถ่ายทอดไปยังดาวเทียมอาร์กอสซึ่งกำลังอยู่โคจรเหนือขั้วโลกเหนือ

    อีริค บอร์น นักวิทยาศาสตร์ของ Greenland Institute of Natural Resources และ Rune Dietz นักวิทยาศาสตร์ของ National Environmental Research Institute จะทำหน้าที่ศึกษาข้อมูลเพื่อดูการเคลื่อนย้ายของวอลรัสเหล่านี้ นักวิทยาศาสตร์สามารถติดตามพวกมันได้เป็นเวลาอย่างน้อย 3 เดือน ตามอายุการใช้งานของเครื่องส่งสัญญาณดาวเทียม

    วิลลัมเชื่อว่า เครื่องส่งสัญญาณจะบอกเราเกี่ยวกับการอพยพของวอลลัส แต่เขาก็ไม่แน่ใจว่าที่ไหนที่พวกมันซึ่งเป็นสัตว์กลุ่มน้อยในตะวันตกของกรีนแลนด์จะไปใช้ชีวิตในช่วงฤดูร้อน

    วอลรัสเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ วอลรัสสายพันธ์แปซิฟิกอาจมีน้ำหนักตัวถึง 2 ตัน และสูง 3.7 เมตร วอลรัสสายพันธ์แอตแลนติกจะเบากว่า มีน้ำหนักตัวมากกว่า 1.6 ตันเล็กน้อย และสูง 3 เมตร

    วอลลัสมีหนังที่หนามาก มีขนปกคลุมหนา 2-4 เซนติเมตร และมีชั้นไขมันหนาซึ่งทำความอบอุ่นให้กับร่างกายสำหรับต่อสู้กับอากาศที่หนาวเหน็บ จุดเด่นของวอลรัสอยู่ที่เขี้ยวสีขาวสองเขี้ยวที่ยาวเหมือนงา เมื่อแรกเกิดเราจะไม่เห็นเขี้ยวของมัน จนกระทั่งเมื่อมันมีอายุได้ประมาณ 20 ปี เขี้ยวของวอลรัสสายพันธ์แปซิฟิกอาจจะยาวได้ถึง 80 เซนติเมตร หรือ 30 นิ้ว สำหรับสายพันธ์แอตแลนติกจะยาวเพียง 50 เซนติเมตร หรือ 20 นิ้ว

    วอลรัสจะใช้เขี้ยวของมันเกี่ยวแผ่นน้ำแข็งเพื่อดึงตัวมันขึ้นมาจากทะเลและยังใช้เป็นอาวุธป้องกันตัวจากวอลรัสตัวอื่นและหมีขั้วโลกด้วย

    วอลรัสเป็นสัตว์ที่อยู่รวมกันเป็นฝูง และใช้เวลาหนึ่งในสามอยู่บนแผ่นน้ำแข็งหรือบนบก แม้ว่าลำตัวของมันจะทำให้มันดูงุ่มง่ามเมื่ออยู่บนบก แต่เมื่ออยู่ในน้ำมันกลับดำน้ำได้อย่างว่องไว และเดินทางได้ไกลหลายร้อยกิโลเมตร และดำน้ำได้ลึกถึง 250 เมตรเลยทีเดียว

    การขาดความว่องไวและอยู่รวมกันเป็นฝูงบนบก ทำให้มันตกเป็นเป้าสายตาของนักล่าโดยง่ายมาเป็นเวลามากกว่าหนึ่งศตวรรษแล้ว นับตั้งแต่ทศวรรษที่ 1600 วอลรัสมนุษย์ถูกล่าไปแล้วนับหมื่นตัวจากความต้องการไขมัน งา หนัง และเนื้อ ในบางพื้นที่พวกมันถูกล่าจนไม่เหลือแม้แต่ตัวเดียว แต่ในบางพื้นที่ก็กลับฟื้นคืนสภาพใหม่แต่ทว่าการล่าก็ยังคงมีอยู่ต่อไป

    นอกจากภัยคุกคามจากการล่าแล้ว วอลรัสยังถูกคุกคามจากการเปลี่ยนแปลงของอากาศด้วย อุณหภูมิบริเวณขั้วโลกที่สูงขึ้น ทำให้แผ่นน้ำแข็งซึ่งวอลรัสอาศัยอยู่เคลื่อนตัวไปทางเหนือ และออกไปในทะเลมากขึ้นซึ่งเป็นบริเวณที่ไม่มีหอยอาหารของมัน

    นักวิทยาศาสตร์ทีมนี้หวังว่าในระยะยาว ข้อมูลจากเครื่องส่งสัญญาณดาวเทียมจะช่วยให้สามารถประเมินว่า การเปลี่ยนแปลงของอากาศมีผลต่อวอลรัสอย่างไร

    http://www.matichon.co.th

    [/FONT]
     
  11. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    รักษ์โลก



    จากหนังสือพิมพ์เดลินิวส์
    20 เม.ย. 2550
    ภัยคุกคามต่อโลกมนุษย์จาก “ภาวะโลกร้อน” เริ่มเห็นเด่นชัดยิ่งขึ้นทุกขณะ โดยเฉพาะสภาพภูมิอากาศแปรปรวน/ วิปริต ส่งผลกระทบเป็นลูกระนาดต่อทุกสรรพสิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้

    สหประชาชาติถึงกับเปิดประชุมหารือในเรื่องนี้ขึ้นเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ขององค์กรเมื่อวันก่อน เพื่อระดมทรัพยากรรับมือกับสิ่งที่เกิดขึ้นในภาย ภาคหน้า

    ยูเอ็นยังได้ให้การสนับสนุนการประชุมเรื่องนี้ที่สิงคโปร์ ที่มีขึ้นเป็นเวลา 2 วัน คือเมื่อวานกับวันนี้ โดยมีผู้นำภาคธุรกิจและบรรดาผู้เชี่ยวชาญเข้าร่วมงานกว่า 600 คน เพื่อหาแนวทางร่วมมือกันช่วยภาครัฐแก้ปัญหา ภัยคุกคามเพิ่มมากขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ

    “การประชุมสุดยอดธุรกิจโลกเพื่อสิ่งแวดล้อม” ถือเป็นการประชุม ระดับนานาชาติครั้งสำคัญครั้งแรก ที่เน้นด้านธุรกิจกับสิ่งแวดล้อมในทวีปเอเชีย งานนี้หัวเรือใหญ่คือ โครงการสิ่งแวดล้อมแห่ง สหประชาชาติ หรือ ยูเอ็นอีพี ร่วมกับ ยูไนเต็ด เนชั่น โกลบอล คอมแพคท์ กลุ่มที่รับหน้าที่ประสานงานเชิญชวนกลุ่มธุรกิจ ร่วมมือกับยูเอ็น และองค์กรนานาชาติ อื่น ๆ เพื่อสนับสนุนหลักการด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม

    ผู้จัดงานเผยว่า บรรดาผู้แทนที่เข้าร่วมมีแผนจะพิจารณา แนวทางที่ภาค เอกชน รัฐบาลและเอ็นจีโอ สามารถ ร่วมมือกันได้ในการพัฒนา ที่เน้นในด้านการสร้างสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคมและ สิ่งแวดล้อม

    ความเสียหายและการทำลายอย่างเป็นระบบของป่าไม้ แหล่งน้ำจืดและ การประมง รวมทั้งระบบนิเวศที่สำคัญต่อเศรษฐกิจอื่น ๆ ของโลก คือความล้มเหลวด้านนโยบายและความล้มเหลวของตลาด ในการยึดครองคุณค่าแท้จริงของสินทรัพย์ทางธรรมชาติเหล่านี้ นั่นคือคำบรรยายของอาคิม สไตเนอร์ ผู้อำนวยการยูเอ็นอีพี

    ปัจจุบันบางกลุ่มธุรกิจเริ่มตระหนัก ผลกำไรในอนาคตขึ้นอยู่กับความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติที่มีขอบเขตจำกัดเหล่านี้

    บริษัททั่วโลกถูกกล่าวโทษมีส่วนร่วมในการก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม และทำให้สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ซึ่งผู้เชี่ยวชาญเตือนว่าเป็นภัยคุกคามต่อการ สูญพันธ์ุของสัตว์และพืชหลากหลายชนิด

    ในรายงานสำคัญของสหประชาชาติที่นำออกเผยแพร่ในเดือนนี้ เตือนประชาชนหลายพันล้านคนจะเผชิญความเสี่ยงสูงขึ้นจากการขาดแคลนน้ำดื่มน้ำใช้ และอีกหลายร้อยล้านคนประสบความอดอยาก เนื่องจากระบบสภาพอากาศของโลกถูกทำลาย โดยก๊าซเรือนกระจกที่เปลี่ยนรูปแบบของฝน พายุรุนแรงขึ้น เพิ่มความเสี่ยงเกิดภาวะฝนแล้ง และน้ำท่วม

    เท่าที่เห็นชัดในปัจจุบัน จากการประเมินของสหประชาชาติ ประชากรโลกกว่า 1.2 พันล้านคน หรือประมาณ 1 ใน 5 ของทั้งโลกขาดแคลนน้ำดื่ม หากไม่มีการลงมือแก้ไขปัญหากรณีนี้ เชื่อว่าตัวเลขจะเพิ่มเป็น 2.3 พันล้านคนในปี 2566

    นอกจากที่กล่าวแล้ว ที่ประชุมยังจะมีการหารือกันอีกหลายประเด็น เช่น แนวโน้มใหม่ของการลงทุนด้านพลังงานไบโอ พลังงานจากแสงแดด พลังงานลม และแหล่งพลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ

    และการจัดการกับการขยายตัวของชุมชนเมือง ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม วิกฤติน้ำทั่วโลก การใช้วัตถุดิบ เทคโนโลยีและเฟอร์นิเจอร์ “สีเขียว” ในอาคารและอุตสาหกรรมก่อสร้าง

    และการประชุมวาระพิเศษในวันนี้ จะว่ากันถึงแนวทางแก้ไขปัญหาหมอกควันจากไฟป่า ที่แผ่ปกคลุมหลายส่วนของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วงหน้าแล้งของแต่ละปี

    -------------------------------------------------------------------------



     
  12. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    ประจักษ์พยานสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป ในประเทศไทย

    ประจักษ์พยานสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป (Witnesses to Climate Change)
    ในประเทศไทย






    เรื่อง: ฝ่ายพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
    <table align="right"> <tbody><tr> <td height="149" width="15">
    </td> <td valign="top" width="158"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td height="20" valign="top">
    </td> </tr> </tbody></table> สภาวะโลกร้อนได้ส่งผลกระทบขึ้นแล้วทั่วโลก พายุเฮอริเคนโดยเฉพาะคาทาริน่าที่ทำความเสียหายอย่างรุนแรงเป็นประวัติการณ์แก่พื้นที่ชายฝั่งอ่าวเม็กซิโกของสหรัฐตั้งแต่ช่วงกลางปีไปจนถึงปลายปีที่แล้วจนถึงพายุดีเปรสชั่นหลายต่อหลายลูกที่ทำให้เกิดน้ำท่วมหนักในหลายพื้นที่ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมทั้งเมืองเชียงใหม่ในรอบปีที่ผ่านมา เป็นตัวอย่างความหายนะของปรากฏการณ์ที่มนุษย์เป็นต้นเหตุ โดยการเร่งพัฒนาเศรษฐกิจจากการเผาผลาญพลังงานโดยเฉพาะเชื้อเพลิงฟอสซิลอันมีถ่านหินเป็นตัวสำคัญ ได้ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจำนวนมหาศาล ที่สำคัญที่สุดคือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 ) จากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ พบว่า ปริมาณข อง CO2 ในบรรยากาศได้เพิ่มขึ้นจากปริมาณที่น้อยกว่า 320 ppmv ในปี พ. ศ. 2500 เป็น มากกว่า 360 ppmv ในปี พ. ศ. 2540 นับว่าเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมาก เมื่อเทียบกับ ปริมาณ ของก๊าซนี้ที่อยู่ระหว่าง 180-300 ppmv ตลอดระยะเวลาสี่แสนปีที่ผ่านมา CO2 ที่มี ปริมาณ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วนี้ เกินกว่าที่ธรรมชาติจะปรับตัวและรักษาสมดุลได้ และ ทำให้อัตราการดูดซับรังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์ของโลกเพิ่มขึ้น ทำให้โลกมีระดับอุณหภูมิเฉลี่ยเพิ่มสูงขึ้น ถึง 0.6°C เกิด
    “ปรากฏการณ์เรือนกระจก” ( Greenhouse Effect) หรือ “การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ”
    (Climate Change) หรือ ที่เรารู้จักกันดีว่า “โลกร้อน” (Global Warming)
    นั่นเอง

    <table align="right"> <tbody><tr> <td height="149">
    </td> <td valign="top"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td height="33">
    </td> <td valign="middle">[​IMG] คลิกที่นี่เพื่อดูภาพขนาดใหญ่</td> </tr> <tr> <td height="149" width="15">
    </td> <td valign="top" width="158"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td height="20" valign="top">
    </td> </tr> </tbody></table>
    และเป็นสาเหตุหนึ่งที่เร่งให้พายุที่ปกติเกิดขึ้นเป็นฤดูกาลได้ทวีระดับความรุนแรงมากขึ้นรวมถึงเกิดบ่อยครั้งขึ้น และไม่เพียงเท่านั้น สภาพภูมิอากาศซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศทุกประเภท ได้ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านป่าไม้ ผลผลิตทางการเกษตร พื้นที่ชายฝั่งและปะการัง ทรัพยากรน้ำและอื่นๆ และท้ายที่สุด มนุษย์ย่อมได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การที่สภาพภูมิอากาศเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือโลกร้อนขึ้นนั้น ไม่ได้หมายถึงแค่เพียงอากาศที่ร้อนขึ้นเท่านั้น แต่หมายถึงทุกสรรพสิ่งบนโลกได้รับผลกระทบอย่างมหาศาล ​
    ซึ่งการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากประเทศอุตสาหกรรมที่มีมาตั้งแต่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมไม่ได้เพียงแค่ส่งผลให้เกิดปัญหาเฉพาะในประเทศผู้ปล่อยก๊าซเหล่านั้นเท่านั้น หากแต่ปัญหานี้ได้ส่งผลไปทั่วโลกอย่างทั่วถึงแม้แต่ในพื้นที่ห่างไกลจากแหล่งมลพิษและไม่ได้เป็นประเทศอุตสาหกรรมก็ตาม ​
    ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้ ไม่เพียงแต่นักวิทยาศาสตร์ผู้มีข้อมูลสนับสนุนเท่านั้นที่รับรู้ บุคคลทั่วไปหรือชาวบ้านที่ไม่มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ก็สามารถรับรู้ได้ถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในพื้นที่ที่เขาอาศัยอยู่เป็นเวลานานเช่นกัน เช่น ชาวฟิจิที่อาศัยอยู่ในประเทศที่มีลักษณะเป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกสังเกตเห็นว่าชายฝั่งกำลังถูกกัดเซาะอย่างช้าๆและสัตว์น้ำก็หาจับได้ยากขึ้น หรือชาว Sundarbans Delta ประเทศอินเดียที่ประสบพายุไซโคลนและระดับน้ำทะเลที่เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆอันก่อให้เกิดความเสียหายแก่พื้นที่เพาะปลูกและต้องอพยพย้ายที่อยู่ แม้กระทั่งเจ้าอาวาสแห่งวัด Tengboche ในประเทศเนปาล ซึ่งจำวัดนี้มานานกว่า 30 ปีก็ได้รับรู้ถึงเหตุการณ์น้ำท่วมเนื่องจากแพน้ำแข็งได้ละลาย สำหรับในประเทศไทยเอง ผลจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับสภาพภูมิอากาศ ก็ได้มีการรับรู้อย่างเห็นได้ชัดโดยผู้ที่อยู่อาศัยในพื้นที่ นับเป็น “ประจักษ์พยานของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับสภาพภูมิอากาศ ในประเทศไทย” ที่ WWF ประเทศไทยได้รวบรวมข้อมูลมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ​
    ปะการังฟอกขาว - สัญญาณของอุณหภูมิน้ำทะเลที่สูงขึ้น


    เมื่อ พ. ศ. 2540-2541 หลายคนอาจเพิ่งเคยได้รู้จักคำว่า “เอลนีโญ เป็นครั้งแรก อันที่จริงในช่วงปีนั้นไม่ได้เกิดปรากฏการณ์เอลนีโญเป็นครั้งแรก แต่เอลนีโญที่เกิดขึ้นในช่วงปีดังกล่าวนั้นเป็นปรากฏการณ์ครั้งที่รุนแรงที่สุดเท่าที่เคยมีการตรวจวัดมา ซึ่งประเทศไทยได้รับผลกระทบจากปรากฏการณ์นี้ในช่วงปีดังกล่าวอย่างรุนแรงหลายด้าน ทั้งปริมาณน้ำฝนที่น้อยลง อุณหภูมิที่สูงกว่าปกติ ซึ่งนอกจากส่งผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมอย่างมากแล้ว
    <table align="right"> <tbody><tr> <td height="149" width="15">
    </td> <td valign="top" width="158"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td height="20" valign="top">
    </td> </tr> </tbody></table> ผลกระทบอีกด้านที่สำคัญไม่แพ้ด้านเกษตรกรรมที่นักดำน้ำได้พบเห็นเป็นบริเวณกว้างทั่วอ่าวไทย เช่น ที่เกาะสีชัง ชลบุรี ชุมพร สุราษฎร์ธานี ระยอง และจันทบุรี โดยเฉพาะเมื่อปี พ . ศ . 2541 ซึ่งเป็นปีที่น้ำทะเลร้อนขึ้นอย่างผิดปกติ คือ การเกิดปะการังฟอกขาว ซึ่งเป็นเหตุการณ์หนึ่งที่ชี้ให้เห็นได้ชัดว่าสภาวะโลกร้อนได้เกิดขึ้นในประเทศไทยแล้ว ผลกระทบจากการสูญเสียปะการังซึ่งเป็นหนึ่งในระบบนิเวศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงที่สุดในโลกนั้น ได้ส่งผลต่อแหล่งอาหารและที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ จึงกระทบต่อปริมาณสัตว์น้ำโดยตรง นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบโดยตรงต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวซึ่งสร้างรายได้ให้กับประเทศเป็นจำนวนมากอีกด้วย

    ระดับน้ำทะเลสูงและการกัดเซาะบริเวณชายฝั่ง - ชุมชนต้องอพยพ


    <table align="right"> <tbody><tr> <td height="149" width="15">
    </td> <td valign="top" width="158"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td height="10" valign="top">
    </td> </tr> </tbody></table> กว่า 30 ปีแล้วที่ชาวตำบลบางแก้ว อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี นับร้อยหลังคาเรือนที่อาศัยอยู่ตามแนวชายฝั่งต้องอพยพไปอยู่ในแผ่นดินที่ห่างไกลจากชายฝั่งมากขึ้น รวมถึงวัดโคมนารามซึ่งเป็นแหล่งประวัติศาสตร์ที่มีคุณค่า มีอายุนับร้อยปีก็ต้องย้ายที่ตั้งไปยังหมู่บ้านที่ห่างไกลทะเลแทนเช่นกัน จากคำบอกเล่าของชาวบ้านที่ได้ย้ายที่อยู่ถึง 3 ครั้งเนื่องจากระดับน้ำทะเลได้ท่วมบ้าน 2 หลังแรกนั้น ทำให้ทราบว่าบ้านบางแก้วซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณคุ้ง ( อ่าว ) ได้ประสบปัญหาน้ำทะเลกัดเซาะตลอดทั้งแนวชายฝั่งมานานกว่า 50 ปี ซึ่งในช่วง 30 ปีที่ผ่านมาน้ำทะเลได้กัดเซาะเป็นระยะทางนับกิโลเมตรแล้ว โดยช่วงที่ชายฝั่งถูกกัดเซาะอย่างรุนแรงคือฤดูมรสุมที่เกิดคลื่นขนาดใหญ่ นอกจากการกัดเซาะชายฝั่งแล้ว การเปลี่ยนแปลงอีกอย่างหนึ่งที่ชาวบ้านสังเกตได้ คือ สัตว์น้ำหาจับได้ยากขึ้น ชาวประมงหลายคนที่หาสัตว์น้ำในบริเวณนี้ได้ให้ข้อมูลเหมือนกันว่า ระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมานี้เห็นได้ชัดเจนว่าปริมาณสัตว์น้ำที่จับได้ลดลง 5-10 เท่า และต้องออกเรือไปไกลจากฝั่งมากขึ้นเนื่องจากตามชายฝั่งไม่ค่อยมีสัตว์น้ำแล้ว ทำให้รายได้จากการประมงเพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอในการยังชีพ ต้องกู้หนี้ยืมสิน และอาจต้องเปลี่ยนอาชีพเร็วๆนี้
    <table align="right"> <tbody><tr> <td height="149" width="15">
    </td> <td valign="top" width="158"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td height="20" valign="top">
    </td> </tr> </tbody></table> นอกจากนี้ จากคำบอกเล่า ของเจ้าอาวาสวัดโคมนารามซึ่งจำพรรษาที่วัดดังกล่าวตั้งแต่ปี พ. ศ. 2495 ซึ่งขณะนั้นที่ตั้งของวัดยังอยู่ติดชายฝั่ง ทำให้ทราบว่าเมื่อครั้งหลวงพ่อได้จำพรรษาใหม่ๆ น้ำทะเลอยู่ห่างจากตัววัดประมาณ 200 เมตรและได้กัดเซาะชายฝั่งมาโดยตลอด ปีละ 8-10 เมตร แต่ทางวัดไม่มีกำลังและทุนทรัพย์จะหาสิ่งป้องกัน จนกระทั่งน้ำได้เซาะตลิ่งพัง น้ำทะเลท่วมกุฏิ เมื่อ พ. ศ. 2515 จึงได้เริ่มสร้างวัด ณ ที่ตั้งใหม่ดังปัจจุบัน โดยสิ่งปลูกสร้างของวัดในที่ตั้งเดิมที่ยังเห็นได้อยู่ทุกวันนี้ คือ ถังรองน้ำฝน และใบเสมา ซึ่งได้แช่อยู่ในน้ำทะเลห่างจากฝั่งประมาณหนึ่งร้อยเมตร อย่างไรก็ดี ชาวบ้านเชื่อว่าการที่ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นและการกัดเซาะนี้ เป็นเพียงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ

    ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล ภัยแล้งที่ทวีความรุนแรงขึ้น

    <table align="right"> <tbody><tr> <td height="149" width="15">
    </td> <td valign="top" width="158"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td height="10" valign="top">
    </td> </tr> </tbody></table>
    เมื่อปีที่ผ่านมาหลายพื้นที่ในจังหวัดนครราชสีมาสามารถสังเกตได้ถึงปริมาณฝนที่น้อยกว่าทุกปี ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อภาคเกษตรกรรมและความเป็นอยู่ของชาวบ้าน แม้จังหวัดทางภาคอีสานของประเทศไทยจะเกิดภาวะฝนแล้งให้ได้ยินข่าวเป็นประจำ แต่หลายๆคนก็ยอมรับว่า ปีที่ผ่านมานี้หนักที่สุด อ่างเก็บน้ำเขื่อนลำตะคองก็เป็นจุดหนึ่งที่เห็นได้ชัดถึงความแห้งแล้ง เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยที่ทำงานที่เขื่อนนี้มานานเกือบ 20 ปีให้ข้อมูลว่าปีที่แล้วนั้นฝนไม่ตกในช่วงเดือนที่ต้องตกตามปกติ และปริมาณน้ำในเขื่อนก็มีน้อยกว่าปีที่ผ่านๆมาอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งเกษตรกรผู้ใช้ประโยชน์หลักจากเขื่อนคงประสบปัญหา ขณะเดียวกันเกษตรกรผู้ปลูก ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในตำบลวังน้ำเขียว อำเภอวังน้ำเขียวก็สังเกตเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศเช่นกัน โดยให้ข้อสังเกตว่าปีที่แล้วฝนตกแบบประปรายมาตลอดแบบที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ต่างจากปีที่ผ่านๆมาซึ่งฝนจะตกชุกในช่วงเดือนเมษายนถึงมกราคมและหยุดตกช่วงเดือนตุลาคม และพวกเขาได้รับผลกระทบจากสภาพฝนที่เปลี่ยนไปอย่างมาก เนื่องจากการปลูกข้าวโพดอาศัยน้ำฝนเพียงอย่างเดียว นอกจากนี้ยังให้ข้อมูลเพิ่มเติมอีกว่า พื้นที่ตำบลนี้นอกจากปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นหลักแล้ว ยังมีการปลูกมะเขือเทศซึ่งขายได้ราคาดีกว่าข้าวโพดด้วย อย่างไรก็ดี การปลูกมะเขือเทศต้องใช้น้ำปริมาณมาก ดังนั้น หากฝนยังคงแล้งเช่นนี้ต่อไปการปลูกมะเขือเทศก็คงไม่ได้ผลดี ​
    <table align="right"> <tbody><tr> <td height="149" width="15">
    </td> <td valign="top" width="158"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc">[​IMG]</td> <td bgcolor="#cccccc" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td height="33">
    </td> <td valign="middle">[​IMG] คลิกที่นี่เพื่อดูภาพขนาดใหญ่</td> </tr> <tr> <td height="20" valign="top">
    </td> </tr> </tbody></table>
    ภัยธรรมชาติเหล่านี้ ล้วนส่งผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนมาช้านานแล้ว อันตรายจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหรือการที่โลกเราร้อนขึ้น จะเป็นภัยคุกคามที่เพิ่มเข้ามา และจะเป็นเสมือนฟางเส้นสุดท้ายที่จะนำภัยพิบัติอย่างใหญ่หลวงเพิ่มมากขึ้นไปอีก หากจะว่าไปแล้ว ประจักษ์พยานในพื้นที่เหล่านี้ ล้วนไม่ได้เป็นผู้ก่อให้เกิดภัยดังกล่าว แต่กลับต้องเผชิญกับชะตากรรมที่คงได้แต่ตั้งหน้าตั้งตารับมือต่อไป หากไม่มีการดำเนินการเพื่อการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยการหยุดการใช้ถ่านหิน
    หันมาใช้พลังงานสะอาด และการดำเนินการเพื่อการปรับตัวกับการดำเนินชีวิตภายใต้ การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่ยังจะส่งผลต่อเนื่องไปอีกหลายร้อยหลายพันปี

     
  13. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    Natural wonders feel the heat

    <table align="right" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="180"> <tbody><tr> <td style="padding-left: 10px;" align="right" width="180">
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="photo-frame-n">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td>One of the world's natural wonders, Australia's Great Barrier Reef is threatened by warming waters, which causes coral bleaching. Aerial view of Hardy Reef, Great Barrier Reef Marine Park, Australia.
    © WWF-Canon / Jürgen Freund
    </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td class="bg-white">
    </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green" colspan="1">
    </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table>

    </td> </tr> </tbody></table> 05 Apr 2007
    Brussels, Belgium – From the Amazon to the Himalayas, ten of the world’s greatest natural wonders face destruction if the climate continues to warm at the current rate, warns WWF.

    Released ahead of the International Panel on Climate Change’s (IPCC’s) Second Working Group Report, a WWF briefing — Saving the world's natural wonders from climate change — reports on how the devastating impacts of global warming are damaging some of the world’s greatest natural wonders.

    They include the: Amazon; Great Barrier Reef and other coral reefs; Chihuahua Desert in Mexico and the US; hawksbill turtles in the Caribbean; Valdivian temperate rainforests in Chile; tigers and people in the Indian Sundarbans; Upper Yangtze River in China; wild salmon in the Bering Sea; melting glaciers in the Himalayas; and East African coastal forests.

    “While we continue to pressure governments to make meaningful cuts in heat-trapping greenhouse gas emissions, we are also working on adaptation strategies to offer protection to some of the world’s natural wonders as well as the livelihoods of the people who live there,” said Dr Lara Hansen, Chief Scientist of WWF’s Global Climate Change Programme.

    “We are trying to buy people and nature time, as actions to stop the root cause of climate change are taken.”

    Faced with water shortages along the Yangtze River, WWF is working in China with the government and local authorities to help communities best adapt to climate change impacts. This includes developing a climate witness project in the Yangtze River basin so that people affected by climate change can speak for themselves.

    In the Valdivian forests of Chile and Argentina, the global conservation organization is working with local partners to reduce forest fires and adjust conservation plans to ensure that resistant forests — where 3,000-year-old trees are found — can be protected.

    “From turtles to tigers, from the desert of Chihuahua to the great Amazon – all these wonders of nature are at risk from warming temperatures,” stressed Dr Hansen.

    “While adaptation to changing climate can save some, only drastic action by governments to reduce emissions can hope to stop their complete destruction.”

    END NOTES:
    • The Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) was established by the United Nations Environmental Programme (UNEP) and the World Meteorological Organization (WMO) in 1988 to assess the scientific, technical and socio-economic information relevant for the understanding of climate change.

    • On 2 February, the IPCC issued the first of three working group reports of its Fourth Assessment Report on the underlying science of climate change in Paris. According to the IPCC’s Working Group I, humans are the primary cause of the build up of greenhouse gases in the atmosphere. These greenhouse gases are causing global climate change.

    • The report of Working Group II, to be released in Brussels on 6 April 2007, will assess impacts, adaptation and vulnerability of the Earth to climate change. It will look at consequences for the environment and nature, for agriculture, forestry and fisheries, health and disaster prevention.

    For further information:
    Martin Hiller, Communications Manager
    WWF Global Climate Change Programme
    E-mail: mhiller@wwfint.org
     
  14. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    หมีขั้วโลกกำลังจะสูญพันธุ์เนื่องจากการละลายของน้ำแข็งขั้วโลก

    US to recognize polar bear as threatened

    <table align="right" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="180"> <tbody><tr> <td style="padding-left: 10px;" align="right" width="180"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="photo-frame-n">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td>Polar bears are just one species threatened by climate change.

    © WWF / Fritz Pölking
    </td> </tr> </tbody></table>


    </td> </tr> </tbody></table> 27 Dec 2006
    The US fish and wildlife service has decided to list the polar bear as threatened, according to leaked media reports, a decision that would be welcomed by WWF.
    WWF had supported the petition to classify the species as threatened, based on a large volume of compelling information about significant changes in the polar bear’s habitat: the Arctic sea ice.
    Polar bears hunt, feed, mate and frequently den on the sea ice. Yet , this ocean habitat is vanishing as a result of warming air and sea temperatures over the last decades.
    "The polar bear has become an icon of threatened species because of humanity's disregard for the environment, " said Dr Susan Lieberman, Director of WWF's Global Species Programme.

    "Although we welcome the decision, it is tragic that we are pushing more and more species to extinction. In that sense, it is a hollow victory."

    WWF is a leading organization in polar bear conservation, working with communities, scientists, and government agencies around the Arctic to protect polar bears.

    WWF is particularly concerned about this species as a symbol of Arctic wildlife in one of WWF’s priority areas for conservation, the Bering Sea ecoregion.
    Contact:
    Joanna Benn, Communications Manager
    WWF Global Species Programme
    jbenn@wwfspecies.org
     
  15. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    นกกำลังจะสูญพันธุ์เื่นื่องจากการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศและความร้อน

    Climate change has birds out on a limb

    <table align="right" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="180"> <tbody><tr> <td style="padding-left: 10px;" align="right" width="180"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> <td class="bg-boxtitle-green" height="19">Download</td> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td class="bg-white">
    </td> <td class="bg-white">[​IMG]</td> <td class="bg-white">
    </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green" colspan="3"> </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> <td class="bg-box-green2" height="2">
    </td> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="photo-frame-n">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td>Emperor penguin numbers declined 50 per cent at Terre Adélie in Antarctica during a period of prolonged, abnormally warm and unusually variable winter temperatures.
    © WWF-Canon / Fritz PÖLKING
    </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> <td class="bg-boxtitle-green" height="19">Related links </td> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td class="bg-white">
    </td> <td class="bg-white">[​IMG]</td> <td class="bg-white">
    </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green" colspan="3"> </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> <td class="bg-box-green2" height="2">
    </td> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td height="20" width="25">[​IMG]</td> <td>Send this link to a friend</td> </tr> <tr> <td height="20" width="25">[​IMG]</td> <td>Print Page</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="photo-frame-n">[​IMG] </td> </tr> <tr> <td>The Siberian crane is a critically endangered migratory wetland bird numbering 3,000 individuals worldwide. This bird’s Arctic tundra habitat is expected to contract by 70 per cent as global warming progresses. Decreased precipitation, coupled with more intense rainfall events, also negatively affect the crane's habitat.
    © WWF-Canon / Michel TERRETTAZ
    </td> </tr> <tr> <td>
    </td> </tr> <tr> <td class="photo-frame-n">[​IMG] </td> </tr> <tr> <td>The tawny eagle is an arid savanna raptor found in Asia and Africa. Decreases in precipitation predicted with climate change would likely result in the birds’ extinction in its African habitat in the southern Kalahari.
    © WWF-Canon / Roger Hooper
    </td> </tr> <tr> <td>
    </td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table> 14 Nov 2006
    Nairobi, Kenya – A new report released today by WWF finds a clear and escalating pattern of climate change impacts on bird species around the world, suggesting a trend towards a major bird extinction from global warming.

    The report, Bird Species and Climate Change, reviews more than 200 scientific articles on birds in every continent to build up a global picture of climate change impacts.

    “Robust scientific evidence shows that climate change is now affecting birds’ behaviour,” said Dr Karl Mallon, Scientific Director at Climate Risk Pty Ltd and one of the authors of the report. “We are seeing migratory birds failing to migrate, and climate change pushing increasing numbers of birds out of synchrony with key elements of their ecosystems.”

    The report, prepared by international climate change specialists, identifies groups of birds at high risk from climate change: migratory, mountain, island, wetland, Arctic, Antarctic and seabirds. While bird species that can move and adapt easily to different habitat are expected to continue to do well, bird species that thrive only in a narrow environmental range are expected to decline, and to be outnumbered by invasive species.

    The report also shows that birds suffer from climate change effects in every part of the globe. Scientists have found declines of up to 90 per cent in some bird populations, as well as total and unprecedented reproductive failure in others.

    Scientists also analyzed available projections of future impacts, including bird species extinction. They found that bird extinction rates could be as high as 38 per cent in Europe, and 72 per cent in northeastern Australia, if global warming exceeds 2ºC above pre-industrial levels (currently it is 0.8ºC above).

    “Birds have long been used as indicators of environmental change, and with this report we see they are the quintessential ‘canaries in the coal mine’ when it comes to climate change,” said Hans Verolme, Director of WWF’s Global Climate Change Programme.

    “This report finds certain bird groups, such as seabirds and migratory birds, to be early, very sensitive, responders to current levels of climate change. Large-scale bird extinctions may occur sooner than we thought.”

    If high rates of extinction are to be avoided, rapid and significant greenhouse gas emission cuts must be made, WWF says.

    The global conservation organization also believes that the current approach to bird conservation, focused on protecting specific areas with a high bird diversity, will fail because climate change will force birds to shift into unprotected zones. A major change in approach to bird conservation is required, according to WWF.

    END NOTES:


    Examples of how climate change is affecting some bird species around the world:

    Africa: The tawny eagle is an arid savanna raptor found in Asia and Africa. Small changes in precipitation predicted with climate change would likely result in the bird’s extinction in its African habitat in the southern Kalahari. If the mean annual precipitation stays the same but the inter-annual (year to year) variation increases by less than 10 per cent, the bird’s population will decrease considerably.

    UK: The particular vulnerability of seabirds to climate change is illustrated by the unprecedented breeding crash of UK North Sea seabirds in 2004. The direct cause for the breeding failure of common guillemots, Arctic skuas, great skuas, kittiwakes, Arctic terns and other seabirds at Shetland and Orkney colonies was a shortage of small fish called sandeels, a crucial prey species for the seabirds. As a result, the nearly 7,000 pairs of great skuas in the Shetlands, for example, produced only a handful of chicks and starving adult birds ate their own young. Warming ocean waters and major shifts in species that underpin the ocean food web are thought to be behind the major sandeel decline.

    USA: An unprecedented 2002 drought in southern California caused a 97 per cent breeding decline in four species: the rufous crowned sparrow, wrentit, spotted towhee and California towhee. Breeding success dropped from 2.37 fledglings per pair in 2001 (a normal year) to 0.07 fledglings per pair during 2002, the driest year in the region’s 150-year climate record. Precipitation in this region is expected to decrease and become more variable with global warming. Even slight increases in arid conditions would make these species vulnerable to extinction in a dry year.

    Asia: The Siberian crane is a critically endangered migratory wetland bird numbering 3,000 individuals worldwide. Siberian cranes breed in Arctic Russia and Siberia, and most winter in China in the middle to lower reaches of the Yangtze River. This bird’s Arctic tundra habitat is forecast to decline by 70 per cent. Decreased precipitation, coupled with more intense rainfall events, also negatively affects the crane in its habitat in China. Increasing drought due to higher temperatures is thought to be one factor that caused a subpopulation of Siberian cranes, which once wintered in India’s Keoladeo National Park, to shift out of the park and become locally extinct.

    Europe/Africa: Pied flycatcher birds and other species are shifting the timing of seasonal behaviors in response to climate change. Shifts like these can cause problems for birds if the plants and animals they interact with do not shift at the same rate. In Europe, earlier spring peaks in insect numbers mean that some pied flycatchers (long-distance migratory birds) no longer arrive from Africa in time to match food peaks with peak demands of their nestlings. This climate-change induced mismatch is strongly linked to 90 per cent declines in some European pied flycatcher populations over the past two decades.

    Australia: Illustrating the vulnerability of mountain birds to climate change, the habitat of the golden bowerbird is predicted to shrink by 97.5 per cent with a future warming of 3°C and a 10 per cent decline in rainfall. The bird occupies cool habitat in Australia’s wet tropics on conical mountains surrounded by warmer lowlands. As temperatures rise, its suitable habitat will contract, and beyond 3˚C of warming is expected to completely disappear.

    For further information:
    Brian Thomson, Press Officer
    WWF International
    Tel: +41 79 477 3553

    Email: bthomson@wwfint.org

    Kimunya Mugo, Communications Manager
    WWF Eastern Africa Regional Programme Office
    Tel: +254 20 387 7355
    Email: kmugo@wwfearpo.org

     
  16. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    Climate change restricts development in Africa

    <table align="right" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="180"> <tbody><tr> <td style="padding-left: 10px;" align="right" width="180"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> <td class="bg-boxtitle-green" height="19">Download</td> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td class="bg-white">
    </td> <td class="bg-white">[​IMG]</td> <td class="bg-white">
    </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green" colspan="3"> </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> <td class="bg-box-green2" height="2">
    </td> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="photo-frame-n">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td>One of the most devastating impacts of climate change in East Africa will be changes in the frequency, intensity and predictability of rainfall. Drought in the Naivasha River Basin, Kenya.
    © WWF-Canon / Mauri Rautkari
    </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> <td class="bg-boxtitle-green" height="19">Related links </td> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td class="bg-white">
    </td> <td class="bg-white">[​IMG]</td> <td class="bg-white">
    </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green" colspan="3"> </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> <td class="bg-box-green2" height="2">
    </td> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td height="20" width="25">[​IMG]</td> <td>Send this link to a friend</td> </tr> <tr> <td height="20" width="25">[​IMG]</td> <td>Print Page</td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> 06 Nov 2006
    Gland, Switzerland/Nairobi, Kenya – As governments gather in Nairobi for the second Meeting of the Parties to the Kyoto Protocol, WWF warns that climate change has the potential to undermine, and even undo, improvements in the living standards of ordinary Africans.

    WWF’s report, Climate Change in East Africa – Status of Science, illustrates that Africa warmed by 0.7°C over the last century. With temperatures now expected to rise between 0.2°C and 0.5°C per decade over the next century, these hotter temperatures will have a particularly detrimental impact on rural communities throughout East Africa, warns the global conservation organization.

    “Climate change is starting to hit home, and we can clearly see the first impacts here in eastern Africa,” says Taye Teferi, Conservation Director of WWF's Eastern Africa Regional Programme.

    “Since the poorest countries are on the receiving end of the pollution of developed countries, it’s only fair that polluters support us to build up our defences against climate change.”

    One of the most devastating impacts of climate change in East Africa will be changes in the frequency, intensity and predictability of rainfall. Changes in regional precipitation will ultimately affect water availability and could lead to decreased agricultural production, potential food shortages and even conflict.

    Warmer temperatures may also increase the occurrence and intensity of future disease outbreaks. High temperatures and intense rainfall are critical factors in initiating malaria epidemics especially in East Africa.

    Hand-in-hand with these impacts, warming temperatures are projected to cause more frequent and more intense extreme weather events. Also, sea-level rise along coastal areas where people live is likely to disrupt economic activities there, such as agriculture, tourism, industry and fisheries.

    “Beyond a 2°C hike in temperatures, climate change will spin out of control,” says Hans Verolme, Director of WWF’s Global Climate Change Programme. “The world can still prevent dangerous climate change but the window of opportunity is rapidly closing.”

    “It is not a lack of solutions that is holding us back," Verolme adds.

    "Ministers meeting in Nairobi need to chart a course for deeper emission cuts. We must work together to develop a safer, cleaner and more energy-efficient world.”

    For further information:
    Kimunya Mugo, Communications Manager
    WWF-EARPO
    Tel: +254 20 3877355
    Email: kmugo@wwfearpo.org

    Martin Hiller, Communications Manager
    WWF Global Climate Change Programme
    Tel: +41 79 347 2256
    Email: mhiller@wwfint.org

    Brian Thomson, Press Officer
    WWF International
    Tel: +41 79 477 3559
    Email: bthomson@wwfint.org
     
  17. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    Climate change threatens Latin America and the Caribbean

    <table align="right" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="180"> <tbody><tr> <td style="padding-left: 10px;" align="right" width="180"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> <td class="bg-boxtitle-green" height="19">Download</td> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td class="bg-white">
    </td> <td class="bg-white">[​IMG]</td> <td class="bg-white">
    </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green" colspan="3"> </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> <td class="bg-box-green2" height="2">
    </td> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="photo-frame-n">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td>A drying out and die off of the Amazon rainforest as a result of climate change could alter the global carbon balance. Rio Tapajos Para State, Brazil.
    © WWF-Canon / Michel ROGGO
    </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> <td class="bg-boxtitle-green" height="19">Related links </td> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td class="bg-white">
    </td> <td class="bg-white">[​IMG]</td> <td class="bg-white">
    </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green" colspan="3"> </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> <td class="bg-box-green2" height="2">
    </td> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td height="20" width="25">[​IMG]</td> <td>Send this link to a friend</td> </tr> <tr> <td height="20" width="25">[​IMG]</td> <td>Print Page</td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> 29 Aug 2006
    London, UK – As the United States marks the first anniversary of Hurricane Katrina today, a new report from a coalition of the UK’s biggest environment and development groups, including WWF, focuses on the impact that extreme weather and climate change are having on the Latin America and the Caribbean region.

    The report, Up in Smoke? Latin America and the Caribbean, catalogues the impact of climate change and environmental degradation, confirming that largely regular and predictable temperature and rainfall patterns are changing, becoming less predictable and often more extreme.

    “Climate change impacts are being felt across Latin America, ranging from drought in the Amazon to floods in Haiti, from vanishing glaciers in Colombia to hurricanes, not only in Central America but even in southern Brazil,” said Giulio Volpi, WWF’s Climate Change Coordinator for Latin America. “Across the region the capacity of natural ecosystems to act as buffers against extreme weather events is being undermined, leaving people more vulnerable."

    According to the report, climate change will have major economic impacts on fisheries, coral reefs, tourism, water availability and agriculture, and could increase the impacts of already serious chronic malnutrition affecting a large sector of the Latin American population.

    "Global warming is already affecting Latin America and the Caribbean, threatening disastrous impacts on nature and people, particularly on poor communities," added Volpi. "Latin American leaders must do their fair share to fight climate change."

    In particular, the report calls on Latin American governments to prevent climate altering emissions by committing to a solid set of policies to reduce climate vulnerability in the short, medium and long-terms, as well as launch an ambitious climate change initiative boosting both energy efficiency and renewable energy and halting deforestation, to meet energy, environmental and climate security.

    For further information:
    Giulio Volpi, Latin American Climate Change Coordinator
    WWF-Brazil
    Tel: +5561 364 7400
    Email: giulio@wwf.org.br

    Martin Hiller, Communications Manager
    WWF Global Climate Change Programme
    Tel: +41 22 364 9226
    Email: mhiller@wwfint.org
     
  18. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="480"><tbody><tr><td valign="top">WWF and TNC assess climate change impacts on the Mesoamerican Reef

    <table align="right" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="180"> <tbody><tr> <td style="padding-left: 10px;" align="right" width="180"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="photo-frame-n">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td>Stretching from the tip of Mexico’s Yucatan Peninsula to the Bay of Islands of Honduras, the Mesoamerican Reef is the second largest coral reef in the world after the Great Barrier Reef in Australia, and is home to a network of marine habitats that support nearly 60 coral species, 350 mollusks and 500 fish species.
    © WWF-Canon / Anthony B. RATH
    </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> <td class="bg-boxtitle-green" height="19">Related links </td> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td class="bg-white">
    </td> <td class="bg-white">[​IMG]</td> <td class="bg-white">
    </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green" colspan="3"> </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> <td class="bg-box-green2" height="2">
    </td> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td height="20" width="25">[​IMG]</td> <td>Send this link to a friend</td> </tr> <tr> <td height="20" width="25">[​IMG]</td> <td>Print Page</td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> 04 Jul 2006
    San José, Costa Rica – WWF and The Nature Conservancy are undertaking a major regional assessment of Central America’s Mesoamerican Reef to determine the impacts of climate change on coral reefs.

    “The purpose of the survey is to assess the extent to which global warming is impacting the reef, and whether the network of marine protected areas is adequately protecting the range of habitats that comprise the reef ecosystem,” said Sylvia Marín, WWF Central America’s Regional Representative.

    Stretching from the tip of Mexico’s Yucatan Peninsula to the Bay of Islands of Honduras, the Mesoamerican Reef is the second-largest coral reef in the world after the Great Barrier Reef in Australia, and is home to a network of marine habitats that support nearly 60 coral species, 350 mollusk and 500 fish species.

    The WWF-TNC survey will evaluate more than 400 sites throughout the Mesoamerican reef system to see which reefs are resilient and which are resistant to coral bleaching — a stress response caused by high water temperatures that can lead to coral death.

    The assessment will help determine the status of the reef through the analysis of such factors as recent coral mortality, live coral cover, size and age of the coral colony, and abundance of species resistant to bleaching.

    “Although it’s still a bit early in the process to make any general conclusions, our research has showed so far that global warming and bleaching resilience during 2005 have not resulted in high disease or mortality levels of the reefs,” said WWF Senior Fellow Melanie McField and leader of the Healthy Mesoamerican Reef Ecosystem Initiative.

    Initial survey results already show that in-shore, darker, turbulent water reefs — which have a high degree of biodiversity — appear to have a higher resistance level to climate change and bleaching.

    “These early observations could mean these reefs have a better chance of survival. They appear to have higher resistance to climate change disturbances and its consequences,” McField added.

    The consequences of global climate change include increased sea temperatures, increasing acidification levels in the oceans, and strength reduction in the main marine currents that distribute heat around the planet, resulting in disturbances to coral reefs.

    “The analysis of climate change impact on reefs will not only contribute to reef conservation, but it will also favor education and protection of coastal communities that base their subsistence on sustainable activities that use marine ecosystems responsibly,” said Marin.

    WWF and TNC expect to complete the data gathering stage by the end of this year.

    For further information:
    Cinthya Flores Mora, Communications Officer
    WWF Central America
    Tel: +506 234 8434
    E-mail: cflores@wwfca.org
    </td> </tr> <tr> <td class="bg-white" height="10">
    </td></tr></tbody></table>
     
  19. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="480"><tbody><tr><td valign="top">Global Warming is hurting Spain's vineyards

    <table align="right" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="180"> <tbody><tr> <td style="padding-left: 10px;" align="right" width="180"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> <td class="bg-boxtitle-green" height="19">Download</td> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td class="bg-white">
    </td> <td class="bg-white">[​IMG]</td> <td class="bg-white">
    </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green" colspan="3"> </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> <td class="bg-box-green2" height="2">
    </td> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="photo-frame-n">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td>Global warming is not only responsible for massive forest fires in Spain - it also threatens existing vineyards and forces winegrowers to move to cooler areas.
    © WWF-Canon / Michel Gunther
    </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> <td class="bg-boxtitle-green" height="19">Related links </td> <td class="bg-boxtitle-green2" valign="top">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td class="bg-white">
    </td> <td class="bg-white">[​IMG]</td> <td class="bg-white">
    </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green" colspan="3"> </td> </tr> <tr> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> <td class="bg-box-green2" height="2">
    </td> <td class="bg-box-green2">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="170"> <tbody><tr> <td height="20" width="25">[​IMG]</td> <td>Send this link to a friend</td> </tr> <tr> <td height="20" width="25">[​IMG]</td> <td>Print Page</td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> 28 May 2006
    Winemakers from Spain are trying to adapt to the devastating impacts of climate change: shading vineyards, developing heat-resistance crops and moving to cooler mountainside locations.

    According to Jose Manuel Moreno, Professor of Climatology at the University of Castilla La Mancha, temperatures may rise by 7oC by the end of the century. Moreno explains why the warming is problematic: “Warming will harm plants that last more than one season, such as grape vines, the most. Agriculture will need to change, and there will be winners and losers.”

    Spain is Europe's largest grape-growing nation. The average maximum day temperature in Spain during the summer is 29oC. In Malaga and Cadiz, the most southern wine-growing regions, temperatures can rise as high as 40oC during the summer months. As the major European wine producer closest to the equator, Spain is particularly vulnerable to climatic changes.

    Xavier Sort is Technical Director at Miguel Torres SA, the Barcelona-based producer of Sangre de Toro wine. He worries: “Any increase in temperature in Spain may make it impossible to produce wine in lower areas.” Currently, his company is buying fields in the peaks of north eastern Spain, where the weather is cooler. “There may be a move of wineries into the Pyrenees in the future,” said Sort.

    What happens to the wine when the mercury goes up?

    The growing temperature is such a threat to Spanish wine, because it significantly changes the biological processes. Heat and sunlight increase sugar levels in wine grapes, which can boost alcohol content beyond what is palatable. Hotter weather may also curb grape acidity, changing the flavour of the wine. Unexpectedly rainy and cold seasons can devastate a year's crop.

    Small changes can already have huge impacts. Bernard Seguin, a scientist at France's National Institute for Agronomic Research, said: “One degree of climate change makes wine-growing regions in the Northern Hemisphere similar to regions 200 kilometres further south. To me, this is the most direct and striking example of the warming until now.”

    WWF has recently interviewed José Luis Oliveros Zafra, a farmer from Castilla La-Mancha in Spain. Witnessing the same impacts as the winegrowers in his region, he has suffered huge losses because of climate impacts. Zafra believes that people and nature will not have time to adapt, if the changes keep occurring as fast as they do now.

    Climate change is happening now and greenhouse gas emissions are the main culprit. WWF is asking both industry and governments to reduce CO<sub>2</sub> emissions, increase the use of renewable energy and implement energy efficiency measures.
    </td> </tr> <tr> <td class="bg-white" height="10">
    </td> </tr> </tbody></table>
     
  20. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <table class="mxtable" align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td height="120" valign="top">
    น่าห่วงโลกร้อนกระทบอันดามัน

    เมื่อวันที่ 20 เม.ย.กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดเสวนา "คุยกันฉันวิทย์" หัวข้อ ภาวะโลกร้อน โดยวิทยากร คือ น.อ.สมมาตร์ เนียมนิล อาจารย์ฝ่ายศึกษา โรงเรียนนายเรือ และสมาชิกสามัญสมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย เปิดเผยผลศึกษาวิจัยแนวโน้มระดับน้ำทะเลในอ่าวไทยและอันดามัน ระหว่างปี 2536-2545 พบว่า จากภาวะโลกร้อนที่อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น ส่งผลให้น้ำขยายตัวและน้ำแข็งขั้วโลกละลาย ทำให้ระดับน้ำทะเลทั่วโลกมีความเปลี่ยนแปลงสูงขึ้นทุกปี โดยมีค่าเฉลี่ยล่าสุดอยู่ที่ 1.8 ม.ม./ปี ทั้งนี้จากการศึกษาระดับน้ำทะเลอ่าวไทย โดยตรวจวัดด้วยเครื่องมือที่สถานีวัดระดับน้ำ บริเวณเกาะหลัก และการตรวจวัดด้วยดาวเทียม พบว่ามีระดับน้ำสูงขึ้นเฉลี่ย 1.3-1.5 ม.ม./ปี ซึ่งยังต่ำกว่าค่าเฉลี่ยการเพิ่มระดับน้ำทะเลทั่วโลก และไม่น่าเป็นห่วงนัก

    น.อ.สมมาตร์ กล่าวว่า ส่วนระดับน้ำทะเลฝั่งอันดามัน ตรวจวัดที่สถานีเกาะตะเภาน้อย ควบคู่กับข้อมูลดาวเทียม พบระดับน้ำสูงขึ้นเฉลี่ย 7.2-8.7 ม.ม./ปี ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยทั่วโลกเกือบ 4 เท่า ถือว่าอยู่ในระดับน่าเป็นห่วง แต่ขณะนี้อยู่ระหว่างตรวจสอบ เพื่อยืนยันความถูกต้องของข้อมูลอีกครั้ง รวมทั้งหาสาเหตุอธิบายผลการตรวจวัดระดับน้ำทะเลดังกล่าว โดยจะติดตั้งระบบบอกตำแหน่งบนพื้นผิวโลกด้วยดาวเทียม(จีพีเอส) ตรวจการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งของระดับน้ำฝั่งอันดามันอย่างต่อเนื่อง คาดว่าจะใช้เวลา 1 ปี จึงทราบผลที่แน่ชัด

    "ขณะนี้ยังไม่สามารถยืนยันได้ชัดเจนว่า ระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้นเช่นนั้นจริงตามข้อมูลการตรวจวัดหรือไม่ รวมทั้งต้องค้นหาสาเหตุว่า เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น เพราะอาจเป็นผลมาจากลมมรสุมที่เปลี่ยนแปลงไป อย่างไรก็ตามหากยืนยันแล้วพบว่าข้อมูลนี้จริง จะถือว่าน่าเป็นห่วงฝั่งอันดามันอย่างยิ่ง อาจประสบปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง กระทบต่อแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ และยังเป็นเหตุให้น้ำท่วมสูงช่วงฤดูน้ำหลาก มีน้ำเค็มทะลักสู่แหล่งน้ำจืด ทิศทางกระแสน้ำเปลี่ยนไป เป็นต้น" น.อ.สมมาตร์ กล่าวและว่า มีหลายเกาะในมหาสมุทรที่ประสบปัญหาน้ำท่วมจากน้ำขึ้นน้ำลง และเสี่ยงต่อการถูกท่วมทั้งเกาะ แต่เกาะทางฝั่งอันดามันของไทย ยังไม่มีเกาะใดน่าเป็นห่วง

    น.อ.สมมาตร์ แนะนำว่า เราสามารถช่วยกันชะลอหรือบรรเทาผลกระทบจากโลกร้อนได้ เช่น ร่วมกันใช้ก๊าซธรรมชาติแทนถ่านหินและน้ำมัน ช่วยรักษาฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรม ปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้เหมาะกับพืช ใช้พลังงานทดแทน ใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มประสิทธิภาพด้านคมนาคม เป็นต้น

    ขณะที่นายศฤงคาร รัตนางศุ นักประดิษฐ์ชาวไทย แสดงผลงานการคิดค้นเครื่องปรับอากาศแบบสองหน้า ขนาดเล็ก 9,000 บีทียู ใช้ไฟ 2-3 มิลลิแอมป์ สำหรับใช้ในห้องขนาดเล็ก โยกย้ายเปลี่ยนสถานที่ใช้งานได้ หลักการทำงานเหมือนเครื่องปรับอากาศติดหน้าต่าง แต่เสียงเบากว่า และใช้การเสียบปลั๊กไฟเท่านั้น ทั้งนี้จะช่วยประหยัดพลังงาน ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วย

    (คอลัมน์:ข่าวหน้า 1)
    </td><td align="right">ข่าวสด [​IMG] </td><td align="right">21 เม.ย. 2550</td></tr></tbody></table>
     

แชร์หน้านี้

Loading...