{{หลวงพ่อคูณ257}}ศึกษาพระสมเด็จ/เบญจภาคีองค์ครู26ขุนแผนพรายกุมาร4ลพ.พรหม68พ่อท่านคลิ้ง105

ในห้อง 'วิธีดูพระเครื่อง-เครื่องรางของขลัง' ตั้งกระทู้โดย Amuletism, 2 มกราคม 2012.

  1. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    พระขุนแผน พลายเดี่ยว พิมพ์ก้างปลา กรุวัดบ้านกร่าง สุพรรณบุรี

    พระขุนแผน พลายเดี่ยว พิมพ์ก้างปลา กรุวัดบ้านกร่าง สุพรรณบุรี
    องค์นี้สีเหมือนอิฐ (หม้อใหม่) พระสีต่างกันเนื่องจากถูกเผามาไม่เท่ากัน
    อยากให้เพื่อนๆ ลงสังเกตุว่าพระกรุวัดบ้างกร่างนั้น คราบกรุจะมีน้อย
    ไม่ได้เป็นคราบหนา หรือเป็นหินปูนเกาะ เหมือนพระบางกรุครับ

    [​IMG]

    องค์นี้ก็เคยประกวดติดรางวัลชนะเลิศ
    งานใหญ่ที่พันธ์ทิพย์มาแล้วเช่นกันครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 28 กุมภาพันธ์ 2013
  2. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    พระขุนแผน พลายเดี่ยว พิมพ์หน้าฤาษี กรุวัดบ้านกร่าง สุพรรณบุรี

    พระขุนแผน พลายเดี่ยว พิมพ์หน้าฤาษี กรุวัดบ้านกร่าง สุพรรณบุรี
    องค์นี้เป็นพิมพ์ลึกครับ จะเห็นได้ว่าองค์พระ และเส้นสายทั้งหลาย
    ลึกและคมชัดมาก พระสภาพไม่ผ่านการใช้มาเลย
    เสียดายที่พระพักต์ยังไม่สมบูรณ์ร้อยเปอร์เซ็นต์ คาดว่าเป็นตั้งแต่ในพิมพ์ครับ

    [​IMG]

    องค์นี้ประกวดงานเดียวกับพิมพ์ก้างปลาครับ
    รางวัลชนะเลิศงานเดียวกัน งานนี้ได้หนังสือมา 3 เล่มครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 19 มีนาคม 2012
  3. น้า ต๋อย

    น้า ต๋อย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    1,077
    ค่าพลัง:
    +661
    ขอเสริมข้อมูลพระบ้านกร่างให้นิดนะครับคุณ amulet
    ผมเคยได้คุยกับนักเล่นรุ่นพี่ คนพื้นที่สุพรรณเอง ข้อมูล
    ของพระกรุนี้คือ พระกรุนี้ไม่ได้ลงกรุครับ สภาพพระทุก
    องค์เราจึงไม่เจอขี้กรุบนผิวพระเลย จะมีก็แค่คราบมวลดิน
    หรือฝุ่นที่จับตัวกันแน่เพราะความชื่นมานาน เท่านั้นครับ
    สาเหตุที่ผมถามเขาก็เพราะความสงสัยว่า เราเองก็ซื้อบ้าน
    กร่างมาเยอะ แต่ทำไมไม่เคยเจอขี้กรุบนผิวพระเลย เจอ
    แต่พระสะอาดทั้งนั้น เมื่อมีโอกาสได้นั่งคุยก็เลยถามสะเลย
     
  4. stoes

    stoes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    8,343
    ค่าพลัง:
    +9,050
    หูตาผม สว้าง สว่าง เมื่อได้รับความรู้ที่น้าต๋อย ได้ไปเสวนามากับผู้ทรงคุณวุฒิรุ่นพี่
     
  5. น้า ต๋อย

    น้า ต๋อย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    1,077
    ค่าพลัง:
    +661
    ของดีที่กำลังจะถูกลืม

    กำแพงขาโต๊ะ สภาพเดิมๆ
    [​IMG]

    พม่าก็มีสนิมแดงนะจ๊ะ ขนาดใหญ่กว่าโคนสมอ สนิมมันส์มาก
    [​IMG]
     
  6. ae noi

    ae noi เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    4,134
    ค่าพลัง:
    +1,880
    หาที่มาที่ไปไม่ได้เลยเพราะผมไม่รู้ว่าเขาเรียกว่าพระอะไรครับ
    พี่ๆท่านใดรู้ข้อมูลช่วยด้วยครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMGP5317.jpg
      IMGP5317.jpg
      ขนาดไฟล์:
      693.5 KB
      เปิดดู:
      57
    • IMGP5323.jpg
      IMGP5323.jpg
      ขนาดไฟล์:
      678.6 KB
      เปิดดู:
      74
  7. ธณต

    ธณต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,624
    ค่าพลัง:
    +5,025
    ขออภัยน้าต๋อย..

    อธิบายสภาพมวลดินให้ฟังหน่อยครับ ถ้าไม่ลงกรุแล้วมวลดินมาไงครับ

    แบบอยากรู้มั้งอะครับ ขอบคุณครับ
     
  8. น้า ต๋อย

    น้า ต๋อย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    1,077
    ค่าพลัง:
    +661
    อันที่จริงคำว่า '' มวลดิน '' เป็นเพียงศัพท์ที่นักเล่นเขาชอบพูดกันเท่านั้น
    เพราะถ้าดูจากองค์พระจริงๆ ก็ไม่ต่างอะไรกับฝุ่นที่จับตัวกันมานาน เมื่อ
    เห็นสภาพแบบนั้นก็เรียกกันง่ายๆว่ามวลดิน ซึ่งถ้าไปเทียบกับพระที่ลงกรุ
    ภายในกรุมีทั้งความชื้นที่หายไปยาก มีทั้งน้ำท่วมและก็แห้ง จะท่วมไม่
    นานนัก ประมาณว่าท่วมแค่ฝนตก พอหยุดก็แห้ง เมื่อสภาพภายในเป็นแบบนี้
    สิ่งที่มากับน้ำ หรือ ฝุ่นภายในผสมเข้ากับความชื้นที่มีอยู่ ที่มากับน้ำก็พวก
    ดิน+ทราย เมื่อน้ำแห้งก็มาจับองค์พระ ความชื้นก็เข้ามาผสมโรงเข้าไปอีก
    เป็นอยู่แบบนี้นานๆขี้กรุจึงออกมาแข้ง

    แต่พระบ้านกร่าง ส่วนใหญ่ที่พบจะอยู่นอกศาลา เมื่ออยู่นอกศาลา ก็แน่นอน
    ครับ ฝุ่นดิน+กับความชื้นในอากาศ ก็มาบรรเลงที่องค์พระ แต่ก็ไม่หนามาก
    เพราะความชื้นในสภาพแบบนั้น พอแดดออกก็หายแล้ว ต่างจากในกรุมันไม่โดน
    แดดความชื้นจะอยู่ได้นานกว่า

    ** งง ป่าวเนี้ย **

    ปล. คำว่ามวลดิน จริงๆแล้วคำๆนี้ก้ไม่ได้มีสาระสำคัญอะไรมากมาย
    ไม่จำเป็นต้องใช้คำนี้ก้ได้นะครับ แค่ฟังดูแล้ว..เออ! พระสภาพเดิมๆแฮะ
    ก็เท่านั้นแหละครับ
     
  9. ธณต

    ธณต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,624
    ค่าพลัง:
    +5,025
    คำกระจ่างครับขอบคุณครับ..

    แล้วนวลกรุละครับ
     
  10. น้า ต๋อย

    น้า ต๋อย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    1,077
    ค่าพลัง:
    +661
    โธ่! ชีวิต.. นวล นาง มากก่ามั้ง
     
  11. yamie

    yamie เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    1,640
    ค่าพลัง:
    +1,520
    <a href="http://www.picza.net/show.php?id=vPlTvTEPIO" target="_blank"><img src="http://sv1.picza.net/uppic/pic/2012_01_10/vTE/vPlTvTEPIO.gif" border="0" /></a><br><font size=1>Thanks: <a href="http://www.picza.net" target="_blank">ฝากรูป</a></font>

    สุดยอดเลยคะ ยาบันทึกลงในหน่วยความจำสมองขี้เท่อของยาแล้วคะ น้าต๋อย ขอบคุณคะสำหรับความรู้ที่มอบให้เพื่อนๆสมาชิกบอร์ดคะ ( ยามาตามหาน้าต๋อยไปห้องนู้นคะ )
     
  12. น้า ต๋อย

    น้า ต๋อย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    1,077
    ค่าพลัง:
    +661

    ผมนั่งพิมพ์อันนี้อยู่ พอกดส่งเนทหลุด กำ! ต้องมานั่งพิมพ์ใหม่
     
  13. ทิพย์มงคล

    ทิพย์มงคล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2011
    โพสต์:
    3,892
    ค่าพลัง:
    +8,215
    กระจ่างแจ้ง เคยสงสัยอยู่เหมือนกันว่าทำไม? ขอบคุณครับ ขอถามเพิ่มเติมนิดนึงครับ
    พระกรุบ้านกร่าง จะมีร่องรอยของ ว่านที่หลุดจากเนื้อพระมีรูปแบบเฉพาะ จำเป็นต้องมีทุกองค์ หรือเปล่าครับ หรือมีเป็นบางองค์
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 มกราคม 2012
  14. narmja

    narmja เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    7,921
    ค่าพลัง:
    +8,496
    ถึงว่า ผมมองยังไง ก็งง ว่า กรุตรงไหน รา ก็ไม่มี ฟองเต้าหุ้ก็ไม่มี แหะๆ กระจ่างครับพี่
     
  15. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372

    รอยว่านหลุดเป็นชื่อเรียกในวงการพระเท่านั้นครับ
    จริงๆแล้ว ก็เป็นเศษใบไม้หรือเศษหญ้าที่อยู่ในเนื้อดิน
    ที่ใช้กดพิมพ์พระ เนื่องจากดินไม่ได้กรอง
    พอนำไปเผาด้วยความร้อนสูง
    เศษใบไม้หรือหญ้าก็กลายเป็นจุนไป
    ทิ้งร่องรอยที่เรียกว่ารอยว่านหลุดเอาไว้บนผิวพระครับ
    เท่าที่ผมพบก็มักจะมีแทยทุกองค์มากน้อยต่างกันไปครับ
     
  16. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    ขอบคุณน้าต๋อยสำหรับความข้อมูลใหม่ครับ
    เดิมทีเดียวผมเข้าใจว่าที่คราบกรุน้อย
    เพราะกรุเป็นกรุแห้ง อยู่ในที่สูงน้ำท่วมไม่ถึง
    เพราะเห็นพระกำแพงเพชรบางองค์ที่อยู่ด้านบนของกรุ
    ก็จะมีเนื้อค่อนข้างแห้งและดูต่างออกไปครับ
     
  17. ทิพย์มงคล

    ทิพย์มงคล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2011
    โพสต์:
    3,892
    ค่าพลัง:
    +8,215
    ขอบคุณ พี่ Amuletism มากครับ
     
  18. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    พระ ๒๕ พุทธศตวรรษ เนื้อดิน

    พระ ๒๕ พุทธศตวรรษ เนื้อดิน
    จริงๆ แล้วเป็นเนื้อดินผสมผง และเป็นดินที่ผ่านการกรองมาเป็นอย่างดี
    ดังจะเห็นว่าดินละเอียดจนสามารถแสดงเส้นสายบนจีวรและกลีบบัวได้
    (ดินหลักเมือง ๗ หลัก ดินสังเวชสถาน ๔ แห่ง ผงพุทธคุณจากเกจิคณาจารย์ ฯลฯ)<O:p</O:p
    สีของพระ ๒๕ พุทธศตวรรษ เนื้อดิน ตามลำดับความนิยม<O:p</O:p
    ๑. สีดำ สร้างน้อยค่านิยมสูงสุด<O:p</O:p
    ๒. สีแดง หรือสีส้ม หรือสีหมากสุก หรือสีก้ามปู<O:p</O:p
    ๓. สี เขียว หรือสีมอย หรือสีใบไม้ (โทนเขียว)<O:p</O:p
    ๔. สีขาว<O:p></O:p>
    ๕. สีดอกพิกุลแห้ง หรือสีใบลาน หรือสีใบตองแห้ง (โทนเหลืองอ่อน)<O:p</O:p
     
  19. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    การแยกพิมพ์พระ ๒๕ พุทธศตวรรษ เนื้อดิน

    การแยกพิมพ์ พระ ๒๕ พุทธศตวรรษ เนื้อดิน
    แยกเป็น ๒ พิมพ์ คือ<O:p</O:p
    ๑. พิมพ์มีจุด (พิมพ์พระเกศยาว) จะมีจุดกลมขนาด ๑ มิลลิเมตร
    อยู่ใต้ฐานองค์พระด้านหน้า และพระเกศยาวมากจนชนขอบซุ้มด้านบน <O:p</O:p
    ๒. พิมพ์ไม่มีจุด (พิมพ์พระเกศสั้น) ไม่ปรากฏจุดกลมใต้ฐานองค์พระ
    พระเกศสั้นปกติ ด้านหลังพระพิมพ์นี้จะมีรอยคล้ายหัวตะปูกดลึกลงไป
    ทั้งด้านบนและล่างของอักขระยันต์<O:p</O:p
     
  20. captainzire

    captainzire เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,551
    ค่าพลัง:
    +2,822
    ต้องขอบคุณพี่ Amuletism อย่างยิ่งเลยครับ
    แจ่มแจ้งชัดเจนครับ
    เคยเห็นบางคนก็บอกมีของเสริม หรือมีมากกว่าหนึ่งรุ่น
    อะไรทำนองนั้น แต่ไว้จะลองไปดูด้วยตนเอง
    ตามวิธีการพิจารณาที่พี่แนะนำครับ :cool::cool::cool:
     

แชร์หน้านี้

Loading...