WarRoom - อาสาสมัครเตรียมการเฝ้าระวังประสานงานเตรียมพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์ปี 2013

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 24 เมษายน 2011.

  1. patratyon

    patratyon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    10,434
    ค่าพลัง:
    +6,293
    [​IMG]
     
  2. patratyon

    patratyon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    10,434
    ค่าพลัง:
    +6,293
    สุดช็อค คดีประหลาด"หมูกินคน" จนท.มึน ยังหาสาเหตุไม่พบ

    วันที่ 03 ตุลาคม พ.ศ. 2555 เวลา 07:00:23 น

    [​IMG]

    สื่อสหรัฐฯรายงานว่า ทางการรัฐโอเรกอน กำลังสืบสวนว่าเหตุใดเกษตรกรรายหนึ่งจึง"ถูกกิน"โดยหมูของเขาเอง

    สำนักงานทนายเขตคูส์ เคาน์ตี้ เปิดเผยว่า นายเทอร์รี แวนซ์ การ์เนอร์ วัย 69 ปี หายตัวไปอย่างลึกลับหลังจากเอาออกไปให้อาหารหมูตามปกติเมื่อวันพุธที่แล้ว (25 ก.ย.) ที่เมืองแบนดอน รัฐโอเรกอน

    นายพอล ฟราเซียร์ อัยการประจำเขตกล่าวว่า สมาชิกในครอบครัวพบชิ้นส่วนร่างกายของนายการ์เนอร์พร้อมทั้งฟันปลอม กระจายเกลื่อนกลาดอยู่ภายในคอกหมู ในอีกหลายชั่วโมงหลังจากนั้น แต่ชิ้นส่วนร่างกายส่วนใหญ่ถูกบริโภคไปแล้ว โดยระบุว่า หมูหลายตัวในคอกมีน้ำหนักตัว 700 ปอนด์หรือมากกว่า

    นายฟราเซียร์เผยว่า เป็นไปได้ว่านายการ์เนอร์อาจล้มป่วยกระทันหัน อาทิ หัวในวาย หรือถูกสัตว์วิ่งชนจนล้มสลบไปและถูกกัดกิน ทั้งนี้ เคยมีประวัติว่านายการ์เนอร์เคยถูกหมูตัวหนึ่งกัดมาแล้ว อย่างไรก็ดี เจ้าหน้าที่ยังไม่ตัดความเป็นไปได้ในการถูกฆาตกรรม

    หนังสือพิมพ์เดอะ เรกจิสเตอร์ การ์ด รายงานว่า นักพยาธิวิทยา ยังคงไม่สามารถระบุสาเหตุและรูปแบบของการเสียชีวิตได้ โดยซากชิ้นส่วนที่เหลือจะได้รับการพิสูจน์ด้วยกระบวนการนิติวิทยาศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยโอเรกอน

    ด้านนายไมเคิลการ์เนอร์น้องชายของผู้ตายกล่าวว่าพี่ชายของเขาเคยถูกหมูเพศเมียกัดขณะที่บังเอิญเดินไปเหยียบลูกหมู ตอนแรกเขาตัดสินในฆ่าหมูตัวดังกล่าวแต่เปลี่ยนใจหลังทราบสาเหตุ

    จอห์น คิลล์เฟอร์ หัวหน้าภาควิชาปศุสัตว์ มหาวิทยาลัยโอเรกอน สเตท เปิดเผยว่า ตามปกติแล้ว หมูที่เลี้ยงตามบ้านไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง ขณะที่อาจมีพฤติกรรมรุนแรงในระดับเช่นนี้ในสัตว์ประเภทอื่น ขณะที่หมูเอง ก็เป็นสัตว์ประเภทที่กินทั้งพืชและสัตว์ มากกว่าสัตว์ที่เลี้ยงตามฟาร์มปศุสัตว์ชนิดอื่น แต่กรณีนี้ถือว่ามีความผิดปกติมาก

    ทั้งนี้ หมูตอนส่วนใหญ่จะถูกเลี้ยงกระทั่งพวกมันมีน้ำหนักตามที่ตลาดกำหนด ระหว่าง 250-300 ปอนด์ ขณะที่หมูแม่พันธุ์น้อยตัวที่จะมีน้ำหนักเกินกว่า 400 ปอนด์

    ในปี 2004 เคยเกิดกรณีที่สตรีชาวโรมาเนียรายหนึ่งถูกหมูในฟาร์มของเธอชนจนสลบก่อนที่จะกินเธอ รายงานข่าวไม่ได้ระบุว่าเธอเสียชีวิตหรือไม่ โดยระบุเพียงว่าหมูกัดกินหูและใบหน้าครึ่งหนึ่ง

    สุดช็อค คดีประหลาด"หมูกินคน" จนท.มึน ยังหาสาเหตุไม่พบ : มติชนออนไลน์
     
  3. somsweet

    somsweet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    6,138
    ค่าพลัง:
    +9,874
    ถนนหน้า'ตลาดรังสิต'ยุบ

    วันพุธที่ 3 ตุลาคม 2555 เวลา 20:00 น.

    [​IMG]
    <!-- /.images-list-items --><EMBED height=370 type=application/x-shockwave-flash width=620 src=http://www.youtube.com/v/99asvB9CQY4?version=3&hl=en_US&rel=0 wmode="transparent" allowfullscreen="true" allowscriptaccess="always"></EMBED>
    <!-- /.images-list-items youtube_embed -->[​IMG]
    <!-- /.images-list-items -->[​IMG]
    <!-- /.images-list-items -->[​IMG]
    <!-- /.images-list-items -->[​IMG]
    <!-- /.images-list-items -->[​IMG]
    <!-- /.images-list-items -->
    <!-- /.images-list-container -->
    <!-- /.images-list-wrapper --><!-- /.youtube_thumbnail --><!-- /.select-item -->พบ ถนนยุบเป็นโพรงบริเวณกลางถนนรังสิต-ปทุมธานี หน้าตลาดรังสิต เป็นหลุมลึก1-2 เมตร ชาวบ้านเอาต้นไม่มาปลูกให้คนขับรถเห็น

    <!-- /.content -->
    <!-- /.content -->
    <!-- /.content -->
    <!-- /.content -->
    <!-- /.content -->
    <!-- /.content -->
    <!-- /.content --><!-- /#featured-caption -->วันนี้ 3 ต.ค. ผู้สื่อข่าวได้รับแจ้งจากพลเมืองดีว่า มีถนนยุบเป็นโพรงบริเวณกลางถนนรังสิต-ปทุมธานี ด้านหน้าโค้งนายฮั่ง ตลาดรังสิต ต.ประชาธิปัตย์ อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี หลังรับแจ้งจึงรุดเดินทางไปตรวจสอบ

    เมื่อไปถึงพบว่าจุดที่ถนนยุบนั้นเป็นช่วงทางโค้งแยกจากถนนพหลโยธิน เข้าสู้ถนนรังสิต-ปทุมธานี โดยพบว่ามีร่อยรอยถนนยุบเป็นวงกลมกว้างประมาณ 50 ซม.และเมื่อตรวจสอบดูด้านในหลุมกลับพบว่าดินด้านล่างเป็นโพรงกว้างประมาณ 1-2 เมตร ซึ่งชาวบ้านที่อยู่ใกล้เคียงได้นำกิ่งไม้มาปักไว้เป็นสัญญาณเพื่อให้รถยนต์ประชาชนที่ผ่านปาได้สังเกตและหลบหลีกได้

    นายสมชาย แก้วเกล็ด อาสาสมัครแจ้งเหตุเหยี่ยวเวหา กล่าวว่า ตนเองขับรถจักรยานยนต์ผ่านมาที่โค้งดังกล่าวและพบว่ามีหลุมขนาดใหญ่ยุบอยู่กลางถนน จึงได้ช่วยหากิ่งไม้มาเสียบปักไว้เพื่อเป็นสัญญาณ และประสานงานไปยังศูนย์วิทยุรับแจ้งเหตุ สภ.ประตูน้ำจุฬาลงกรณ์ เพื่อให้ส่งเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรมาคอยดูแลอำนวยความสะดวกให้กับประชาชนที่ขับรถมาบนถนนเส้นนี้

    อย่างไรก็ตามเมื่อตรวจสอบดูด้านล่างพบว่าดินใต้ถนนนั้นเป็นโพรงกว้าง 1-2 เมตร น่าจะเป็นอันตรายห่างรถใหญ่ขับมาแล้วถนนเกิดยุบตัวลงไปเป็นวงกว้างขึ้นอีก และจะได้ประสานงานไปยังกรมทางหลวงเพื่อให้เร่งเข้ามาแก้ไขก่อนที่จะเกิดอุบติเหตุขึ้นมา.

    B5 - War Room Falkman
     
  4. somsweet

    somsweet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    6,138
    ค่าพลัง:
    +9,874
    น้ำป่าทะลักท่วมหมู่บ้าน ฟาร์มจระเข้แตก เพ่นพ่านตามคู คลอง บ่อน้ำ ลำห้วย เชื่อยังจับไม่ได้อีกนับร้อยตัว

    วันพุธที่ 3 ตุลาคม 2555 เวลา 17:41 น.

    [​IMG]
    <!-- /.images-list-items -->[​IMG]
    <!-- /.images-list-items -->[​IMG]
    <!-- /.images-list-items -->[​IMG]
    <!-- /.images-list-items -->[​IMG]
    <!-- /.images-list-items -->[​IMG]
    <!-- /.images-list-items -->[​IMG]
    <!-- /.images-list-items -->
    <!-- /.images-list-container -->
    <!-- /.images-list-wrapper -->ชาวบ้านอำเภอบ้านค่าย ระยอง ผวาหนัก พบจระเข้เพ่นพ่านทั่วบริเวณ คู คลอง จับได้แล้ว 1 ตัว ขอความร่วมมือชาวบ้าน ออกไล่ล่า

    <!-- /.content -->
    <!-- /.content -->
    <!-- /.content -->
    <!-- /.content -->
    <!-- /.content -->
    <!-- /.content -->
    <!-- /.content --><!-- /#featured-caption -->
    วันนี้ 3 ต.ค. หลังจากที่พื้นที่จังหวัดระยอง มีฝนตกหนักมาอย่างต่อเนื่อง ได้มีน้ำป่าทะลักเข้ามาในพื้นที่อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง และพบจระเข้ หลุดออกมาจำนวนหลายตัว นายทิวา พรหมอินทร์ นายอำเภอบ้าน นายปราโมทย์ ฉันทะมิตร์ นายก อบต.หนองละลอก เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ เจ้าหน้าที่ตำรวจ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เดินทางไปตรวจสอบ พบบ่อจระเข้แตก หลังจากมีน้ำป่าไหลทะลักท่วมหมู่บ้านหนองละลอก อ.บ้านค่าย ทำให้ลูกจระเข้หลุดลอยตามน้ำจำนวนมาก แต่ทราบว่าเจ้าของสถานที่ไม่แจ้งตามข้อเท็จจริงให้ทราบ เพราะมีหลักฐานสำคัญก็คือชาวบ้านทอดแหเจอจระเข้ ยาวกว่า 1 เมตร และสามารถจับมาได้แล้ว 1 ตัว ซึ่งเจ้าของฟาร์มคือ นายไพบูลย์ ยงชัยหิรัญ อายุ 67 ปี ขอไถ่จระเข้คืน และพบว่าบริเวณพื้นที่มีบ่อจระเข้สร้างด้วยปูนซิเมนต์ขนาดกว้าง 6 เมตร ยาว 6 เมตร ติดกัน จำนวน 3 บ่อ และในบ่อนุบาลมีรอยแตกรั่ว ซึ่งเจ้าของบ่อได้นำแผ่นสังกะสี และตาข่ายมาขวางกั้นไว้

    นายปราโมทย์ ฉันทะมิตร์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบล(อบต.)หนองละลอก เปิดเผยว่าเมื่อกลางดึกที่ผ่านมาน้ำป่าได้ไหลเข้าท่วมฟาร์มจระเข้ของนายไพบูลย์ ยงไทยหิรัญ ทำให้จระเข้หลุดออกจากฟาร์มไม่ทราบจำนวนซึ่งนายไพบูลย์ แจ้งว่าจระเข้ที่หลุดออกจากฟาร์มมีความยาว 70 เซนติเมตรเป็นลูกจระเข้จำนวน 70 ตัว จึงได้ประชาสัมพันธ์ให้ชาวบ้านทราบเกรงว่าอาจจะมีพ่อพันธุ์แม่พันธุ์จระเข้หลุดออกมาด้วยและอาจทำให้ชาวบ้านได้รับอันตราย เนื่องจากปีที่ผ่านมาฟาร์มเลี้ยงจระเข้แห่งนี้คนงานลืมปิดประตูบ่อจระเข้ ทำให้จระเข้ตัวใหญ่ขนาด 100 กก.หลุดออกจากฟาร์มจำนวนหลายตัว และได้รับรายงานว่าขณะนี้ชาวบ้านได้ออกตามล่าจระเข้ที่หลุดออกจากฟาร์มแล้ว ล่าสุดพบจระเข้ขนาดใหญ่ และขนาดเล็กหลงอยู่ในบ่อน้ำของ นายบรรยงค์ คงจำรูญ บ้านเลขที่ 45/7 ม.3 ต.หนองละลอก อ.บ้านค่าย

    ด้าน นายไพบูลย์ ยงชัยหิรัญ อายุ 67 ปี เจ้าของบ่อจระเข้ ได้กล่าวว่า เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม ที่ผ่านมา เวลา 17.00 น. ได้มีน้ำป่าไหลหลากทะลักท่วมเข้ามาในบริเวณบ่อจระเข้ที่เลี้ยงไว้ ทำให้บ่ออนุบาลแตกเป็นช่องโหว่ ซึ่งเลี้ยงลูกจระเข้ไว้ทั้งหมด 70 ตัว ทำให้ลูกจระเข้ที่มีขนาดความยาว 70-80 เซนติเมตร หลุดออกมาจำนวน 4 ตัว และไหลไปตามน้ำ ซึ่งขณะนี้ได้ทราบข่าวจากชาวบ้านแจ้งเข้ามาว่า ได้ทอดแหได้ลูกจระเข้ จำนวน 2 ตัว แต่ยังไม่ได้ไปรับคืนและยินดีไถ่ลูกจระเข้คืนทั้งหมด ส่วนอีก 2 ตัว คาดว่าน่าจะอยู่ในสระพักน้ำที่มีความยาวกว่า 100 เมตร ลึก 3 เมตร ซึ่งขณะนี้ได้แจ้งยอดไปที่ปศุสัตว์จังหวัดระยองเรียบร้อยแล้ว และได้ย้ายลูกจระเข้จากบ่ออนุบาลไปรวมกับลูกจระเข้ที่มีขนาดโตกว่า ซึ่งมีความขนาด 1 เมตร ซึ่งจะได้ให้ช่างดำเนินการซ่อมแซมบ่อที่แตกรั่ว และยังพบลูกจระเข้ที่ถูกปูนซิเมนต์ทับตายจำนวน 4 ตัวด้วย

    น้ำป่าทะลักท่วมหมู่บ้าน ฟาร์มจระเข้แตก เพ่นพ่านตามคู คลอง บ่อน้ำ ลำห้วย เชื่อยังจับไม่ได้อีกนับร้อยตัว | เดลินิวส์

    B5 - War Room Falkman
     
  5. somsweet

    somsweet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    6,138
    ค่าพลัง:
    +9,874
    ปราจีนฯท่วมยกทั่วอ.บ้านสร้างอ่วม8พันหลัง

    วันพุธที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.2555 20:15น.

    ปราจีนฯท่วมยกทั่วอ.บ้านสร้างอ่วม8พันหลัง : INN News

    [​IMG]

    ปราจีนบุรี ท่วมยกจังหวัด เฉพาะอำเภอบ้านสร้าง เดือดร้อนแล้วกว่า 8 พันครัวเรือน ทางการระดมช่วยเต็มที่

    ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในจังหวัดปราจีนบุรี เริ่มมาตั้งแต่วันที่ 9 กันยายน 2555 เนื่องจากมีร่องมรสุมกำลังแรงพาดผ่านภาคตะวันออก ทำให้เกิดฝนตกหนักในพื้นที่ จ.สระแก้ว และ จ.ปราจีนบุรี ได้เกิดน้ำล้นตลิ่งแม่น้ำปราจีนบุรี ไหลหลากเข้าท่วมที่อยู่อาศัย และพื้นที่ทางการเกษตรของราษฎรที่ 7 อำเภอของ จ.ปราจีนบุรี สำหรับ อำเภอบ้านสร้าง มีพื้นที่ประสบอุทกภัย 9 ตำบล 88 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับผลกระทบจำนวนประมาณ 8,450 ครัวเรือน และขณะนี้สถานการณ์ยังไม่ยุติ โดยคาดว่าจะมีน้ำท่วมขังต่อไปอีกระยะหนึ่ง ทั้งนี้ จ.ปราจีนบุรี ก็ได้ดำเนินการให้ความช่วยเหลือราษฎรอำเภอบ้านสร้าง ไปแล้ว เช่น การจัดหาเรือยนต์และเรือพาย จำนวนกว่า 150 ลำ ราษฎรใช้ในการสัญจร จัดหาถุงยังชีพแจกจ่ายครัวเรือนที่ประสบอุทกภัยไปแล้วจำนวน 4,170 ชุด จัดหายาสามัญประจำบ้านแจกจ่ายราษฎร จำนวน 1,200 ชุด อีกทั้งได้ให้ส่วนราชการต่างๆ เข้าพบปะราษฎรในพื้นที่ทุกตำบล/หมู่บ้าน เป็นประจำอย่างทั่วถึงด้วยแล้ว

    B5 - War Room Falkman
     
  6. somsweet

    somsweet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    6,138
    ค่าพลัง:
    +9,874
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>พบรอยเลื่อนจ่อเข้ากรุง สุดเสี่ยง! อาคาร กทม.มีสิทธิ์ถล่มจากธรณีพิโรธมาก 2 ล้านหลัง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>3 ตุลาคม 2555 17:23 น.</TD><TD vAlign=center align=left><SCRIPT type=text/javascript src="http://platform.twitter.com/widgets.js"></SCRIPT>

    <SCRIPT type=text/javascript src="https://apis.google.com/js/plusone.js" gapi_processed="true"> {lang: 'th'}</SCRIPT><?XML:NAMESPACE PREFIX = G /><G:pLUSONE size="medium"></G:pLUSONE>
    <TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><IFRAME style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 450px; HEIGHT: 35px; OVERFLOW: hidden; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none" src="http://www.facebook.com/plugins/like.php?href=http://www.manager.co.th/asp-bin/mgrshort.aspx?NewsID=9550000121453&layout=standard&show_faces=false&width=450&action=like&colorscheme=light&height=35" frameBorder=0 allowTransparency scrolling=no></IFRAME><!--
    <script>(function(d, s, id) { var js, fjs = d.getElementsByTagName(s)[0]; if (d.getElementById(id)) return; js = d.createElement(s); js.id = id; js.src = "//connect.facebook.net/th_TH/all.js#xfbml=1"; fjs.parentNode.insertBefore(js, fjs);}(document, 'script', 'facebook-jssdk'));</script><fb:like href="http://www.manager.co.th/asp-bin/mgrshort.aspx?NewsID=9550000121453" send="true" width="450" show_faces="false"></fb:like>--></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> อึ้ง! อาคารใน กทม.ไม่ปลอดภัยกว่า 2 ล้านหลัง รับแรงแผ่นดินไหวไม่ได้เลย 1 ล้านหลัง นักวิชาการจี้เสริมโครงสร้างโดยเฉพาะอาคารสาธารณะสำคัญ หลังธรณีวิทยาพบรอยเลื่อนมีพลังที่นครนายก จ่อเข้าใกล้ กทม.มากขึ้น ส่วนการรับมือน้ำท่วม ซัด รบ.ทำสวนทาง อยากระบายน้ำแต่กลับถมคูคลอง ชี้ สร้างเจ้าพระยา 2 เป็นเรื่องเพ้อฝัน แนะทำโครงสร้างระบายน้ำใต้ดิน เป็นกล่องแบบโครงสร้างทางด่วนบางนา-บางปะกง แก้ปัญหาเวนคืนที่ดินประชาชน ด้าน อ.นิเทศศาสตร์ จุฬาฯ สอน รบ.ทำสื่อสารสาธารณะขณะเกิดภัยพิบัติ ต้องตั้งทีมมอนิเตอร์สื่อ สังเกตการรับข้อมูลของประชาชน ชี้ อย่ารอแต่แถลงข่าวอย่างเดียว ส่วนสื่อมวลชนอย่าบีบคั้นน้ำตาแหล่งข่าว และต้องตามประเด็นต่อหลังเกิดภัยพิบัติ เพื่อให้เกิดการแก้ปัญหาและพัฒนา

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400><TBODY><TR><TD vAlign=top width=400 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ศ.ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านวิศวกรรมแผ่นดินไหวและการสั่นสะเทือน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> วันนี้ (3 ต.ค.) เมื่อเวลา 09.00 น.ที่ห้องประชุม 201 อาคารวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศ.ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านวิศวกรรมแผ่นดินไหวและการสั่นสะเทือน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ กล่าวระหว่างการสัมมนาวิชาการ “การบริหารจัดการสาธารณะในภาวะวิกฤตจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ” ว่า ภัยธรรมชาตินำมาซึ่งความสูญเสีย แต่ขณะเดียวกัน ก็นำมาซึ่งบทเรียนอันล้ำค่า ก่อให้เกิดการวิจัยและเรียนรู้การแก้ปัญหาในอนาคต ซึ่งการจะแก้ปัญหาได้นั้น จะต้องรู้ต้นตอของภัยธรรมชาติเสียก่อน โดยสาเหตุสำคัญนั้นส่วนหนึ่งมาจากมนุษย์ อาทิ เหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศไทยที่เกิดขึ้นถี่กว่าในอดีต เป็นเพราะมีการขยายตัวเมืองเข้าไปใกล้รอยเลื่อนมากขึ้น การทำลายทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะรถยนต์ที่ก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก สูญเสียพลังงานมากขึ้น การปล่อยน้ำเสียของโรงงานอุตสาหกรรม และบ้านเรือนลงสู่แม่น้ำ รวมไปถึงการบุกรุกแม่น้ำและชายหาด โดยการก่อสร้างขวางทางน้ำ เป็นต้น

    ศ.ปณิธาน กล่าวอีกว่า ส่วนสิ่งที่น่ากังวล คือ การเปลี่ยนแปลงของโลกที่เราไม่ทราบจนอาจนำมาซึ่งภัยพิบัติ อย่างกรณีภูเขาไฟระเบิดใต้ธารน้ำแข็งเมื่อปีที่แล้วนั้น นักวิทยาศาสตร์โลกไม่ได้มีการออกมาเตือนใดๆ ทั้งสิ้น ดังนั้น การที่ออกมาระบุว่าระดับน้ำทะเลจะเพิ่มขึ้นสูงปีละเท่าใดๆ นั้น ถือว่าผิดทั้งหมด เนื่องจากไม่มีการคำนึงถึงเหตุการณ์ภูเขาไฟระเบิดใต้ธารน้ำแข็งมาก่อน

    ศ.ปณิธาน กล่าวต่อไปว่า สำหรับการรับมือภัยพิบัติทางธรรมชาตินั้น ต้องอาศัยกรอบการดำเนินงานเฮียวโงะ (Hyogo) ซึ่งเกิดขึ้นจากการประชุมการจัดการภัยพิบัติเมื่อปี 2548 ภายหลังครบรอบ 10 ปี การเกิดเหตุแผ่นดินไหวครั้งใหญ่เมื่อ 17 ม.ค.2538 ที่เมืองโกเบ จังหวัดเฮียวโงะ ประเทศญี่ปุ่น จนเกิดความสูญเสียเป็นจำนวนมาก ซึ่งกรอบการดำเนินงานเฮียวโงะนั้น จะเน้นในเรื่องของการปฏิบัติและการป้องกัน โดยต้องมีการเสริมสร้างความแข็งแรงของโครงสร้างอาคารต่างๆ ทั้งบ้าน อาคารโครงสร้างพื้นฐาน อาคารสาธารณะที่สำคัญ อาทิ โรงพยาบาล โรงเรียน เป็นต้น เพื่อให้รองรับการเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวได้ การสร้างอาคารใหม่จะต้องถูกต้องตามหลักการรองรับแผ่นดินไหวด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ จะต้องมีการเสริมสมรรถภาพขีดความสามารถทรัพยากรมนุษย์ และรัฐบาลจะต้องมีนโยบายที่ถูกต้องในการรับมือกับภัยพิบัติ ซึ่งถือเป็นเรื่องที่สำคัญมาก

    ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเลย คือ ประเทศเฮติ ที่รัฐบาลไม่ได้ให้ความสำคัญกับการรับมือภัยพิบัติทางธรรมชาติ ทั้งที่มีการเกิดเหตุแผ่นดินไหวบ่อยครั้ง จนเมื่อประมาณปี 2553 ได้เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 7 ริกเตอร์ขึ้น แม้แต่ทำเนียบประธานาธิบดียังพังทลาย ตึกบัญชาการต่างๆ ก็พัง ทำให้เกิดความโกลาหลขึ้นในประเทศ ซึ่งตรงนี้ยูเอ็นได้มีการณรงค์ One Million Safe โดยโรงพยาบาลต้องปลอดภัยจากภัยพิบัติ มีระบบสนับสนุนต่างๆ อาทิ ไฟฟ้าฉุกเฉิน และบุคลากรต้องได้รับการฝึกฝน สามารถจัดการกับภาวะฉุกเฉินได้ เป็นต้น” ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านวิศวกรรมฯ กล่าว

    ศ.ปณิธาน กล่าวด้วยว่า หลักการสำคัญอีกประการในการจัดการและรับมือกับภัยพิบัตินั้น คือ ระบบรับมือ “Resilience” ซึ่งเป็นความสามารถของระบบชุมชนหรือสังคม ที่เผชิญภับพิบัติทางธรรมชาติแล้วสามารถต้านทานได้ มีการฟื้นตัวจากผลกระทบได้ในเวลาที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังต้องอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กลับคืนสู่สภาพเดิมด้วย ส่วนมาตรการบรรเทาภัยพิบัตินั้น ที่สำคัญมีอยู่ 5 มาตรการด้วยกันคือ 1.การเตรียมพร้อมด้านอาคารและโครงสร้างพื้นฐาน 2.การเตรียมพร้อมระบบเพื่อการบรรเทาภัย เช่น ระบบคมนาคมฉุกเฉิน 3.มาตรการด้านกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย 4.มาตรการด้าน Capacity Building และนวัตกรรมการแก้ปัญหา และ 5.มาตรการด้าน Emergency Response

    ศ.ปณิธาน กล่าวว่า ในเรื่องการเตรียมพร้อมด้านอาคารและโครงสร้างพื้นฐานนั้น สำหรับในประเทศไทยมีการออกกฎหมายให้มีการออกแบบอาคารให้สามารถรองรับการเกิดแผ่นดินไหวขึ้นเมื่อปี 2550 แม้ก่อนหน้าจะไม่มีการออกแบบให้รองรับการเกิดแผ่นดินไหว แต่เชื่อว่าสามารถรองรับได้ในระดับหนึ่ง โดยต้องมีการพิจารณาเสริมความแข็งแรงของอาคารที่ไม่ปลอดภัยเหล่านั้นให้ปลอดภัย

    ใน กทม.มีอาคารประมาณ 2 ล้านหลัง ที่ไม่ปลอดภัยต่อการเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว ในจำนวนนี้มีประมาณ 1 ล้านหลัง ที่ไม่สามารถรองรับการเกิดแผ่นดินไหวได้เลย ดังนั้น จำนวนอาคารที่มีมากเหล่านี้จำเป็นที่จะต้องเลือกปรับปรุงเสริมความแข็งแรง โดยเลือกอาคารสาธารณะที่สำคัญ อาคารโครงสร้างพื้นฐาน ทางด่วน สะพาน โรงไฟฟ้า ประปา สถานีดับเพลิง หรือโรงพยาบาลก่อน เพราะขณะนี้ทราบจากสำนักธรณีวิทยาว่า มีรอยเลื่อนมีพลังเข้าใกล้ กทม.มากขึ้น โดยอยู่ที่ จ.นครนายก แต่จะมีความรุนแรงเท่าไรนั้นไม่สามารถคาดการณ์ได้” ศ.ปณิธาน กล่าว

    ศ.ปณิธาน กล่าวเพิ่มอีกว่า ภัยธรรมชาติเป็นเรื่องไม่แน่นอน เนื่องจากมีตัวแปรมากมาย สิ่งสำคัญคือ การเตรียมพร้อมด้านการบรรเทาภัย อย่างกรณีน้ำท่วม รัฐบาลใช้เงินจำนวนมากในการศึกษาน้ำท่วมเป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 20 ปี มีการเสนอมาตรการสำคัญในการแก้ปัญหา หนึ่งในนั้นคือการขุดคลองทำแม่น้ำเจ้าพระยา 2 เนื่องจากระบบระบายน้ำธรรมชาติไม่สามารถรับน้ำขณะเกิดพายุมากๆ ได้ ต้องมีระบบระบายน้ำเพิ่มเติม แต่สุดท้ายไม่ได้ทำ และทำในทิศทางตรงกันข้ามคือการถมคูคลองต่างๆไปจนหมด ซึ่งการจะมาแก้ไขด้วยงบประมาณกว่า 3 แสนล้านบาทไม่แน่ใจว่าจะสามารถทำได้

    เลิกฝันได้เลยกับการสร้างแม่น้ำเจ้าพระยา 2 มันเป็นไปไม่ได้ เพราะต้องมีการเวนคืนที่ดินมาก ทำอย่างไรระบบระบายน้ำก็ไม่พอ เพราะคูคลองต่างๆถูกถมไปนานแล้ว ผมเคยเสนอวิธีการแก้ปัญหา แต่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญด้านน้ำ จึงไม่มีใครฟัง ในฐานะที่ผมเป็นวิศวกรโครงสร้าง จึงนึกถึงการแก้ปัญหาด้วยการนำโครงสร้างทางด่วนที่มีลักษณะเป็นกล่องอย่างช่วง บางนา-บางปะกง เอามาวางให้ต่ำกว่าระดับพื้นดิน เพื่อใช้ระบายน้ำส่วนด้านบนก็ถมดิน ชาวนาก็สามารถทำไรทำนาต่อไปได้โดยไม่ต้องเวนคืนที่ดิน เท่ากับว่าเรามีคลองระบายอยู่ข้างล่าง ขนาดไม่ต้องใหญ่แต่ทำเป็นร่างแหอยู่ข้างล่างไปทั่วประเทศได้” ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านวิศวกรรมฯ กล่าว

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=right><TBODY><TR><TD width=5>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400><TBODY><TR><TD vAlign=top width=400 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>น.ส.สุภาพร โพธิ์แก้ว อาจารย์คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> น.ส.สุภาพร โพธิ์แก้ว อาจารย์คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ กล่าวว่า การสื่อสารสาธารณะในช่วงของการเกิดภับพิบัตินั้น รัฐบาลต้องมีการตั้งศูนย์สารนิเทศ ที่ไม่ใช่รอเพียงการแถลงข่าวอย่างเดียว แต่ต้องเป็นศูนย์ที่พร้อมให้ข้อมูลตลอดเวลา เมื่อผู้สื่อข่าวมีข้อสงสัยสามารถถามแล้วได้คำตอบที่ต้องการ แต่จากเหตุการณ์น้ำท่วมเมื่อปีที่ผ่านมา รัฐบาลรอการแถลงข่าวเพียงอย่างเดียว มองสื่อไว้เพียงรองรับการแถลงข่าวเท่านั้น สิ่งที่รัฐบาลควรทำคือการตั้งทีมมอนิเตอร์สื่อ ประเมินสถานการณ์แต่ละวันว่า ประชาชนกำลังเสพข้อมูลอะไร สาธารณชนกำลังสับสนในข้อมูลเรื่องอะไรหรือไม่ หรือมีข่าวลืออะไรเกิดขึ้น เพื่อที่จะสามารถชี้แจงให้ประชาชนเข้าใจได้

    น.ส.สุภาพร กล่าวอีกว่า ในส่วนของสื่อมวลชนนั้น อยากฝากให้คำนึงถึงความเปราะบางทางจิตใจของผู้ที่ได้รับผลกระทบให้มาก เนื่องจากเขาเป็นผู้สูญเสียไม่ควรไปตอกย้ำคั้นถามเพื่อให้ข่าวดูสะเทือนอารมณ์ยิ่งขึ้น เช่น การพยายามซักหาลูกหลานที่หายไปกับสึนามิเจอหรือยัง เป็นต้น ไม่ควรกระทำ เพราะการออกข่าวให้เห็นน้ำตาหรือความฟูมฟายไม่ใช่เรื่องที่ดี อยากให้ใส่หัวใจและมองในมิตินี้ด้วย จึงจะไม่เป็นการเพิ่มผลกระทบโดยไม่รู้ตัว

    น.ส.สุภาพร กล่าวต่อไปว่า นอกจากนี้ เรื่องของการรายงานข่าวภัยพิบัตินั้น ในช่วงก่อนเกิดภัยพิบัติไม่จำเป็นที่จะต้องประกาศให้ดูเป็นภาวะวิกฤติไปก่อน เพราะจะทำให้เกิดความรู้สึกแฝงอยู่ในสังคม แต่ควรรายงานให้สังคมรับรู้ความเสี่ยง มากกว่ารู้สึกถึงความวิกฤติ ขณะที่ช่วงหลังเกิดภัยพิบัติไปแล้ว เนื่องจากข่าวไม่มีความสด หรืออาจเกิดปรากฏการณ์ใหม่ขึ้นมาแทน ทำให้ไม่มีการรายงานข่าวหลังภัยพิบัติมากนัก แต่การรายงานข่าวหลังภัยพิบัติถือเป็นส่วนสำคัญ เช่น เวทีถอดบทเรียนน้ำท่วม เป็นต้น ที่จะผลักดันให้เกิดการพัฒนาและนำไปสู่การแก้ปัญหามากขึ้น
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    B5 - War Room Falkman
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 ตุลาคม 2012
  7. somsweet

    somsweet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    6,138
    ค่าพลัง:
    +9,874
    สถานการณน้ำท่วมหลายจังหวัดยังน่าห่วง

    วันพุธที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.2555 17:45น.

    [​IMG]

    นครปฐม อ่วม น้ำเมืองกาญจน์ทะลักเข้าท่วม , ระยอง น้ำท่วมสูง 50 ซ.ม. ,แม่น้ำยม ท่วมล้นตลิ่ง รองผู้ว่าฯพิจิตร แจกของช่วยเหลือ ขณะที่ ชาวบางระกำ ขนของกลับบ้านหลังน้ำลดฝนกระหน่ำ

    นายสมรัก มีใจดี นายกเทศมนตรีตำบลสามง่าม อ.ดอนตูม จ.นครปฐม พร้อมด้วย เจ้าหน้าที่ ออกสำรวจพื้นที่เขตเทศบาล หลายหมู่บ้าน หลังจากที่ได้มีชาวบ้านเข้ามาแจ้งว่า เมื่อคืนที่ผ่านมา น้ำในคลองท่าสาร - บางปลา ซึ่งรับน้ำจาก จ.กาญจนบุรี ไหลผ่าน อ.กำแพงแสน และ อ.ดอนตูม เพื่อลงสู่แม่น้ำท่าจีน ได้เอ่อล้นตลิ่งทะลักเข้าท่วมบ้านเรือนราษฎร และพืชผลทางเกษตร โดยเฉพาะนาข้าวของ นายสมพงษ์ คงคา อายุ 62 ปี เกษตรกร ม.6 เขตเทศบาล ข้าวที่กำลังตั้งท้องจำนวน 15 ไร่ ถูกน้ำทะลักเข้าท่วมจนมิดต้นข้าว คิดเป็นมูลค่าเสียหายประมาณ 50,000 บาท นอกจากนั้น ยังมีแปลงนาข้าวอีกหลายรายถูกน้ำท่วมจนถึงคอข้าว ต้องระดมติดตั้งเครื่องสูบน้ำออกจากแปลงนาข้าว เพื่อจะได้เก็บเกี่ยวได้ เหตุการณ์น้ำท่วมอย่างฉับพลันครั้งนี้ ทำให้บางพื้นที่ถูกท่วมสูงกว่า 1 เมตร ถนนทางเข้าหมู่บ้านหลายสายถูกตัดขาด แต่รถยังสามารถวิ่งผ่านไปมาได้ ความเดือดร้อนครั้งนี้ นายสมรัก จึงสั่งให้นำเครื่องสูบน้ำหลายตัว เร่งระดมสูบน้ำออกจากพื้นที่ พร้อมนำรถแบคโฮ จำนวน 7 ตัว เร่งสร้างคันดินกั้นน้ำตลอดสองแนวคลองท่าสาร - บางปลา รวมทั้ง ให้ชาวบ้านที่เดือดร้อนไปรับกระสอบทรายที่มีอยู่ จำนวน 15,000 ใบ มาทำแนวกั้นน้ำเป็นการบรรเทาทุกข์ไปก่อน

    ชาวบางระกำ ขนของกลับบ้านหลังน้ำลด
    จากสถานการณ์น้ำท่วมในพื้นที่ อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก ส่งผลกระทบให้ชาวบ้านหลายครอบครัว ต่างหนีน้ำมาอยู่บนที่สูง โดยเฉพาะ หมู่ 15 ต.บางระกำ ได้สร้างที่เพิงพักอาศัยชั่วคราว เป็นที่หลับนอน หลบแดด หลบฝน เนื่องจากไม่แน่ใจว่าระดับน้ำในแม่น้ำยม จะเพิ่มขึ้นอีกมากน้อยเพียงใด แต่ขณะนี้ระดับน้ำได้ลดระดับลงเรื่อยๆ ทำให้ประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนจากน้ำท่วมบ้านพักอาศัย ที่ขนย้ายสิ่งของมาอยู่บนที่สูงตามริมถนนหลวง บางรายได้ขนย้ายสิ่งของกลับไปบ้างแล้ว เหลือไว้สิ่งของที่จำเป็นเท่านั้น เพราะยังไม่แน่ใจว่าจะเกิดพายุฝนตกหนัก จนทำให้ระดับน้ำเพิ่มขึ้นอีกครั้งหรือไม่

    ด้าน น.ส.พะเยา เทพสิรินทร์ อายุ 31 ปี กล่าวว่า แม้ปีนี้น้ำจะน้อย แต่ต้องอพยพขึ้นไปอาศัยอยู่ริมถนน และเก็บข้าวของไว้ที่สูง เตรียมความพร้อมตลอดเมื่อเข้าฤดูฝน และเคยชินกับการถูกน้ำท่วมประจำทุกปี ตอนนี้ไม่แน่ใจว่าจะมีพายุฝนตกหนักอีกหรือไม่ เพราะต้องเตรียมตัวเอาไว้ตลอดเวลา

    ฝนกระหน่ำระยอง น้ำท่วมสูง 50 ซ.ม.
    สถานการณ์น้ำท่วมในพื้นที่ จ.ระยอง ใน ต.ทับมา อ.เมือง ยังน่าเป็นห่วง หลังจากวานนี้ระดับน้ำลดลงไปบ้างแล้ว แต่ผ่านไปเพียงแค่ข้ามคืนฝนที่กระหน่ำตก ใน อ.บ้านค่าย และ อ.นิคมพัฒนา ทำให้ระดับน้ำในคลองทับมา เอ่อท่วมสูงขึ้นมาอีกระลอก ทั้งบนถนน ทางเข้าหมู่บ้าน และบ้านเรือนที่อยู่ต่ำกว่าถนน ต่างได้รับความเสียหาย จากน้ำท่วม หลายร้อยหลังคาเรือน ซึ่งไม่มีทีท่าว่าน้ำจะลดลง ขณะที่สภาพอากาศใน อ.เมือง ท้องฟ้าก็ยังคงมืดครึ้ม ไฟฟ้า ดับบ่อยครั้ง อันเนื่องมาจากฝนตก และมีน้ำท่วมในหลายพื้นที่ นายชุมพล พิชญชัย หัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดระยอง กล่าวว่า ปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่ตำบลทับมา เป็นปัญหาเรื้อรัง ยากแก่การแก้ไข เพราะจากการเข้าสำรวจ คลองทับมา พบว่า คลองมีลักษณะคดเคี้ยว อ้อมไปมา เป็นเหตุให้น้ำไหลผ่านไม่สะดวก ประกอบกับ มีหมู่บ้านจัดสรรเกิดขึ้นบนพื้นที่แก้มลิง ทำให้บริเวณดังกล่าว ไม่มีที่รองรับน้ำ ทั้งนี้บางชุมชนมีน้ำท่วมสูงกว่า 50 ซ.ม. นอกจากนี้ น้ำยังได้ท่วมถนนหลายสายด้วย ซึ่งรถเล็กไม่สามารถสัญจรได้

    แม่น้ำยม ท่วมล้นตลิ่ง รองผู้ว่าฯพิจิตร แจกของช่วย
    นายสุริยันต์ กาญจนศิลป์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร ปฏิบัติราชการแทนผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร นำเรือท้องแบน นำสิ่งของเครื่องใช้ที่จำเป็น รวมถึงยารักษาโรค ไปแจกจ่ายให้กับราษฎร ที่มีบ้านเรือนอยู่ในที่ลุ่มริมแม่น้ำยม บริเวณหมู่ 8 บ้านย่านยาว ต.วังจิก อ.โพธิ์ประทับช้าง ที่ในขณะนี้น้ำจากแม่น้ำยม ได้มีปริมาณสูงขึ้น ประกอบกับมีฝนตกลงมาอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้น้ำในแม่น้ำยมล้นตลิ่งเข้าท่วมบ้านเรือนของราษฎรของ อ.สามง่าม และ อ.โพธิ์ประทับช้าง รวมถึง ต.บางลาย อ.บึงนาราง ได้รับความเดือดร้อนกันทั่วหน้า

    สถานการณน้ำท่วมหลายจังหวัดยังน่าห่วง : INN News

    B5 - War Room Falkman
     
  8. somsweet

    somsweet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    6,138
    ค่าพลัง:
    +9,874
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เตือนอีสานใต้รับมือ “แกมี” ถล่ม-โคราชจับตาน้ำเขื่อนทุก ชม. “ลำพระเพลิง”ล้นแน่</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>3 ตุลาคม 2555 16:49 น</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=12 vAlign=bottom align=left>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top width=160 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>จ่อล้น อ่างเก็บน้ำลำพระเพลิง อ .ปักธงชัย จ.นครราชสีมา ล่าสุดมีปริมาณน้ำ 102.19 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็น 93% ของความจุ 109 ล้าน ลบ.ม. ใกล้ล้นสปิลเวย์เต็มที วันนี้ ( 3 ต.ค.) </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=1 vAlign=center width=165 align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD background=/images/linedot_vert3.gif width=4>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=7 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>ศูนย์ข่าวนครราชสีมา - ปภ.เขต 5 โคราชเตือน 4 จว.อีสานใต้รับมือพายุ “แกมี” ถล่ม ให้ระวังน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลากและน้ำล้นตลิ่งจากฝนตกหนัก สั่งทุกพื้นที่เฝ้าระวังใกล้ชิด พร้อมตั้งศูนย์เฉพาะกิจติดตามสถานการณ์ตลอด 24 ชม. กำชับ จนท.เตรียมอุปกรณ์กู้ภัย-เครื่องจักร พร้อมช่วยเหลือปชช.ทันท่วงที ด้านชลประทานที่ 8 มั่นใจทุกเขื่อนของโคราชยังรับน้ำได้อีกมาก แต่ “ลำพระเพลิง” ล้นแน่ เชื่อไม่ท่วมพื้นที่ใต้เขื่อน ตั้งวอร์รูมติดตามปริมาณน้ำในอ่างทุก ชม. หากพบเสี่ยงท่วมแจ้งเตือนทันที

    วันนี้ (3 ต.ค.) นายวัลลภ เทพภักดี ผู้อำนวยการศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 5 (ปภ.เขต 5) นครราชสีมา เปิดเผยว่า จากการติดตามสภาวะอากาศจากกรมอุตุนิยมวิทยาทราบว่า พายุโซนร้อน “แกมี” (GAEMI) บริเวณทะเลจีนใต้ตอนกลาง จะเคลื่อนขึ้นฝั่งตอนกลางของประเทศเวียดนามในช่วงวันที่ 5-6 ต.ค. และจะเริ่มมีผลกระทบต่อลักษณะอากาศของประเทศไทยในช่วงวันที่ 4-8 ต.ค.นี้ ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทยมีกำลังแรงขึ้น ลักษณะเช่นนี้ทำให้บริเวณประเทศไทยจะมีฝนตกหนาแน่น และมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่งบริเวณภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ตอนบน โดยเฉพาะในพื้นที่รับผิดชอบทั้ง 4 จังหวัดอีสานตอนล่าง ประกอบด้วย จ.นครราชสีมา, ชัยภูมิ, บุรีรัมย์ และสุรินทร์

    จึงขอให้ประชาชนระวังอันตรายจากสภาวะฝนฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรงและฝนตกหนักที่อาจจะเกิดขึ้น ประชาชนที่อาศัยในพื้นที่เสี่ยงภัยตามที่ลาดเชิงเขาใกล้ทางน้ำไหลผ่าน และพื้นที่ราบต่ำริมน้ำไหลผ่าน ขอให้ระมัดระวังอันตรายจากน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และน้ำล้นตลิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น

    ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงโดยเฉพาะพื้นที่ที่เคยมีประวัติน้ำท่วมขัง ให้ติดตามข้อมูลข่าวสารการพยากรณ์อากาศและการประกาศเตือนภัยจากทางราชการอย่างใกล้ชิด และเฝ้าระวังสถานการณ์ปริมาณน้ำในเขื่อนหรืออ่างเก็บน้ำที่อยู่ในพื้นที่ด้วย

    หากเกิดภาวะฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลานาน ระดับน้ำในแม่น้ำลำคลองสูงขึ้นอย่างรวดเร็วผิดปกติ สีของน้ำเปลี่ยนเป็นสีของดินบนภูเขา ขอให้มีการจัดเตรียมถุงยังชีพของครอบครัวไว้อย่างน้อย 1 ชุดเพื่อจะได้ช่วยเหลือตัวเองได้ยามฉุกเฉิน พร้อมขนย้ายสิ่งของและสัตว์เลี้ยงไว้บนที่สูง เพื่อความปลอดภัยและป้องกันความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นได้

    นายวัลลภกล่าวต่อว่า นอกจากนี้ขอให้เตรียมการป้องกันอันตรายจากลมกระโชกแรง โดยการตัดแต่งกิ่งไม้บริเวณชุมชนและบ้านเรือนที่อยู่อาศัย และดูแลผลผลิตทางการเกษตรเป็นพิเศษ รวมถึงตรวจสอบป้ายโฆษณาและสิ่งปลูกสร้างให้อยู่ในสภาพที่มั่นคงแข็งแรง หากอยู่ในสภาพไม่ปลอดภัยหรือติดตั้งโดยไม่ได้รับอนุญาตให้ประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการแก้ไขโดยด่วน

    ในขณะที่เกิดพายุฝนฟ้าคะนองและลมกระโชกแรง ให้หลบในอาคารที่มั่นคงแข็งแรง ไม่หลบใต้ต้นไม้ใหญ่ ใกล้สิ่งปลูกสร้างหรือป้ายโฆษณาเพราะเสี่ยงต่อการถูกล้มทับ หลีกเลี่ยงการประกอบกิจกรรมกลางแจ้ง อยู่ให้ห่างสื่อนำไฟฟ้า งดใช้เครื่องมือสื่อสารและโทรศัพท์มือถือ หรือสวมใส่อุปกรณ์ที่เป็นสื่อนำไฟฟ้าทั้งเงิน ทองแดง นาค ในที่โล่งแจ้งขณะเกิดพายุฝนฟ้าคะนองเพราะจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดฟ้าผ่า

    ทางศูนย์ ปภ.เขต 5 นครราชสีมา ได้จัดตั้งศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาผู้ประสบอุทกภัย วาตภัย และดินถล่ม โดยจัดให้เจ้าหน้าที่รับผิดชอบประจำศูนย์ฯ ตลอด 24 ชั่วโมงเพื่อติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด และได้เตรียมเจ้าหน้าที่พร้อมเรือท้องแบน เครื่องสูบน้ำ รถยนต์บรรทุกขนาดใหญ่ รถผลิตน้ำดื่ม รถบรรทุกน้ำ รถไฟฟ้าส่องสว่าง เครื่องจักรกลขนาดหนัก เครื่องมืออุปกรณ์กู้ชีพกู้ภัย ไว้พร้อมให้การสนับสนุนจังหวัดในเขตรับผิดชอบทันทีที่มีการร้องขอ

    “หากประชาชนในพื้นที่ใดได้รับความเดือดร้อนจากเหตุอุทกภัย วาตภัย ดินถล่ม และอุบัติภัยต่างๆ สามารถติดต่อขอรับความช่วยเหลือได้ที่ ศูนย์ ปภ.เขต 5 นครราชสีมา และสำนักงาน ปภ.จังหวัดทุกจังหวัด โทรศัพท์สายด่วนนิรภัย 1784 ตลอด 24ชั่วโมง” นายวัลลภกล่าว

    ทางด้านโครงการชลประทานนครราชสีมารายงานสถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลางของจังหวัดนครราชสีมาทั้งหมด พบว่าล่าสุดวันนี้ (3 ต.ค.) มีปริมาณน้ำรวม 656.5 ล้านลูกบาศก์เมตร (ลบ.ม.) หรือ 56.36% ของความจุที่ระดับเก็บกัก 1,164.86 ล้าน ลบ.ม.

    แยกเป็นอ่างเก็บกักน้ำขนาดใหญ่จำนวน 5 โครงการ มีปริมาณน้ำในอ่างฯ รวม 527.31 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็น 56.21% ของความจุที่ระดับเก็บกักรวม 938.12 ล้าน ลบ.ม. โดยอ่างเก็บน้ำลำพระเพลิง อ.ปักธงชัย ที่เกิดปัญหาน้ำท่วมครั้งใหญ่เมื่อปี 2553 มีปริมาณน้ำ 102.19 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็น 93% ของความจุ 109 ล้าน ลบ.ม. ส่วนเขื่อนลำตะคอง อ.สีคิ้ว ซึ่งเป็นแหล่งน้ำสำคัญที่ไหลผ่านตัวเมืองนครราชสีมาและอีกหลายอำเภอมีปริมาณน้ำรวม 143.89 ล้านลบ.ม. คิดเป็น 45.75% ของความจุที่ระดับกักเก็บ 314 ล้าน ลบ.ม.

    สำหรับอ่างเก็บน้ำขนาดกลางจำนวน 22 โครงการ มีปริมาณน้ำในอ่างฯ รวม 129.21 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็น 56.99% ของความจุที่ระดับเก็บกักรวม 226.74 ล้าน ลบ.ม.

    หม่อมหลวงอนุมาศ ทองแถม ผู้อำนวยการสำนักชลประทานที่ 8 เปิดเผยว่า สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำของ จ.นครราชสีมาโดยเฉลี่ยมีปริมาณน้ำประมาณ 40-60% ของความจุอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ อย่างเขื่อนลำตะคอง, เขื่อนลำมูลบน ยังสามารถรองรับน้ำได้อีกจำนวนมาก แต่เขื่อนลำพระเพลิง อ.ปักธงชัย มีปริมาณน้ำมากกว่าเขื่อนอื่นๆ รับน้ำได้อีกประมาณ 7 ล้าน ลบ.ม.ก็จะล้นสปิลเวย์ (spillway) หรือทางน้ำล้น เนื่องจากเขื่อนลำพระเพลิงมีพื้นที่รับน้ำมาก แต่อ่างมีความจุน้อยจึงทำให้น้ำเต็มอ่างเร็ว

    แต่อย่างไรก็ตาม คาดว่าอิทธิพลของพายุแกมีจะไม่ส่งผลกระทบมากนัก เมื่อเข้ามาในประเทศไทยคาดว่าจะกลายเป็นหย่อมความกดอากาศเท่านั้น ฉะนั้น คงไม่ทำให้ตกหนาแน่นมากหรือไม่เกิน 100 มม. แต่อาจทำให้น้ำล้นสปิลเวย์แน่นอน คาดว่าน้ำที่ล้นคงไม่เกิน 20-30 ซม. และจะไม่ส่งผลกระทบทำให้เกิดปัญหาน้ำท่วมพื้นที่ใต้อ่าง เพราะปัจจุบันได้มีการเร่งระบายน้ำลงสู่คลองชลประทานวันละ 1.5 ล้าน ลบ.ม. และปริมาณน้ำในแม่น้ำมูลมีน้อย จะส่งผลดีต่อการระบายน้ำที่ทำได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งเจ้าหน้าที่ได้เตรียมความพร้อมในการรับมือไว้แล้วโดยเฉพาะการจัดการจราจรน้ำ เพื่อให้การระบายน้ำลงสู่แม่น้ำมูลทำได้อย่างรวดเร็ว ไม่เกิดผลกระทบต่อราษฎรที่อยู่ใต้เขื่อนแน่นอน

    “สำนักชลประทานที่ 8 ได้จัดตั้งศูนย์ประมวลผลสถานการณ์น้ำขึ้นตั้งแต่วันที่ 15 ก.ย.ที่ผ่านมา เพื่อเฝ้าติดตามสถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำทุกแห่งของ จ.นครราชสีมา ซึ่งจะรายงานผลทุกชั่วโมงและทุกวัน หากพบพื้นที่ใดเสี่ยงต่อการเกิดน้ำท่วมจะแจ้งไปยังศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเพื่อประกาศแจ้งเตือนประชาชนได้อย่างทันท่วงที แต่ขณะนี้ยังไม่มีพื้นที่ใดที่น่าเป็นห่วง ทุกอย่างอยู่ในภาวะปกติ” หม่อมหลวงอนุมาศกล่าว


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    B5 - War Room Falkman


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  9. somsweet

    somsweet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    6,138
    ค่าพลัง:
    +9,874
    กาญจนบุรี พบดินยุบกว้าง 5.7 - ลึก3.5เมตร

    วันพุธที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.2555 17:58น.

    กาญจนบุรี พบดินยุบกว้าง5.7-ลึก3.5เมตร : INN News

    [​IMG]

    ต.ห้วยเขย่ง อ.ทองผาภูมิ กาญจนบุรี พบดินยุบ กว้าง 5.7 เมตร ลึก 3.5 เมตร หลังฝนถล่มต่อเนื่อง 4 วัน

    ที่บริเวณริมถนนสายปิล๊อก - ห้วยเขย่ง บ้านปากลำปิล๊อก หมู่ที่ 2 ต.ห้วยเขย่ง อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี ได้เกิดดินทรุดตัว ชาวบ้านจึงได้แจ้งให้ทาง อ.ทองผาภูมิ เพื่อตรวจสอบ ต่อมา นายสุมิตร เกิดกล่ำ นายอำเภอทองผาภูมิ ได้สั่งการเจ้าหน้าที่ อบต.ห้วยเขย่ง เข้าไปตรวจสอบเบื้องต้น พบว่า พื้นที่ดินยุบตัวเป็นหลุมขนาดใหญ่ กว้าง 5.7 เมตร ความลึก 3.5 เมตร โดยปากหลุมอยู่ห่างจากผิวถนนเพียง 80 เซนติเมตร ซึ่งทางเจ้าหน้าที่ได้นำเชือกกั้นเพื่อป้องกันไม่ให้ชาวบ้านได้เข้าไปใกล้ เพราะอาจจะเกิดอันตรายได้ จากการสอบถามชาวบ้านแจ้งว่า แผ่นดินยุบตัวมาได้ 4 วันแล้ว เนื่องจากฝนตกหนักตลอด วันนี้อากาศเปิด จึงแจ้งให้ทางอำเภอทราบ


    B5 - War Room Falkman
     
  10. somsweet

    somsweet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    6,138
    ค่าพลัง:
    +9,874
    <TABLE style="FILTER: progid:DXImageTransform.Microsoft.Gradient(startColorStr=#C0FFFFCC, endColorStr=#10FFFFFF, gradientType=0)" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="98%"><TBODY><TR><TD style="BORDER-LEFT: gray 1px solid; BORDER-RIGHT: gray 1px solid" width="100%" colSpan=3 align=middle>[SIZE=+1]ประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา
    "พายุ “แกมี” (GAEMI)"
    [/SIZE]

    ฉบับที่ 10 ลงวันที่ 03 ตุลาคม 2555

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-LEFT: gray 1px solid; PADDING-BOTTOM: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-RIGHT: 10px; BORDER-RIGHT: gray 1px solid; PADDING-TOP: 10px" width="100%" colSpan=3 align=left> เมื่อเวลา 16.00 น. วันนี้ (3 ต.ค. 2555) พายุโซนร้อน “แกมี” (GAEMI) บริเวณทะเลจีนใต้ตอนกลาง
    มีศูนย์กลางอยู่ห่างประมาณ 950 กิโลเมตร ทางตะวันออกของเมืองดานัง ประเทศเวียดนาม หรือที่ ละติจูด 15.3 องศาเหนือ และ ลองจิจูด 117.5 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 95 กม./ชม.
    โดยเคลื่อนตัวทางทิศใต้อย่างช้าๆ และยังไม่มีผลกระทบโดยตรงต่อประเทศไทยในระยะนี้

    คาดว่า พายุนี้จะทวีกำลังแรงขึ้น และจะเคลื่อนขึ้นฝั่งตอนกลางของประเทศเวียดนามในช่วงวันที่ 5-6 ตุลาคม 2555 จากนั้นจะเคลื่อนผ่านภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง และภาคกลางของประเทศไทย ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทยจะมีกำลังแรงขึ้น ลักษณะเช่นนี้ทำให้ในช่วงวันที่ 5-8 ตุลาคม 2555 บริเวณประเทศไทยมีฝนหนาแน่นเพิ่มมากขึ้น และมีฝนตกหนักถึงหนักมากในหลายพื้นที่ กับมีลมแรง โดยเริ่มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกก่อน จากนั้นภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง และภาคใต้ฝั่งตะวันตกจะได้ผลกระทบในระยะต่อไป ขอให้ประชาชนระมัดระวังอันตรายจากสภาวะอากาศร้ายในช่วง
    วันเวลาดังกล่าว สำหรับคลื่นลมบริเวณอ่าวไทยตอนบน และทะเลอันดามันจะมีกำลังแรงขึ้น โดยมีคลื่นสูง 2-3 เมตร ขอให้ชาวเรือเพิ่มความระมัดระวังอันตรายในการเดินเรือ และเรือเล็กควรงดออกจากฝั่งไว้ด้วย

    ประกาศ ณ วันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2555 เวลา 16.30 น.

    (ลงชื่อ) สมชาย ใบม่วง
    (นายสมชาย ใบม่วง)
    รองอธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา รักษาราชการแทน อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    [​IMG]

    B5 - War Room Falkman
     
  11. somsweet

    somsweet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    6,138
    ค่าพลัง:
    +9,874
    ทิศทางพายุ"พายุ “แกมี” (GAEMI)" ล่าสุด

    ลม: 65 MPH — Location: 15.0N 117.7E

    Five Day Forecast Map<SCRIPT type=text/javascript> var pwidget_config = { copypaste: false }; </SCRIPT>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3><TBODY><TR></TR></TBODY></TABLE>[​IMG]


    ภาพถ่ายดาวเทียมล่าสุด
    [​IMG]

    B5 - War Room Falkman



     
  12. nattanan39

    nattanan39 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,190
    ค่าพลัง:
    +2,935
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ถนนยุบอีกจุด!! หน้าตลาดรังสิต กว้าง 2 ม. </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>3 ตุลาคม 2555 18:50 น.</TD></TR></TBODY></TABLE>ถนนรังสิต-ปทุมธานี บริเวณตลาดรังสิต เกิดยุบตัวเป็นหลุมกว้างประมาณ 50 เซนติเมตร ด้านล่างเป็นโพรงกว้างประมาณ 1-2 เมตร ผู้สัญจรต้องเพิ่มความระมัดระวัง โดยเจ้าหน้าที่ทำสัญลักษณ์ไว้ และประสานงานกรมทางหลวงตรวจสอบ และซ่อมแซม

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  13. somsweet

    somsweet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    6,138
    ค่าพลัง:
    +9,874
    ถนนกลางเมืองสุโขทัยทรุด

    วันพุธที่ 3 ตุลาคม 2555 เวลา 20:28 น.

    ถนนกลางเมืองสุโขทัยทรุด | เดลินิวส์

    [​IMG]
    <!-- /.images-list-items -->[​IMG]
    <!-- /.images-list-items -->
    <!-- /.images-list-container -->
    <!-- /.images-list-wrapper -->ชาวบ้านตื่นถนนตัวเมืองทรุดตัวหลังน้ำลด หนุ่มควบกระบะดวงซวยตกหลุมพัง นายกเล็ก รุดตรวจสอบ

    <!-- /.content -->
    <!-- /.content --><!-- /#featured-caption -->วันนี้ 3 ต.ค.รตท.เอกชัย ภาควัตร ร้อยเวรฯ สภ.เมือง จังหวัดสุโขทัย รับแจ้ง มีรถปิคอัพตกลงไปในหลุมของถนนที่เกิดการยุบตัว ปากทางเข้าตลาดสดเทศบาลเมืองสุโขทัยธานี จึงรุดไปตรวจสอบ ที่เกิดเหตุ พบรถปิคอัพเชฟโรเล็ตสีขาว ทะเบียน บธ-8826 สุโขทัย ล้อหน้าด้านขวาตกลงไปในหลุ่มขนาดกว้าง70ซม ลึกประมาณครึ่งเมตร โดยมี นายจตุรงค์ จำรัส อายุ 27ปี บ้านเลขที่6/8 ม.3 ต.เกาะตาเลี้ยง อ.ศรีสำโรง เจ้าของรถยืนรอจนท.อยู่ในอาการตื่นตระหนก ให้การว่า ก่อนเกิดเหตุ ตนได้ขับรถมาเก็บเงินค่าผักจากแม่ค้าในตลาด ขณะขับรถกลับ ได้แวะจอดซื้อของบริเวณดังกล่าว ปรากฏว่า ยังไม่ทันได้จอดสนิท รู้สึกว่าที่ล้อหน้าด้านขวาเกิดอาการสั่นอย่างรุงแรง แล้วก็ทรุดตกลงไปในหลุมของถนนที่ยุบตัวทันที ตนตกใจมากรีบเปิดประตูกระโดดออกจากรถ เนื่องจากเกรงว่าจะยุบลงไปทั้งคัน

    ชาวบ้านที่พบเห็น ต่างพูดเป็นเสียงเดียวกันว่าคาดว่าถนนที่ทรุดตัวลงและเป็นเหตุรถยนต์ของชาวบ้านตกลงไปในหลุม น่าจะมาจากน้ำท่วมครั้งที่ผ่านมา เนื่องจากระดับได้ท่วมขังบริเวณดังกล่าวหลายวัน จึงเป็นเหตุให้มีการอ่อนตัวของผิวถนนจึงทรุดตัวลง ประกอบกับได้มีรถยนต์ขับทับไปมาหลายวัน จึงเป็นเหตุผิวถนนอ่อนตัวและเกิดเหตุขึ้นดังกล่าว
    หลังเกิดเหตุ นายพิเชฐ ไทยกล้า นายกเทศมนตรีเมืองสุโขทัยธานี ได้รุดมาตรวจสอบบริเวณที่เกิดเหตุทันที พร้อมนำรถยกของเทศบาล มายกรถคันดังกล่าวขึ้นจากหลุม เบื้องต้น นายพิเชฐ ชี้แจงว่า ถนนสายดังกล่าว ทำการปรับปรุงซ่อมแซมมาได้ประมาณ7-8ปีแล้ว ก่อนหน้าที่ตนจะเข้ามารับตำแหน่ง จึงไม่ทราบรายละเอียดมากนัก แต่เท่าที่ดูจากสภาพภายในหลุมพบว่า มีเศษยางแอสฟัลด์ที่ลอกออกจากผิวถนนเดิมอยู่เต็มไปหมด คาดว่าทางผู้รับเหมาน่าจะนำมาฝังกลบไว้แทนที่จะใช้ทรายบดอัดซึ่งจะแน่นกว่า เพื่อลดต้นทุนการก่อสร้าง หลังจากนี้คงต้องตรวจสอบสภาพถนนสายดังกล่าวทั้งหมด และหากพบว่า มีร่องรอยที่อาจจะเกิดการยุบตัวอีก จะต้องรีบซ่อมแซมทันที.

    B5 - War Room Falkman
     
  14. nattanan39

    nattanan39 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,190
    ค่าพลัง:
    +2,935
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เผย "โนเกีย" อาจต้องขายสำนักงานใหญ่ในฟินแลนด์</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>3 ตุลาคม 2555 16:25 น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=512><TBODY><TR><TD vAlign=top width=512 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> เอเอฟพี - เจ้าหน้าที่อาวุโสของโนเกียเผย บริษัทผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือสัญชาติฟินแลนด์แห่งนี้อาจจะต้องขายสำนักงานใหญ่ที่อยู่ชานกรุงเฮลซิงกิ เพื่อระดมเงินทุนสะสม

    "เรากำลังสำรวจทางเลือกต่างๆ สำหรับทรัพย์สินของเรา นี่รวมถึงการขายสำนักงานใหญ่ของเราด้วย" ทิโม อิฮาโมทิลา ผู้อำนวยการด้านการเงินของโนเกียเผยกับหนังสือพิมพ์เฮลซิงกิน ซาโนมัต

    อย่างไรก็ตาม เขาเสริมว่า "เรายังไม่มีแผนย้ายสำนักงานใหญ่ของเรา"

    การขายอสังหาริมทรัพย์ของบริษัทใดบริษัทหนึ่ง แล้วเช่าทรัพย์สินดังกล่าวต่อจากผู้ซื้อ ถือเป็นยุทธศาสตร์ที่ใช้กันมานาน โดยเฉพาะบริษัทที่ต้องการระดมเงินสด

    โนเกีย อดีตผู้นำด้านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ต้องสูญเสียส่วนแบ่งตลาด เนื่องจากลูกค้าหันไปใช้สมาร์ทโฟน ที่ทำงานโดยระบบปฏิบัติการ iOS ของแอปเปิล หรือแอนดรอยด์ ของกูเกิลแทน

    โนเกียฝากอนาคตไว้กับการใช้ระบบปฏิบัติการโทรศัพท์วินโดวส์ ของไมโครซอฟต์ แต่ยังไม่สามารถครองใจลูกค้าได้มากนัก

    บริษัทผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือแห่งนี้ ซึ่งอยู่ในระหว่างดำเนินการตามแผนปรับโครงสร้างครั้งใหญ่ เผยตัวเลขขาดทุนสุทธิ 1,400 ล้านยูโร ในไตรมาสที่ 2 ของปี แต่ยังมีเงินทุนสะสมมากกว่า 4,000 ล้านยูโร

    ทั้งนี้ โนเกียสร้างสำนักงานใหญ่ "โนเกีย เฮาส์" ในเอสปู ชานกรุงเฮลซิงกิเมื่อปลายทศวรรษที่ 1990 ขณะที่ธุรกิจกำลังขยายตัวอย่างมาก โดยหนังสือพิมพ์อิลตา-ซาโนมัตระบุว่า อาคารดแห่งนี้มีมูลค่าอยู่ระหว่าง 200-300 ล้านยูโร
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. somsweet

    somsweet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    6,138
    ค่าพลัง:
    +9,874
    อาจารย์จุฬาฯ ยันกทม.เสี่ยงน้ำท่วมสูง 30 เซนติเมตร นานนับสัปดาห์ ระยะ 1-2 เดือนนี้

    วันที่ 03 ตุลาคม พ.ศ. 2555 เวลา 21:09:09 น

    [​IMG]

    วันที่ 3 ต.ค. ในการเสวนา "ไขปริศนาสถานการณ์น้ำปี 2555 กับแนวโน้มน้ำท่วมกทม." นายสุจริต คูณธนกุลวงศ์ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงสถานการณ์น้ำท่วมว่า ต้องเฝ้าจับตาปริมาณฝนในช่วงเดือนนี้และเดือนหน้า เนื่องจากปริมาณน้ำฝนมีมากขึ้นขณะที่ในพื้นที่กทม. เป็นจุดหนึ่งที่จะถูกพายุพัดเข้าโดยตรง ทำให้กทม. เสี่ยงถูกน้ำท่วมขัง เนื่องจากไม่สามารถระบายน้ำออกได้ทัน โดยเฉพาะบริเวณคลองสองวา และคลองสามวา หรือฝั่งตะวันออกของกทม. คือ ลาดกระบัง สุวรรณภูมิ ส่วนพื้นที่ฝั่งตะวันตก ได้แก่ บริเวณบางแค และถนนเพชรเกษม เพราะเป็นจุดรับน้ำฝนและเป็นพื้นที่ลุ่มต่ำ

    ขณะเดียวกัน ยังมีน้ำจากอ.บางเลน จ.นครปฐม เข้ามาสมทบ ส่งผลให้ระดับน้ำอาจท่วมขังสูง 30 เซนติเมตร เป็นเวลาประมาณ 2 สัปดาห์ แต่ไม่ท่วมปริมาณมากเท่ากับปี 2554 ทั้งนี้ กทม.อาจต้องเพิ่มเครื่องผลักดันน้ำจากบริเวณด้านเหนือ และคลองรังสิตประยูรศักดิ์ ดันน้ำลงสู่คลองพระองค์เจ้าไชยานุชิตเพียงทางเดียว เนื่องจากใกล้แม่น้ำบางปะกง และเป็นช่องทางลงอ่าวไทย ส่วนด้านตะวันตกนั้นต้องเร่งระบายน้ำลงคลองภาษีเจริญ เพื่อให้สามารถระบายน้ำได้เร็วที่สุด ไม่ให้เกิดผลกระทบกับประชาชนที่อาศัยอยู่หนาแน่นทั้ง 2 เขต

    อาจารย์จุฬาฯ ยันกทม.เสี่ยงน้ำท่วมสูง 30 เซนติเมตร นานนับสัปดาห์ ระยะ 1-2 เดือนนี้ : มติชนออนไลน์=

    B5 - War Room Falkman
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 ตุลาคม 2012
  16. nattanan39

    nattanan39 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,190
    ค่าพลัง:
    +2,935
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>พบรอยเลื่อนจ่อเข้ากรุง สุดเสี่ยง! อาคาร กทม.มีสิทธิ์ถล่มจากธรณีพิโรธมาก 2 ล้านหลัง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>3 ตุลาคม 2555 17:23 น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> อึ้ง! อาคารใน กทม.ไม่ปลอดภัยกว่า 2 ล้านหลัง รับแรงแผ่นดินไหวไม่ได้เลย 1 ล้านหลัง นักวิชาการจี้เสริมโครงสร้างโดยเฉพาะอาคารสาธารณะสำคัญ หลังธรณีวิทยาพบรอยเลื่อนมีพลังที่นครนายก จ่อเข้าใกล้ กทม.มากขึ้น ส่วนการรับมือน้ำท่วม ซัด รบ.ทำสวนทาง อยากระบายน้ำแต่กลับถมคูคลอง ชี้ สร้างเจ้าพระยา 2 เป็นเรื่องเพ้อฝัน แนะทำโครงสร้างระบายน้ำใต้ดิน เป็นกล่องแบบโครงสร้างทางด่วนบางนา-บางปะกง แก้ปัญหาเวนคืนที่ดินประชาชน ด้าน อ.นิเทศศาสตร์ จุฬาฯ สอน รบ.ทำสื่อสารสาธารณะขณะเกิดภัยพิบัติ ต้องตั้งทีมมอนิเตอร์สื่อ สังเกตการรับข้อมูลของประชาชน ชี้ อย่ารอแต่แถลงข่าวอย่างเดียว ส่วนสื่อมวลชนอย่าบีบคั้นน้ำตาแหล่งข่าว และต้องตามประเด็นต่อหลังเกิดภัยพิบัติ เพื่อให้เกิดการแก้ปัญหาและพัฒนา

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400><TBODY><TR><TD vAlign=top width=400 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ศ.ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านวิศวกรรมแผ่นดินไหวและการสั่นสะเทือน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> วันนี้ (3 ต.ค.) เมื่อเวลา 09.00 น.ที่ห้องประชุม 201 อาคารวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศ.ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านวิศวกรรมแผ่นดินไหวและการสั่นสะเทือน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ กล่าวระหว่างการสัมมนาวิชาการ “การบริหารจัดการสาธารณะในภาวะวิกฤตจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ” ว่า ภัยธรรมชาตินำมาซึ่งความสูญเสีย แต่ขณะเดียวกัน ก็นำมาซึ่งบทเรียนอันล้ำค่า ก่อให้เกิดการวิจัยและเรียนรู้การแก้ปัญหาในอนาคต ซึ่งการจะแก้ปัญหาได้นั้น จะต้องรู้ต้นตอของภัยธรรมชาติเสียก่อน โดยสาเหตุสำคัญนั้นส่วนหนึ่งมาจากมนุษย์ อาทิ เหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศไทยที่เกิดขึ้นถี่กว่าในอดีต เป็นเพราะมีการขยายตัวเมืองเข้าไปใกล้รอยเลื่อนมากขึ้น การทำลายทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะรถยนต์ที่ก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก สูญเสียพลังงานมากขึ้น การปล่อยน้ำเสียของโรงงานอุตสาหกรรม และบ้านเรือนลงสู่แม่น้ำ รวมไปถึงการบุกรุกแม่น้ำและชายหาด โดยการก่อสร้างขวางทางน้ำ เป็นต้น

    ศ.ปณิธาน กล่าวอีกว่า ส่วนสิ่งที่น่ากังวล คือ การเปลี่ยนแปลงของโลกที่เราไม่ทราบจนอาจนำมาซึ่งภัยพิบัติ อย่างกรณีภูเขาไฟระเบิดใต้ธารน้ำแข็งเมื่อปีที่แล้วนั้น นักวิทยาศาสตร์โลกไม่ได้มีการออกมาเตือนใดๆ ทั้งสิ้น ดังนั้น การที่ออกมาระบุว่าระดับน้ำทะเลจะเพิ่มขึ้นสูงปีละเท่าใดๆ นั้น ถือว่าผิดทั้งหมด เนื่องจากไม่มีการคำนึงถึงเหตุการณ์ภูเขาไฟระเบิดใต้ธารน้ำแข็งมาก่อน

    ศ.ปณิธาน กล่าวต่อไปว่า สำหรับการรับมือภัยพิบัติทางธรรมชาตินั้น ต้องอาศัยกรอบการดำเนินงานเฮียวโงะ (Hyogo) ซึ่งเกิดขึ้นจากการประชุมการจัดการภัยพิบัติเมื่อปี 2548 ภายหลังครบรอบ 10 ปี การเกิดเหตุแผ่นดินไหวครั้งใหญ่เมื่อ 17 ม.ค.2538 ที่เมืองโกเบ จังหวัดเฮียวโงะ ประเทศญี่ปุ่น จนเกิดความสูญเสียเป็นจำนวนมาก ซึ่งกรอบการดำเนินงานเฮียวโงะนั้น จะเน้นในเรื่องของการปฏิบัติและการป้องกัน โดยต้องมีการเสริมสร้างความแข็งแรงของโครงสร้างอาคารต่างๆ ทั้งบ้าน อาคารโครงสร้างพื้นฐาน อาคารสาธารณะที่สำคัญ อาทิ โรงพยาบาล โรงเรียน เป็นต้น เพื่อให้รองรับการเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวได้ การสร้างอาคารใหม่จะต้องถูกต้องตามหลักการรองรับแผ่นดินไหวด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ จะต้องมีการเสริมสมรรถภาพขีดความสามารถทรัพยากรมนุษย์ และรัฐบาลจะต้องมีนโยบายที่ถูกต้องในการรับมือกับภัยพิบัติ ซึ่งถือเป็นเรื่องที่สำคัญมาก

    ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเลย คือ ประเทศเฮติ ที่รัฐบาลไม่ได้ให้ความสำคัญกับการรับมือภัยพิบัติทางธรรมชาติ ทั้งที่มีการเกิดเหตุแผ่นดินไหวบ่อยครั้ง จนเมื่อประมาณปี 2553 ได้เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 7 ริกเตอร์ขึ้น แม้แต่ทำเนียบประธานาธิบดียังพังทลาย ตึกบัญชาการต่างๆ ก็พัง ทำให้เกิดความโกลาหลขึ้นในประเทศ ซึ่งตรงนี้ยูเอ็นได้มีการณรงค์ One Million Safe โดยโรงพยาบาลต้องปลอดภัยจากภัยพิบัติ มีระบบสนับสนุนต่างๆ อาทิ ไฟฟ้าฉุกเฉิน และบุคลากรต้องได้รับการฝึกฝน สามารถจัดการกับภาวะฉุกเฉินได้ เป็นต้น” ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านวิศวกรรมฯ กล่าว

    ศ.ปณิธาน กล่าวด้วยว่า หลักการสำคัญอีกประการในการจัดการและรับมือกับภัยพิบัตินั้น คือ ระบบรับมือ “Resilience” ซึ่งเป็นความสามารถของระบบชุมชนหรือสังคม ที่เผชิญภับพิบัติทางธรรมชาติแล้วสามารถต้านทานได้ มีการฟื้นตัวจากผลกระทบได้ในเวลาที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังต้องอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กลับคืนสู่สภาพเดิมด้วย ส่วนมาตรการบรรเทาภัยพิบัตินั้น ที่สำคัญมีอยู่ 5 มาตรการด้วยกันคือ 1.การเตรียมพร้อมด้านอาคารและโครงสร้างพื้นฐาน 2.การเตรียมพร้อมระบบเพื่อการบรรเทาภัย เช่น ระบบคมนาคมฉุกเฉิน 3.มาตรการด้านกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย 4.มาตรการด้าน Capacity Building และนวัตกรรมการแก้ปัญหา และ 5.มาตรการด้าน Emergency Response

    ศ.ปณิธาน กล่าวว่า ในเรื่องการเตรียมพร้อมด้านอาคารและโครงสร้างพื้นฐานนั้น สำหรับในประเทศไทยมีการออกกฎหมายให้มีการออกแบบอาคารให้สามารถรองรับการเกิดแผ่นดินไหวขึ้นเมื่อปี 2550 แม้ก่อนหน้าจะไม่มีการออกแบบให้รองรับการเกิดแผ่นดินไหว แต่เชื่อว่าสามารถรองรับได้ในระดับหนึ่ง โดยต้องมีการพิจารณาเสริมความแข็งแรงของอาคารที่ไม่ปลอดภัยเหล่านั้นให้ปลอดภัย

    ใน กทม.มีอาคารประมาณ 2 ล้านหลัง ที่ไม่ปลอดภัยต่อการเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว ในจำนวนนี้มีประมาณ 1 ล้านหลัง ที่ไม่สามารถรองรับการเกิดแผ่นดินไหวได้เลย ดังนั้น จำนวนอาคารที่มีมากเหล่านี้จำเป็นที่จะต้องเลือกปรับปรุงเสริมความแข็งแรง โดยเลือกอาคารสาธารณะที่สำคัญ อาคารโครงสร้างพื้นฐาน ทางด่วน สะพาน โรงไฟฟ้า ประปา สถานีดับเพลิง หรือโรงพยาบาลก่อน เพราะขณะนี้ทราบจากสำนักธรณีวิทยาว่า มีรอยเลื่อนมีพลังเข้าใกล้ กทม.มากขึ้น โดยอยู่ที่ จ.นครนายก แต่จะมีความรุนแรงเท่าไรนั้นไม่สามารถคาดการณ์ได้” ศ.ปณิธาน กล่าว

    ศ.ปณิธาน กล่าวเพิ่มอีกว่า ภัยธรรมชาติเป็นเรื่องไม่แน่นอน เนื่องจากมีตัวแปรมากมาย สิ่งสำคัญคือ การเตรียมพร้อมด้านการบรรเทาภัย อย่างกรณีน้ำท่วม รัฐบาลใช้เงินจำนวนมากในการศึกษาน้ำท่วมเป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 20 ปี มีการเสนอมาตรการสำคัญในการแก้ปัญหา หนึ่งในนั้นคือการขุดคลองทำแม่น้ำเจ้าพระยา 2 เนื่องจากระบบระบายน้ำธรรมชาติไม่สามารถรับน้ำขณะเกิดพายุมากๆ ได้ ต้องมีระบบระบายน้ำเพิ่มเติม แต่สุดท้ายไม่ได้ทำ และทำในทิศทางตรงกันข้ามคือการถมคูคลองต่างๆไปจนหมด ซึ่งการจะมาแก้ไขด้วยงบประมาณกว่า 3 แสนล้านบาทไม่แน่ใจว่าจะสามารถทำได้

    เลิกฝันได้เลยกับการสร้างแม่น้ำเจ้าพระยา 2 มันเป็นไปไม่ได้ เพราะต้องมีการเวนคืนที่ดินมาก ทำอย่างไรระบบระบายน้ำก็ไม่พอ เพราะคูคลองต่างๆถูกถมไปนานแล้ว ผมเคยเสนอวิธีการแก้ปัญหา แต่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญด้านน้ำ จึงไม่มีใครฟัง ในฐานะที่ผมเป็นวิศวกรโครงสร้าง จึงนึกถึงการแก้ปัญหาด้วยการนำโครงสร้างทางด่วนที่มีลักษณะเป็นกล่องอย่างช่วง บางนา-บางปะกง เอามาวางให้ต่ำกว่าระดับพื้นดิน เพื่อใช้ระบายน้ำส่วนด้านบนก็ถมดิน ชาวนาก็สามารถทำไรทำนาต่อไปได้โดยไม่ต้องเวนคืนที่ดิน เท่ากับว่าเรามีคลองระบายอยู่ข้างล่าง ขนาดไม่ต้องใหญ่แต่ทำเป็นร่างแหอยู่ข้างล่างไปทั่วประเทศได้” ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านวิศวกรรมฯ กล่าว

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=right><TBODY><TR><TD width=5>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=400><TBODY><TR><TD vAlign=top width=400 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>น.ส.สุภาพร โพธิ์แก้ว อาจารย์คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> น.ส.สุภาพร โพธิ์แก้ว อาจารย์คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ กล่าวว่า การสื่อสารสาธารณะในช่วงของการเกิดภับพิบัตินั้น รัฐบาลต้องมีการตั้งศูนย์สารนิเทศ ที่ไม่ใช่รอเพียงการแถลงข่าวอย่างเดียว แต่ต้องเป็นศูนย์ที่พร้อมให้ข้อมูลตลอดเวลา เมื่อผู้สื่อข่าวมีข้อสงสัยสามารถถามแล้วได้คำตอบที่ต้องการ แต่จากเหตุการณ์น้ำท่วมเมื่อปีที่ผ่านมา รัฐบาลรอการแถลงข่าวเพียงอย่างเดียว มองสื่อไว้เพียงรองรับการแถลงข่าวเท่านั้น สิ่งที่รัฐบาลควรทำคือการตั้งทีมมอนิเตอร์สื่อ ประเมินสถานการณ์แต่ละวันว่า ประชาชนกำลังเสพข้อมูลอะไร สาธารณชนกำลังสับสนในข้อมูลเรื่องอะไรหรือไม่ หรือมีข่าวลืออะไรเกิดขึ้น เพื่อที่จะสามารถชี้แจงให้ประชาชนเข้าใจได้

    น.ส.สุภาพร กล่าวอีกว่า ในส่วนของสื่อมวลชนนั้น อยากฝากให้คำนึงถึงความเปราะบางทางจิตใจของผู้ที่ได้รับผลกระทบให้มาก เนื่องจากเขาเป็นผู้สูญเสียไม่ควรไปตอกย้ำคั้นถามเพื่อให้ข่าวดูสะเทือนอารมณ์ยิ่งขึ้น เช่น การพยายามซักหาลูกหลานที่หายไปกับสึนามิเจอหรือยัง เป็นต้น ไม่ควรกระทำ เพราะการออกข่าวให้เห็นน้ำตาหรือความฟูมฟายไม่ใช่เรื่องที่ดี อยากให้ใส่หัวใจและมองในมิตินี้ด้วย จึงจะไม่เป็นการเพิ่มผลกระทบโดยไม่รู้ตัว

    น.ส.สุภาพร กล่าวต่อไปว่า นอกจากนี้ เรื่องของการรายงานข่าวภัยพิบัตินั้น ในช่วงก่อนเกิดภัยพิบัติไม่จำเป็นที่จะต้องประกาศให้ดูเป็นภาวะวิกฤติไปก่อน เพราะจะทำให้เกิดความรู้สึกแฝงอยู่ในสังคม แต่ควรรายงานให้สังคมรับรู้ความเสี่ยง มากกว่ารู้สึกถึงความวิกฤติ ขณะที่ช่วงหลังเกิดภัยพิบัติไปแล้ว เนื่องจากข่าวไม่มีความสด หรืออาจเกิดปรากฏการณ์ใหม่ขึ้นมาแทน ทำให้ไม่มีการรายงานข่าวหลังภัยพิบัติมากนัก แต่การรายงานข่าวหลังภัยพิบัติถือเป็นส่วนสำคัญ เช่น เวทีถอดบทเรียนน้ำท่วม เป็นต้น ที่จะผลักดันให้เกิดการพัฒนาและนำไปสู่การแก้ปัญหามากขึ้น
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  17. nattanan39

    nattanan39 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,190
    ค่าพลัง:
    +2,935
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>พบดินยุบอีกที่ทองผาภูมิ กว้าง 6 เมตร ลึก 4 เมตร </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>3 ตุลาคม 2555 15:15 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center background=/images/linedot_vert.gif width=1 align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD height=1 vAlign=top width=1 align=right>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=top background=/images/linedot_hori.gif align=middle>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=top width=1 align=left>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=12 vAlign=bottom align=left>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top width=160 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=1 vAlign=center width=165 align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD background=/images/linedot_vert3.gif width=4>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=7 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>กาญจนบุรี - พบดินยุบอีกในพื้นที่ตำบลห้วยเขย่ง อำเภอทองผาภูมิ กาญจนบุรี กว้าง 6 เมตร ลึก 4 เมตร อยู่ห่างถนนสายปิล๊อก-ห้วยเขย่ง เพียงประมาณ 1 เมตร

    หลังจากเกิดฝนตกต่อเนื่องหลายวันในหลายพื้นที่ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี ล่าสุด วันนี้ (3 ต.ค.) ได้เกิดดินยุบอีกที่บริเวณริมถนนสายปิล๊อก-ห้วยเขย่ง พื้นที่บ้านปากลำปิล๊อก หมู่ที่ 2 ต.ห้วยเขย่ง อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี โดยเมื่อเวลา 11.30 น. นายทนง ลิมป์ปิยกุล นายช่างโยธา อบต.ห้วยเขย่ง และเจ้าหน้าที่ได้เดินทางลงพื้นที่บริเวณที่เกิดเหตุดินยุบตัวเพื่อตรวจสอบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

    โดยพบว่า พื้นที่ที่ดินยุบตัวเป็นหลุมขนาดใหญ่กว้างเกือบ 6 เมตร ความลึกประมาณ 4 เมตร โดยปากหลุมอยู่ห่างจากผิวถนนสายห้วยเขย่ง-ปิล๊อก หมูที่ 2 บ้านปากลำปิล๊อก ต.ห้วยเขย่ง อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี เพียงประมาณ 1 เมตร ซึ่งทางเจ้าหน้าที่ได้นำเชือก และกรวยยางไปตั้งเตือนให้ผู้ใช้รถใช้ถนนทราบ เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ

    นอกจากนี้ ยังพบว่าที่บริเวณพื้นผิวถนนลาดยางใกล้กับที่เกิดดินยุบ มีรอยร้าวผ่ากลางถนน โดยเจ้าหน้าที่ อบต.ห้วยเขย่ง ได้ทำการประชาสัมพันธ์ไปยังชาวบ้านใกล้เคียงที่เกิดเหตุให้ระมัดระวัง และอย่าเข้าไปใกล้จุดที่ดินยุบตัว ส่วนสภาพโดยรอบในพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรมที่มีการปลูกยางพาราจำนวนมาก

    นายทนง ลิมป์ปิยกุล นายช่างโยธา อบต.ห้วยเขย่ง อ.ทองผาภูมิ กล่าวว่า หลังจาก อบต.ห้วยเขย่งได้รับแจ้งจากชาวบ้านว่า เกิดเหตุดินยุบตัวเป็นหลุมใหญ่จึงลงพื้นที่มาตรวจสอบ โดยชาวบ้านใกล้เคียงเล่าว่า หลุมดังกล่าวยุบตัวเมื่อประมาณวันที่ 28 ก.ย.55 ที่ผ่านมา เนื่องจากในพื้นที่เกิดฝนตกลงมาอย่างหนัก ประกอบกับจุดดังกล่าวจะเป็นทางไหลของน้ำลงสู่แม่น้ำแควน้อย

    “เมื่อประมาณ 4 ปีที่แล้ว เคยเกิดดินทรุดตัวมาแล้ว และเพิ่งมาเกิดซ้ำอีกในปีนี้ จนทำให้ถนนเกิดรอยร้าวผ่าไปบ้านเรือนประชาชนที่ใกล้เคียงด้วย โดยในส่วนนี้ ทาง อบต.ห้วยเขย่ง มาตรวจสอบพื้นที่ และเก็บข้อมูล หลังจากนี้จะทำเรื่องส่งไปยังกรมทรัพยากรธรณีใหญ่ จ.ปทุมธานี ให้ส่งผู้เชี่ยวชาญเข้ามาตรวจสอบความปลอดภัยก่อนว่าจะดำเนินการอย่างไรต่อไป”

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  18. somsweet

    somsweet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    6,138
    ค่าพลัง:
    +9,874
    ระเบิดท่อส่งน้ำมันอินโดฯ ตาย 3

    วันพุธที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.2555 18:51น.

    ระเบิดท่อส่งน้ำมันอินโดฯ ตาย 3 : INN News

    [​IMG]

    เกิดเหตุท่อส่งน้ำมันบนเกาะสุมาตรา ของอินโดนีเซีย ระเบิด เบื้องต้น มีรายงานผู้เสียชีวิตแล้ว 3 คน คาดว่ายอดผู้เสียชีวิตจะเพิ่มขึ้น

    สำนักข่าวต่างประเทศ รายงานว่า ได้เกิดเหตุท่อส่งน้ำมัน ของบริษัทเอลนูซา ในเครือเปอร์ตามินา บนเกาะสุมาตรา ของอินโดนีเซีย ระเบิดทำให้เกิดไฟไหม้ เปลวไฟพวยพุ่งขึ้น จากแหล่งเก็บน้ำมัน เจ้าหน้าที่ดับไฟได้แล้ว หลังจากไหม้อยู่นานหลายชั่วโมง และก็ยังไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุของไฟไหม้ เบื้องต้นมีการยืนยันผู้เสียชีวิตแล้ว 3 ราย บาดเจ็บสาหัสร่วม 10 คน และอาจมีผู้ติดอยู่ในกองเพลิง

    เจ้าหน้าที่ ระบุว่า เหตุระเบิดน่าจะเกิดจากการมีผู้ลอบขโมยน้ำมันจากท่อ เพราะมีหน่วยงานกำกับดูแลด้านน้ำมันและก๊าซของทางการ เคยเตือนว่า มีผู้ลอบขโมยน้ำมันจากท่อส่งบ่อยครั้ง

    B5 - War Room Falkman
     
  19. somsweet

    somsweet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    6,138
    ค่าพลัง:
    +9,874
    ญี่ปุ่น - ภูเขาไฟ Suwanosejima เกิดระเบิดขึ้นเช้านี้ตามเวลาท้องถิ่น พ่นควันเถ้าถ่านสูงถึง 3 กม.

    [​IMG]

    October 3, 2012 JAPAN - Suwanosejima (諏訪之瀬島?) is a volcanic island with a population of about fifty people, located in the Tokara Islands, part of the Ryukyu Islands, Japan. It is 8 km long and is one of the most active volcanoes in Japan. An explosion was reported this morning (around 07 am GMT time) with an ash plume reaching 10,000 (about 3 km) altitude. –Volcano Discovery

    B5 - War Room Falkman
     
  20. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    พบรอยเลื่อนจ่อเข้ากรุง สุดเสี่ยง! อาคาร กทม.มีสิทธิ์ถล่มจากธรณีพิโรธมาก 2 ล้านหลัง

    โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์ 3 ตุลาคม 2555 17:23 น.




    อึ้ง! อาคารใน กทม.ไม่ปลอดภัยกว่า 2 ล้านหลัง รับแรงแผ่นดินไหวไม่ได้เลย 1 ล้านหลัง นักวิชาการจี้เสริมโครงสร้างโดยเฉพาะอาคารสาธารณะสำคัญ หลังธรณีวิทยาพบรอยเลื่อนมีพลังที่นครนายก จ่อเข้าใกล้ กทม.มากขึ้น ส่วนการรับมือน้ำท่วม ซัด รบ.ทำสวนทาง อยากระบายน้ำแต่กลับถมคูคลอง ชี้ สร้างเจ้าพระยา 2 เป็นเรื่องเพ้อฝัน แนะทำโครงสร้างระบายน้ำใต้ดิน เป็นกล่องแบบโครงสร้างทางด่วนบางนา-บางปะกง แก้ปัญหาเวนคืนที่ดินประชาชน ด้าน อ.นิเทศศาสตร์ จุฬาฯ สอน รบ.ทำสื่อสารสาธารณะขณะเกิดภัยพิบัติ ต้องตั้งทีมมอนิเตอร์สื่อ สังเกตการรับข้อมูลของประชาชน ชี้ อย่ารอแต่แถลงข่าวอย่างเดียว ส่วนสื่อมวลชนอย่าบีบคั้นน้ำตาแหล่งข่าว และต้องตามประเด็นต่อหลังเกิดภัยพิบัติ เพื่อให้เกิดการแก้ปัญหาและพัฒนา


    [​IMG]

    ศ.ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านวิศวกรรมแผ่นดินไหวและการสั่นสะเทือน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    วันนี้ (3 ต.ค.) เมื่อเวลา 09.00 น.ที่ห้องประชุม 201 อาคารวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศ.ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านวิศวกรรมแผ่นดินไหวและการสั่นสะเทือน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ กล่าวระหว่างการสัมมนาวิชาการ “การบริหารจัดการสาธารณะในภาวะวิกฤตจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ” ว่า ภัยธรรมชาตินำมาซึ่งความสูญเสีย แต่ขณะเดียวกัน ก็นำมาซึ่งบทเรียนอันล้ำค่า ก่อให้เกิดการวิจัยและเรียนรู้การแก้ปัญหาในอนาคต ซึ่งการจะแก้ปัญหาได้นั้น จะต้องรู้ต้นตอของภัยธรรมชาติเสียก่อน โดยสาเหตุสำคัญนั้นส่วนหนึ่งมาจากมนุษย์ อาทิ เหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศไทยที่เกิดขึ้นถี่กว่าในอดีต เป็นเพราะมีการขยายตัวเมืองเข้าไปใกล้รอยเลื่อนมากขึ้น การทำลายทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะรถยนต์ที่ก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก สูญเสียพลังงานมากขึ้น การปล่อยน้ำเสียของโรงงานอุตสาหกรรม และบ้านเรือนลงสู่แม่น้ำ รวมไปถึงการบุกรุกแม่น้ำและชายหาด โดยการก่อสร้างขวางทางน้ำ เป็นต้น

    ศ.ปณิธาน กล่าวอีกว่า ส่วนสิ่งที่น่ากังวล คือ การเปลี่ยนแปลงของโลกที่เราไม่ทราบจนอาจนำมาซึ่งภัยพิบัติ อย่างกรณีภูเขาไฟระเบิดใต้ธารน้ำแข็งเมื่อปีที่แล้วนั้น นักวิทยาศาสตร์โลกไม่ได้มีการออกมาเตือนใดๆ ทั้งสิ้น ดังนั้น การที่ออกมาระบุว่าระดับน้ำทะเลจะเพิ่มขึ้นสูงปีละเท่าใดๆ นั้น ถือว่าผิดทั้งหมด เนื่องจากไม่มีการคำนึงถึงเหตุการณ์ภูเขาไฟระเบิดใต้ธารน้ำแข็งมาก่อน

    ศ.ปณิธาน กล่าวต่อไปว่า สำหรับการรับมือภัยพิบัติทางธรรมชาตินั้น ต้องอาศัยกรอบการดำเนินงานเฮียวโงะ (Hyogo) ซึ่งเกิดขึ้นจากการประชุมการจัดการภัยพิบัติเมื่อปี 2548 ภายหลังครบรอบ 10 ปี การเกิดเหตุแผ่นดินไหวครั้งใหญ่เมื่อ 17 ม.ค.2538 ที่เมืองโกเบ จังหวัดเฮียวโงะ ประเทศญี่ปุ่น จนเกิดความสูญเสียเป็นจำนวนมาก ซึ่งกรอบการดำเนินงานเฮียวโงะนั้น จะเน้นในเรื่องของการปฏิบัติและการป้องกัน โดยต้องมีการเสริมสร้างความแข็งแรงของโครงสร้างอาคารต่างๆ ทั้งบ้าน อาคารโครงสร้างพื้นฐาน อาคารสาธารณะที่สำคัญ อาทิ โรงพยาบาล โรงเรียน เป็นต้น เพื่อให้รองรับการเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวได้ การสร้างอาคารใหม่จะต้องถูกต้องตามหลักการรองรับแผ่นดินไหวด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ จะต้องมีการเสริมสมรรถภาพขีดความสามารถทรัพยากรมนุษย์ และรัฐบาลจะต้องมีนโยบายที่ถูกต้องในการรับมือกับภัยพิบัติ ซึ่งถือเป็นเรื่องที่สำคัญมาก

    “ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเลย คือ ประเทศเฮติ ที่รัฐบาลไม่ได้ให้ความสำคัญกับการรับมือภัยพิบัติทางธรรมชาติ ทั้งที่มีการเกิดเหตุแผ่นดินไหวบ่อยครั้ง จนเมื่อประมาณปี 2553 ได้เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 7 ริกเตอร์ขึ้น แม้แต่ทำเนียบประธานาธิบดียังพังทลาย ตึกบัญชาการต่างๆ ก็พัง ทำให้เกิดความโกลาหลขึ้นในประเทศ ซึ่งตรงนี้ยูเอ็นได้มีการณรงค์ One Million Safe โดยโรงพยาบาลต้องปลอดภัยจากภัยพิบัติ มีระบบสนับสนุนต่างๆ อาทิ ไฟฟ้าฉุกเฉิน และบุคลากรต้องได้รับการฝึกฝน สามารถจัดการกับภาวะฉุกเฉินได้ เป็นต้น” ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านวิศวกรรมฯ กล่าว

    ศ.ปณิธาน กล่าวด้วยว่า หลักการสำคัญอีกประการในการจัดการและรับมือกับภัยพิบัตินั้น คือ ระบบรับมือ “Resilience” ซึ่งเป็นความสามารถของระบบชุมชนหรือสังคม ที่เผชิญภับพิบัติทางธรรมชาติแล้วสามารถต้านทานได้ มีการฟื้นตัวจากผลกระทบได้ในเวลาที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังต้องอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กลับคืนสู่สภาพเดิมด้วย ส่วนมาตรการบรรเทาภัยพิบัตินั้น ที่สำคัญมีอยู่ 5 มาตรการด้วยกันคือ 1.การเตรียมพร้อมด้านอาคารและโครงสร้างพื้นฐาน 2.การเตรียมพร้อมระบบเพื่อการบรรเทาภัย เช่น ระบบคมนาคมฉุกเฉิน 3.มาตรการด้านกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย 4.มาตรการด้าน Capacity Building และนวัตกรรมการแก้ปัญหา และ 5.มาตรการด้าน Emergency Response

    ศ.ปณิธาน กล่าวว่า ในเรื่องการเตรียมพร้อมด้านอาคารและโครงสร้างพื้นฐานนั้น สำหรับในประเทศไทยมีการออกกฎหมายให้มีการออกแบบอาคารให้สามารถรองรับการเกิดแผ่นดินไหวขึ้นเมื่อปี 2550 แม้ก่อนหน้าจะไม่มีการออกแบบให้รองรับการเกิดแผ่นดินไหว แต่เชื่อว่าสามารถรองรับได้ในระดับหนึ่ง โดยต้องมีการพิจารณาเสริมความแข็งแรงของอาคารที่ไม่ปลอดภัยเหล่านั้นให้ปลอดภัย

    “ใน กทม.มีอาคารประมาณ 2 ล้านหลัง ที่ไม่ปลอดภัยต่อการเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว ในจำนวนนี้มีประมาณ 1 ล้านหลัง ที่ไม่สามารถรองรับการเกิดแผ่นดินไหวได้เลย ดังนั้น จำนวนอาคารที่มีมากเหล่านี้จำเป็นที่จะต้องเลือกปรับปรุงเสริมความแข็งแรง โดยเลือกอาคารสาธารณะที่สำคัญ อาคารโครงสร้างพื้นฐาน ทางด่วน สะพาน โรงไฟฟ้า ประปา สถานีดับเพลิง หรือโรงพยาบาลก่อน เพราะขณะนี้ทราบจากสำนักธรณีวิทยาว่า มีรอยเลื่อนมีพลังเข้าใกล้ กทม.มากขึ้น โดยอยู่ที่ จ.นครนายก แต่จะมีความรุนแรงเท่าไรนั้นไม่สามารถคาดการณ์ได้” ศ.ปณิธาน กล่าว

    ศ.ปณิธาน กล่าวเพิ่มอีกว่า ภัยธรรมชาติเป็นเรื่องไม่แน่นอน เนื่องจากมีตัวแปรมากมาย สิ่งสำคัญคือ การเตรียมพร้อมด้านการบรรเทาภัย อย่างกรณีน้ำท่วม รัฐบาลใช้เงินจำนวนมากในการศึกษาน้ำท่วมเป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 20 ปี มีการเสนอมาตรการสำคัญในการแก้ปัญหา หนึ่งในนั้นคือการขุดคลองทำแม่น้ำเจ้าพระยา 2 เนื่องจากระบบระบายน้ำธรรมชาติไม่สามารถรับน้ำขณะเกิดพายุมากๆ ได้ ต้องมีระบบระบายน้ำเพิ่มเติม แต่สุดท้ายไม่ได้ทำ และทำในทิศทางตรงกันข้ามคือการถมคูคลองต่างๆไปจนหมด ซึ่งการจะมาแก้ไขด้วยงบประมาณกว่า 3 แสนล้านบาทไม่แน่ใจว่าจะสามารถทำได้

    “เลิกฝันได้เลยกับการสร้างแม่น้ำเจ้าพระยา 2 มันเป็นไปไม่ได้ เพราะต้องมีการเวนคืนที่ดินมาก ทำอย่างไรระบบระบายน้ำก็ไม่พอ เพราะคูคลองต่างๆถูกถมไปนานแล้ว ผมเคยเสนอวิธีการแก้ปัญหา แต่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญด้านน้ำ จึงไม่มีใครฟัง ในฐานะที่ผมเป็นวิศวกรโครงสร้าง จึงนึกถึงการแก้ปัญหาด้วยการนำโครงสร้างทางด่วนที่มีลักษณะเป็นกล่องอย่างช่วง บางนา-บางปะกง เอามาวางให้ต่ำกว่าระดับพื้นดิน เพื่อใช้ระบายน้ำส่วนด้านบนก็ถมดิน ชาวนาก็สามารถทำไรทำนาต่อไปได้โดยไม่ต้องเวนคืนที่ดิน เท่ากับว่าเรามีคลองระบายอยู่ข้างล่าง ขนาดไม่ต้องใหญ่แต่ทำเป็นร่างแหอยู่ข้างล่างไปทั่วประเทศได้” ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านวิศวกรรมฯ กล่าว


    [​IMG]
    น.ส.สุภาพร โพธิ์แก้ว อาจารย์คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    น.ส.สุภาพร โพธิ์แก้ว อาจารย์คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ กล่าวว่า การสื่อสารสาธารณะในช่วงของการเกิดภับพิบัตินั้น รัฐบาลต้องมีการตั้งศูนย์สารนิเทศ ที่ไม่ใช่รอเพียงการแถลงข่าวอย่างเดียว แต่ต้องเป็นศูนย์ที่พร้อมให้ข้อมูลตลอดเวลา เมื่อผู้สื่อข่าวมีข้อสงสัยสามารถถามแล้วได้คำตอบที่ต้องการ แต่จากเหตุการณ์น้ำท่วมเมื่อปีที่ผ่านมา รัฐบาลรอการแถลงข่าวเพียงอย่างเดียว มองสื่อไว้เพียงรองรับการแถลงข่าวเท่านั้น สิ่งที่รัฐบาลควรทำคือการตั้งทีมมอนิเตอร์สื่อ ประเมินสถานการณ์แต่ละวันว่า ประชาชนกำลังเสพข้อมูลอะไร สาธารณชนกำลังสับสนในข้อมูลเรื่องอะไรหรือไม่ หรือมีข่าวลืออะไรเกิดขึ้น เพื่อที่จะสามารถชี้แจงให้ประชาชนเข้าใจได้

    น.ส.สุภาพร กล่าวอีกว่า ในส่วนของสื่อมวลชนนั้น อยากฝากให้คำนึงถึงความเปราะบางทางจิตใจของผู้ที่ได้รับผลกระทบให้มาก เนื่องจากเขาเป็นผู้สูญเสียไม่ควรไปตอกย้ำคั้นถามเพื่อให้ข่าวดูสะเทือนอารมณ์ยิ่งขึ้น เช่น การพยายามซักหาลูกหลานที่หายไปกับสึนามิเจอหรือยัง เป็นต้น ไม่ควรกระทำ เพราะการออกข่าวให้เห็นน้ำตาหรือความฟูมฟายไม่ใช่เรื่องที่ดี อยากให้ใส่หัวใจและมองในมิตินี้ด้วย จึงจะไม่เป็นการเพิ่มผลกระทบโดยไม่รู้ตัว

    น.ส.สุภาพร กล่าวต่อไปว่า นอกจากนี้ เรื่องของการรายงานข่าวภัยพิบัตินั้น ในช่วงก่อนเกิดภัยพิบัติไม่จำเป็นที่จะต้องประกาศให้ดูเป็นภาวะวิกฤติไปก่อน เพราะจะทำให้เกิดความรู้สึกแฝงอยู่ในสังคม แต่ควรรายงานให้สังคมรับรู้ความเสี่ยง มากกว่ารู้สึกถึงความวิกฤติ ขณะที่ช่วงหลังเกิดภัยพิบัติไปแล้ว เนื่องจากข่าวไม่มีความสด หรืออาจเกิดปรากฏการณ์ใหม่ขึ้นมาแทน ทำให้ไม่มีการรายงานข่าวหลังภัยพิบัติมากนัก แต่การรายงานข่าวหลังภัยพิบัติถือเป็นส่วนสำคัญ เช่น เวทีถอดบทเรียนน้ำท่วม เป็นต้น ที่จะผลักดันให้เกิดการพัฒนาและนำไปสู่การแก้ปัญหามากขึ้น


    Quality of Life - Manager Online - พบรอยเลื่อนจ่อเข้ากรุง สุดเสี่ยง! อาคาร กทม.มีสิทธิ์ถล่มจากธรณีพิโรธมาก 2 ล้านหลัง

    .
     

แชร์หน้านี้

Loading...