การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย HONGTAY, 10 เมษายน 2007.

  1. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    นักวิจัยเตือนภัยภาวะโลกร้อน หนุนส่งเชื้อโรคแพร่กระจายไปทั่ว <table align="center" border="0" cellpadding="3" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr bgcolor="#ffffcc"><td valign="center"> </td></tr> <tr><td align="center" valign="top"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="95%"><tbody><tr><td valign="top"> <table align="center" bgcolor="#f5f5f5" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td>[​IMG]</td></tr><tr><td align="center">
    </td></tr></tbody></table>
    </td></tr></tbody></table></td></tr><tr><td align="center" valign="top"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="95%"><tbody><tr><td valign="top"> การประชุมของผู้ เชี่ยวชาญทางการแพทย์ ระดับโลกกล่าวเตือนว่า ภาวะโลกร้อนจะนำไปสู่การเพิ่มขึ้นของโรคติดเชื้อทั่วโลก เนื่องจากเชื้อโรคไวรัสต่างๆ เจริญเติบโตและแพร่กระจายได้เป็นอย่างดี

    นักวิจัยที่เข้าร่วมประชุมสมาคมจุลชีววิทยาอเมริกัน กล่าวว่า ปัญหาดังกล่าวมีประจักษ์พยานเกิดขึ้นแล้ว และเป็นปัญหาที่เฉียบพลันในช่วงแค่หนึ่งทศวรรษที่ผ่านมา

    แอนโธนี แมคไมเคิล หัวหน้านักวิทยาศาสตร์

    ทำการศึกษาเรื่อง “ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงบรรยากาศต่อสุขภาพมนุษย์” กล่าวว่า หากเป็นเมื่อหลายปีก่อนเราอาจจะไม่พูดคุยกันในหัวข้อนี้ แต่การที่บรรยากาศเปลี่ยนแปลงอันเกิดจากน้ำมือของมนุษย์ ค่อนข้างเร็วกว่าที่คาดคิดไว้ ทำให้มีโรคที่แพร่กระจายไปได้เร็วขึ้น

    ผู้เชี่ยวชาญยกตัวอย่างเช่น เชื้อไวรัสเวสต์ไนล์ ก็เป็นโรคที่แพร่ระบาดออกไปได้เพราะภาวะโลกร้อนมีส่วนช่วย

    จากดั้งเดิมเป็นโรคที่พบในแอฟริกา ทุกวันนี้ก็พบได้ทั่วไปในแคนาดาและสหรัฐอเมริกา เพราะว่าอุณหภูมิของทวีปอเมริกาเหนือเพิ่มขึ้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 เปิดทางให้ยุงที่ไม่ใช่ยุงท้องถิ่นแพร่เชื้อที่นั่นได้

    แมคไมเคิลกล่าวว่า การที่จะป้องกันภาวะโลกร้อนจนนำไปสู่วิกฤติทางสุขภาพนั้น นักวิจัยจะต้องเริ่มคิดเรื่องนี้อย่างมีความเกี่ยวโยงสัมพันธ์ กันระหว่างเรื่องของบรรยากาศกับโรคติดเชื้อ อย่างไรก็ตาม ในบางพื้นที่ภาวะโลกร้อนส่งผลต่อการติดเชื้อโรคน้อยลง เช่น แอฟริกาตะวันตกที่อัตราการติดเชื้อมาลาเรียลดลง เนื่องจากพื้นที่แห้งแล้งและร้อนเกินไปสำหรับยุงจะเพาะพันธุ์.

    </td></tr></tbody></table></td></tr> <tr><td><center>ขอขอบคุณเนื้อหาข่าว คุณภาพดี โดย: หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
    [​IMG]</center></td></tr></tbody></table>
     
  2. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • เลขาธิการสหประชาชาติชี้ว่า การประชุมเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงบรรยากาศโลก ถือเป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญ ในการต่อสู้กับปัญหาโลกร้อน[​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์ [ 25-09-2550 | 12:18 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> นายบัน กี-มุน เลขาธิการสหประชาชาติ กล่าวหลังการประชุม ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง บรรยากาศโลกเมื่อวานนี้ว่า การประชุมในครั้งนี้ แสดงให้เห็นถึงความตั้งใจ ของบรรดาผู้นำประเทศต่างๆ ในการที่จะแก้ไขปัญหาโลกร้อน โดยผู้นำแต่ละชาติ ต่างยอมรับว่า การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศได้เกิดขึ้นแล้ว และส่วนใหญ่ ล้วนเป็นฝีมือของมนุษย์ ซึ่งแม้จะยังไม่มีการตกลงใดๆ แต่ทุกคนก็มุ่งที่จะผลักดัน ให้ปัญหานี้เข้าสู่วาระการเมือง นอกจากนี้การประชุมดังกล่าว ซึ่งมีผู้นำประเทศต่างๆ เข้าร่วมประชุมกว่า 80 ชาติ ยังถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของการต่อสู้กับปัญหาโลกร้อน เนื่องจากเป็นพันธะสัญญาที่นานาประเทศ จะให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหานี้ โดยผู้นำประเทศต่างๆ จะประชุมกันอีกครั้งที่เกาะบาหลี ของอินโดนีเซียในระหว่างวันที่ 3-14 ธันวาคมนี้ เพื่อหาข้อตกลงใหม่เกี่ยวกับปัญหาโลกร้อน มารองรับ หลังสนธิสัญญาเกียวโตจะหมดอายุลงในอีก 5 ปีข้างหน้า
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  3. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ปฐมบทแห่งหายนะ ภาวะโลกร้อน สันติรักษ์ เศวตอาชา เขียน
    จากอุบัติการณ์ของโลก ที่พิมพ์ลงนิตยสารต่วย'ตูนพิเศษ ฉบับที่ ๓๙๐ เดือนสิงหาคม ๒๕๕๐
    ลองไปหาซื้อมาอ่านได้นะครับ
    มาว่าเรื่องโลกร้อนกันต่อ
    ลกของเราเป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 3ในระบบสุริยจักรวาล เป็นแหล่งที่มีสิ่งมีชีวิตจำนวนมากได้ถือกำเนิดขึ้นมาแต่ขณะนี้โลกกำลังเจอกับ
    เหตุการณ์หายนะอันเกิดจากน้ำมือของสัตว์โลกชนิดหนึ่ง คือ มนุษย์ที่อาศัยอยู่
    ความหายนะดังกล่าวที่เกิดขึ้นมาได้แก่ "ภาวะรกโลก (เอ้ยโลกร้อน)"
    อาจจะเห็นว่าเป็นเรื่องเก่าที่ทราบกันแล้ว แต่เรื่องนี้เป็นเรื่องที่สำคัญมากและเป็นปัจจุบันเสมอครับ โดยเฉพาะช่วงนี้ปรากฏผลออกมาชัดเจนมากและเป็นที่ตื่นตัวของสังคมโลก ก่อนอื่นมาดูปรากฏการณ์ที่ทำให้โลกร้อนก่อนนะครับ นั่นคือ "ปรากฏการณ์เรือนกระจก ( Greenhouse effect)" โดยนายจิม แฮนเสน หัวหน้าฝ่ายตรวจสอบภูมิอากาศ สถาบันศึกษาค้นคว้าอวกาศก็อดดาร์ดขององค์การนาซ่าได้ประกาศเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๓๑ ต่อหน้าที่ประชุมคณะกรรมาธิการพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติของสภาสูงแห่งสหรัฐอเมริกา ถึงการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกจากการที่นักวิทยาศาสตร์ได้สังเกตุการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเล รวมทั้งเหตุการณ์ธรรมชาติที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนเลย ดังเช่นที่สหรัฐอเมริกาพื้นที่ครึ่งประเทศตั้งแต่รัฐโอไฮโอถึงมอนตานาและจากเท็กซัสถึงนอร์ทดาโกตา ประสบภัยแล้งอย่างหนักหน่วงที่สุด ระดับน้ำในแม่น้ำมิสซิสซิปปีต่ำกว่าปกติถึง ๑๐ เมตร
    นอกจากนี้ นายริชาร์ด แกมมอน แห่งห้องทดลองสิ่งแวดล้อมทางทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งตั้งอยู่ที่เมืองซีแอตเทิล ในรัฐวอชิงตัน กล่าวว่า โลกในทศวรรษที่ ๑๙๘๐ (พ.ศ.๒๕๒๓) มีอุณภูมิเฉลี่ยสูงกว่าเมื่อทศวรรษที่ ๑๘๘๐ (พ.ศ.๒๔๒๓) หรือเมื่อ ๑๐๐ ปีก่อนถึงเกือบ ๑ องศาเซนติเกรด ฟังดูเหมือนไม่มากอะไร งั้นมาต่อกันที่ว่าความแตกต่างระหว่างอุณภูมิเฉลี่ยในยุคน้ำแข็งที่ผ่านมา ต่ำกว่าอุณภูมิในปัจจุบันเพียง ๕ องศาเซนติเกรดเท่านั้น คิดดูสิครับ อุณภูมิต่ำกว่าแค่ ๕ องศาเซนติเกรดจากปัจจุบัน เกิดยุคน้ำแข็งแล้ว ถ้าอุณภูมิสูงถึง ๕ องศาเซนติเกรดล่ะ อะไรจะเกิดขึ้นครับ
     
  4. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    โลกร้อน - มัชฌิมบทแห่งหายนะ มูลเหตุและผลกระทบ ( เขียนโดยคุณ สันติรักษ์ เศวตอาชา ลงในนิตยสารต่วย'ตูนพิเศษ ฉบับเดือนกันยายน ๕๐)
    ราวนี้เราจะมาทำความเข้าใจมูลเหตุเบื้องต้นของภาวะโลกร้อนกันนะครับ ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกี่ยวกับภาวะโลกร้อนนั้น ถ้ามองกันดี ๆ ก็น่าจะทราบว่ามันมีเหตุมาจากการกระทำของมนุษย์ทั้งสิ้น และตัวการที่ทำให้เกิดเหตุการณ์ทางธรรมชาติที่ร้าย ๆ ก็น่าจะมาจากก๊าซเรือนกระจก โดยเฉพาะตัวการสำคัญก็คือ CO<sub>2</sub> ( คาร์บอนไดออกไซด์ ) หนึ่งในหลาย ๆ ตัวร้ายที่น่ากลัวนอกจากสารซีเอฟซี ( CFC ) ที่ได้นำเสนอไปแล้ว
    ภาวะโลกร้อน หรือ Global warming ในปัจจุบันมีหน่วยงานหนึ่งที่สำคัญก็คือ คณะกรรมการระหว่างประเทศ ว่าด้วยสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงแห่งสหประชาชาติ ( IPCC - ไอพีซีซี ) ทำการศึกษาและเปิดเผยรายงานปัญหาโลกร้อน โดยระบุว่ากิจกรรมของมนุษย์กำลังทำให้โลกร้อนขึ้นเรื่อย ๆ จากการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศ และคาดว่าอุณหภูมิโลกจะเพิ่มขึ้นระหว่าง ๑.๘ - ๔.๐ องศาเซลเซียส ในศตวรรษ ที่ ๒๑ เลยทีเดียว ( นี่เป็นผลการคาดการณ์ในส่วนของหน่วยงานนี้ที่ทำการสำรวจไว้แล้วครับ ความจริงจะเป็นเช่นไรก็คงจะได้รู้กันในเร็ว ๆ นี้ ) ซึ่งรายงานยังประเมินว่าโลกจะต้องเผชิญหน้ากับฝนตกหนัก ธารน้ำแข็งละลาย ภัยแล้ง และคลื่นความร้อนในระดับรุนแรงขึ้น) ส่วนระดับน้ำทะเลจะเพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ โดยรายงานฉบับเสร็จสมบูรณ์นี้ เกิดจากการระดมสมองของกลุ่มนักวิทยาศาสตร์และผู้เชี่ยวชาญด้านสภาพอากาศจาก ๑๓๐ ประเทศ รวม ๒๕๐๐ คน ซึ่งก่อนหน้านี้เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๔ ไอพีซีซี เคยจัดทำรายงานโลกร้อน ซึ่งระบุว่าทฤษฏีน้ำมือมนุษย์ทำให้โลกร้อนนี้มีความเป็นไปได้ ๖๖ เปอเซ็นต์
    ดร. อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อำนวยการศูนย์เครือข่ายวิเคราะห์วิจัยและฝึกอบรมการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นหนึ่งในนักวิทยาศาสตร์ผู้แทนรัฐบาลไทยที่ได้ร่วมระดมสมองในรายงานฉบับนี้ให้ความเห็นว่า ไอพีซีซีพบว่าอากาศของโลกร้อนขึ้นและระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้น หลังจากมีการโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องนี้ระหว่างนักวิทยาศาสตร์ ๒ กลุ่ม ฝ่ายแรกเห็นว่ามนุษย์ทำให้โลกร้อนขึ้น อีกฝ่ายเป็นพวกที่มองว่าเป็นเรื่องที่ธรรมชาติมีการปรับเปลี่ยนตัวเองไปตามวัฏจักรของโลก แต่ในที่สุดก็ต้องยอมรับว่าภาวะโลกร้อนเป็นเพราะการกระทำของมนุษย์ ( มันก็ต้องอย่างนั้นอยู่แล้ว . . . . เห็นกันชัด ๆ แล้วนี่ ) แต่ก็หลังจากที่องค์การนาซ่าได้ดำเนินการศึกษาล่วงหน้ามาแล้ว และมีปัญหาเรื่องการโต้แย้งระหว่าง ๒ ฝ่ายเช่นเดียวกัน แต่ในที่สุดก็ยอมรับแบบไม่เป็นเอกฉันท์เหมือนกัน คือโลกร้อนขึ้นจริงครับผม
     
  5. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    น้าที่ของไอพีซีซี - IPCC ( Intergovernmental Panel on Climate Change ) คือ รายงาน คาดการณ์ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศ ถ้าตรวจวัดได้ ๔๕๐ ppmv ( ส่วนในล้านส่วน ) โลกจะมีหน้าตาเป็นอย่างไร ถ้าขึ้นเป็น ๗๐๐ ppmv ผลออกมาอย่างไร ถ้าขึ้นไปจนถึง ๑๐๐๐ ppmv ภาวะโลกจะมีผลกระทบอย่างไร
    ที่น่าผิดหวังคือ ในรายงานนี้ไม่ได้ให้ภาพเหล่านี้ชัดเจน สำหรับผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจกำหนดนโยบายระดับประเทศหรือระดับโลก เพียงแต่รู้ว่าอุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้นเท่านั้น ( เฮ้อ ! ) นอกจากนี้อาจารย์อานนท์ยังมองว่า เรื่องความแปรปรวนของภูมิอากาศโลก แม้ว่าขณะนี้ไม่ถูกนำเสนอในรายงาน เพราะในการประชุมยังไม่มีข้อสรุป อาจเพราะขาดงานวิเคราะห์มาสนับสนุนว่ามนุษย์เกี่ยวพันกับการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างไร แต่หากตรวจสอบจากข้อมูลสถิติตรวจวัด และหลักฐานทางฟิสิกส์ก็จะพบว่าขณะนี้มีพายุระดับรุนแรงและถี่ขึ้นทั่วโลก ซึ่งประเด็นนี้เราต้องเตรียมการป้องกันและรับมืออย่างเหมาะสม นี่เป็นรายงานที่ยกเอามาฝากผู้อ่านให้ช่วยกันพิจารณา โดยขอให้ทิ้งทิฐิมานะทั้งหมดแล้วมามองในภาพรวมร่วมกันครับ
    อย่างไรก็ตาม ในอดีตมีรายงานของไอพีซีซีที่กล่าวว่า สาเหตุของการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลทุกปีเป็นเพราะการขยายตัวของน้ำที่ได้รับความร้อนจากอากาศ รายงานนี้เป็นเรื่องที่สวนทางความรู้สึกของผู้คนจำนวนมากในขณะนั้น เพราะถูกกรอกหูมาตลอดว่าแผ่นน้ำแข็งบนทวีปแอนตาร์กติกาและเกาะกรีนแลนด์ละลาย เป็นเหตุให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น
    จากข้อมูลของไอพีซีซีพบว่า น้ำแข็งมีการละลายสุทธิไม่มากนัก และมีหิมะตกทับถมสูงขึ้นทุกปี แต่สิ่งที่น่าหวั่นเกรงก็คือ ธารน้ำแข็งบริเวณเกาะกรีนแลนด์มีอัตราไหลเลื่อนเร็วขึ้น นั่นอาจจะหมายความว่าน้ำแข็งข้างใต้เกิดการเปลี่ยนแปลงและถูกดันจากทวีปลอยสู่ทะเลในที่สุด นั่นคือการละลายหายไปของธารน้ำแข็งมหาศาล ( แสดงว่าน้ำแข็งมีอัตราแทนที่แบบสมดุลด้วยระบบธรรมชาติ แต่มีอัตราการไหลเลื่อนที่ผิดธรรมชาติ ) นักวิทยาศาสตร์ก็กำลังจับตามองปรากฏการณ์นี้ นี่ยังไม่รวมการละลายของน้ำแข็งที่ปกคลุมภูเขาน้ำแข็งอื่น ๆ มีการศึกษาที่ชัดเจนและเป็นที่ยอมรับว่า มีการเปลี่ยนแปลงภูเขาน้ำแข็งโดยการค่อย ๆ ละลาย และผลการศึกษาของ IPCC ยังระบุชัดว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นก๊าซเรือนกระจกที่ทำให้เกิดพลังงานความร้อนสะสมในบรรยากาศของโลกมากที่สุดในบรรดาก๊าซเรือนกระจกชนิดอื่น ๆ ทั้งยังมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นว่าก๊าซอื่น ๆ ด้วย
     
  6. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ชี้ชาติร่ำรวยควรรักษาคำพูดลดก๊าซทำโลกร้อน

    [26 ก.ย. 50 - 04:02]


    ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู. บุช ของสหรัฐฯเตรียมขึ้นปราศรัยบนเวทีการประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (ยูเอ็น) ในวันที่ 25 ก.ย. โจมตีรัฐบาลทหารพม่าและบอกถึงการยืดเวลาคว่ำบาตร เรียกร้องประชาคมโลกช่วยกดดันพม่าฟื้นฟูประชาธิปไตย โดยยังจะถือโอกาสนี้กล่าวโจมตีโครงการนิวเคลียร์ อิหร่านด้วย
    ด้านนายมาห์มูด อาห์มาดิเนจาด ประธานาธิบดีอิหร่าน ที่มีกำหนดขึ้นปราศรัยถัดจากผู้นำสหรัฐฯหลังถูกประท้วงและถูกอธิการบดีมหาวิทยาลัยโคลัมเบียแนะนำว่าเป็นผู้นำเผด็จการที่ต่ำช้าและโหดร้าย ระหว่างการปาฐกถา ระบุตนไม่สมควรได้รับการต้อนรับเช่นนี้ หลายฝ่ายคาดว่าผู้นำอิหร่านจะใช้เวทีประชุมใหญ่ยูเอ็น อธิบายและสร้างความมั่นใจต่อประชาคมโลกว่าไม่มีอะไรต้องวิตกต่อโครงการนิวเคลียร์เพื่อสันติของอิหร่าน ส่วนการประชุมเรื่องภาวะโลกร้อนของยูเอ็นเมื่อวันจันทร์ มีผู้นำชาติต่างๆกว่า 80 คนเข้าร่วมรวมทั้งอาร์โนลด์ ชวาร์เซเนกเกอร์ ผู้ว่าการรัฐแคลิฟอร์เนีย และอัล กอร์ อดีตรองประธานาธิบดีสหรัฐฯ โดยนายบุชไม่ยอมเข้าร่วม กอร์ระบุโลกจะมีสภาพดีกว่านี้ถ้าผู้คนใส่ใจปัญหาโลกร้อนมากขึ้น สนใจเรื่องคนดังๆอย่างโอ.เจ. ซิมป์สัน และปารีส ฮิลตัน น้อยลง
    ส่วนผู้ว่ากล้ามใหญ่เผยถึงเวลาแล้วที่โลกจะหันกลับไปที่พิธีสารเกียวโต ชาติร่ำรายและยากจน มีความรับผิดชอบที่เหมือนกันก็คือการลงมือทำ ส่วนนายบัน กี มูน เลขาธิการยูเอ็น ที่จัดประชุมครั้งนี้ขึ้นเพื่อหาจุดยืนต่อการประชุมในเกาะบาหลี อินโดนีเซีย ในเดือน ธ.ค. หาข้อตกลงลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกฉบับใหม่แทนพิธีสารเกียวโตที่จะหมดอายุในปี 2555 ก็ร่วมเรียกร้องให้ทุกฝ่ายลงมือแก้ไขเรื่องนี้อย่างจริงจังเช่นกัน
    ด้านนายไซเอ็ด ฟายซัล ซาเลห์ ฮายัต รมว. สิ่งแวดล้อมปากีสถาน กล่าวในนาม “กรู๊ป ออฟ 77” กลุ่มชาติกำลังพัฒนาที่มีสมาชิก 130 ประเทศว่า ชาติ ร่ำรวยควรเคารพคำมั่นเพื่อลดมลพิษอันเกิดจาก ก๊าซเรือนกระจก ช่วยเหลือชาติกำลังพัฒนาจัดการกับผลกระทบจากโลกร้อน ขณะที่โพลของสำนักข่าวบีบีซีร่วมกับบริษัท GlobeScan สำรวจความคิดเห็นผู้คน 22,182 คนใน 21 ประเทศ พบว่า 65% ในจำนวนนี้ เห็นว่าจำเป็นต้องใช้มาตรการที่ชัดเจนแก้ปัญหาโลกร้อนโดยเร็ว และ 25% เห็นว่าควรใช้วิธีการกลางๆแก้ปัญหา ผู้นำสหรัฐฯมีแผนจัดประชุม 2 วัน ที่กระทรวงต่างประเทศในกรุงวอชิงตันในวันที่ 27-28 ก.ย. กับผู้นำชาติมหาอำนาจทางเศรษฐกิจที่มีส่วนปล่อยก๊าซทำโลกร้อนในเรื่องความมั่นคงด้านพลังงานและปัญหาโลกร้อน โดยทางการจีนระบุจะเข้าร่วมด้วย.
     
  7. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    มนุษย์โลก...เจ้าจะเดินไปสู่หนใด
    <hr style="color: rgb(255, 255, 255);" size="1"> <!-- / icon and title --> <!-- message --> [​IMG]
    ทราบกันดีว่า 70% ของพื้นผิวโลกถูกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งเป็นน้ำเค็ม 97.5% น้ำจืด 2.5% แต่ทราบหรือไม่ว่าใน 2.5% นี้ที่เป็นน้ำสะอาดที่ใช้ในการบริโภคของมนุษย์ได้อย่างปลอดภัยนั้นมีไม่ถึง 1% ในสภาวการณ์เช่นนี้มีผู้คนบนโลกถึง 1.2 พันล้านคนที่ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งน้ำเพื่อการบริโภคส่วนนี้ได้ หรือคิดเป็นสัดส่วน 1 ใน 5 ของประชากรโลก และในขณะเดียวกัน ประเทศบนโลกใบนี้มี 191 ประเทศ แต่มี 10 ประเทศที่บริโภคแหล่งน้ำส่วนนี้รวมกันในอัตรา 65% ของอัตราการบริโภคของประชากรทั้งโลกในแต่ละปี
    [​IMG]
    การผลิตอาหารจำพวกเนื้อสัตว์ 1 ตันใช้น้ำปริมาณ 15,000 ตัน ในขณะที่ผลผลิตทางพืช 1 ตันใช้น้ำปริมาณ 1,000 ตัน และเกือบ 50% ของปริมาณการบริโภคน้ำในสหรัฐอเมริกาสูญไปในกิจการปศุสัตว์ มีการประเมินกันว่าการงดบริโภค California beef 1 ปอนด์สามารถประหยัดน้ำได้มากกว่าการงดอาบน้ำเป็นเวลา 6 เดือน
    ปริมาณของเสียจากการขับถ่ายที่มาจากการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหาร มีมากกว่าปริมาณการขับถ่ายของประชากรโลกถึง 130 เท่า และเกือบทั้งหมดจะปนเปื้อนของสู่แม่น้ำลำคลองและน้ำใต้ดิน
    ขณะที่ประเทศที่พัฒนาระบบทุนนิยม (ซึ่งควรเรียกว่า บริโภคนิยมด้วย) ไปก่อนหน้าแล้ว ได้แย่งชิงทรัพยากรน้ำบนโลกไปใช้อย่างไม่ปราณีปราศรัยตลอดมา ประเทศกำลังพัฒนาต่างแข็งขันแย่งชิงกันเดินตามอย่างไร้สติ ปัจจุบันประเทศอย่าง จีน อินเดีย และ เม็กซิโก เร่งพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศของตนอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว แน่นอนปริมาณการบริโภคน้ำก็สูงขึ้นเป็นเงาตามตัว
    น้ำคือชีวิต ปราศน้ำก็ปราศชีวิต การรักษาน้ำก็คือการรักษาชีวิต การรณรงค์ใช้สอยน้ำอย่างประหยัดในชีวิตประจำวันนั้นมีผลต่อการดำรงค์อยู่ของทรัพยากรน้ำบนโลกในสัดส่วนเล็กมาก ถึงเวลาหรือยังที่การรณรงค์ควรยกระดับเป้าหมายมากขึ้นไปกว่าการใช้สอยอย่างประหยัดดังที่ผ่านมา ไปสู่การบริโภคน้ำทางอ้อม เช่น บริโภคเนื้อสัตว์ให้น้อยลง ไปสู่ระดับสากลในการจัดทำสัญญาหรือข้อตกลงร่วมการใช้น้ำเพื่ออุตสาหกรรมอย่างมีสติและเป็นธรรม ทรัพยากรน้ำรวมทั้งอื่นๆเป็นของส่วนรวม ไม่ใช่สสารที่ผู้หนึ่งผู้ใดจะอาศัยความได้เปรียบในการเข้าถึง ฉกฉวยไปเป็นของตนได้อย่างเสรีอีกต่อไป
    [​IMG]
    ข้อมูลและรูปภาพเกือบทั้งหมดมาจากหนังกึ่งสารคดี เรื่อง “The 11th Hour” ของ ลีโอนาโด ดิคาปลิโอ หนังที่เดินรอยตาม “The Inconvenient Truth” พูดถึงวิกฤตต่างๆของสิ่งแวดล้อมที่กำลังเกิดขึ้นบนโลกใบนี้ แม้ตัวหนังจะถูกนักนิเวศฯวิจารณ์ไม่เห็นด้วยกับแนวทางแก้ไขที่หนังนำเสนอ แต่ เนื้อหา ต้นตอ สาเหตุ ที่หนังนำเสนอนั้น เป็นความจริงที่ปฏิเสธไม่ได้ เป็นหนังที่มีคุณค่าในการดูมากกว่าหนังประโลมโลกดาษดื่นทั่วไปมากนัก แต่หนังประเภทนี้รวมทั้ง ความจริงที่ขื่นขม (The Inconvenient Truth) มักจะไม่ค่อยมีคนดูมากนักในบ้านเรา เลยโฆษณาไว้ล่วงหน้าถ้าหนังมีโอกาสเข้าฉาย
    [​IMG]
     
  8. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    [​IMG]
    ไม่ทันที่ข่าวหมีขาวขั้วโลกเหนือจะสูญพันธ์ภายในสิ้นศตวรรษนี้จะจางหายไป ข่าวใหญ่ถัดมาน้ำแข็งขั้วโลกเหนือหดตัวจนสามารถเดินเรือสมุทรได้ก็กระหน่ำตามมา ช่วงระยะจากปี 2548 – 2549 น้ำแข็งหดหายไป 1,000,000 (หนึ่งล้าน) ตารางกิโลเมตร จากที่ก่อนหน้าในช่วง 10 ปีอัตราอยู่ที่ 100,000 (หนึ่งแสน) ตารางกิโลเมตรต่อปีเท่านั้น
    [​IMG]
    จากสภาพดังกล่าวนี้ทำให้น้ำแข็งขั้วโลกเหนือเปิดเป็นช่องจนสามารถเดินเรือได้ในช่วงหน้าร้อน วิกฤตนี้แทนที่ประเทศยักษ์ใหญ่ทั้งหลายจะให้ความสนใจหาทางแก้ไขเยียวยา กลับดาหน้ากันออกมาแย่งสิทธิเป็นเจ้าของในเส้นทางการเดินเรือ ดังฝูงสุนัขล่าเนื้อ ประเทศที่มีอาณาบริเวณคาบเกี่ยวกับบริเวณอาร์กติก อย่าง แคนาดา รัสเซีย นอร์เวย์ เดนมาร์ก รวมถึงสหรัฐฯ พากันอ้างสิทธิเป็นเจ้าของ ในขณะที่อียูซึ่งอยู่ห่างไกลออกไปก็กลัวเสียสิทธิในอาหารอันโอชะจานนี้ เลยแย้งทำนองว่าควรให้เป็นเส้นทางนานาชาติที่ใครจะเดินเรือผ่านก็ได้
    [​IMG]
    เส้นทางเดินเรือที่เกิดขึ้นแบ่งเป็นสองด้าน ตะวันออกและตะวันตก
    ว่ากันว่าขุมทรัพย์มหาศาลไม่ได้อยู่ที่เส้นทางเดินเรือ แต่อยู่ที่ปริมาณน้ำมัน สหรัฐฯได้ศึกษาและเชื่อมาตลอดว่าปริมาณน้ำมันและก๊าสธรรมชาติในบริเวณนี้จะมีถึง 25% ของปริมาณทั้งโลก
    นี่เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างความอัปลักษณ์ของ “ทุนทำโลกาวิบัติ” ที่กอบโกยตักตวงทรัพยากรโลกเป็นของตนตามความได้เปรียบ ครึ่งศตวรรษที่ผ่านมาประเทศที่ทำตัวเป็นสัตว์เศรษฐกิจเหล่านี้รุมทึ้งทรัพยากรโลกสร้างความร่ำรวยให้กับประเทศตน พร้อมๆกับทิ้งร่องรอยบาดแผลให้กับโลก ขณะเดียวกันก็กำหนดกติกาที่ได้เปรียบขึ้นมาให้ประเทศอื่นเดินตาม ปัญหาเหล่านี้มันไม่ใช่ปัญหาที่ไกลตัวเราอีกต่อไป ทุกสิ่งทุกอย่างที่เหล่าสัตว์เศรษฐกิจกลุ่มนี้ทำร้ายต่อโลก ได้ส่งผลสะเทือนให้กับมนุษย์ทุกชนทุกเผ่าภายใต้ดาวดวงนี้ ถึงเวลาแล้วหรือยังที่จะต้องทบทวนทิศทางการก้าวเดินไปบนโลกใบนี้เสียใหม่ ต้องรู้เท่าทันและร่วมเรียกร้องทวงสิทธิที่เท่าเทียมกันในการดำรงอยู่บนดาวดวงนี้ ช่วยกันขยายแนวคิดต่อๆกันไป สนับสนุนแนวคิดทฤษฎีใหม่ๆที่เป็นผลดีต่อการดำรงอยู่ของโลก คัดค้านการก้าวเดินตามวงจรเดิมนี้อย่างไร้สติ ประณามการดำเนินการใดๆที่เป็นผลร้ายต่อการดำรงอยู่ของโลก ไม่ทำเสียแต่วันนี้ลูกหลานมันจะสาบแช่งพวกเราย้อนหลัง
     
  9. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    เราใช้ทรัพยากรบนโลกไปแล้ว 2 ส่วนใน 3 ส่วน
    ในปี 2005 มีรายงานฉบับหนึ่งที่ได้รับการสนับสนุนจากนักวิทยาศาสตร์ 1,360 คนจาก 95 ประเทศ นำโดย Robert Watson หัวหน้านักวิทยาศาสตร์จากธนาคารโลกอดีตที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์ทำเนียบขาว ได้เตือนว่าโครงสร้างทางธรรมชาติที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์เกือบ 2 ใน 3 ซึ่งรวมถึง พื้นที่ชุ่มน้ำ ป่า ทุ่งหญ้า ปากน้ำ แหล่งประมงชายฝั่งและสิ่งแวดล้อมอื่นๆที่มีผลในการปรับคุณภาพอากาศ แหล่งน้ำและแหล่งอาหารที่จำเป็นต่อการดำรงชีพ เหล่านี้ ได้ถูกใช้หรือทำให้สูญสิ้นคุณค่าการใช้ไปแบบไม่สามารถฟื้นฟูกลับคืนได้ ด้วยน้ำมือมนุษย์ หนึ่งสายพันธ์สิ่งมีชีวิตบนโลก ที่เต็มไปด้วยพลังการทำลายล้างสิ่งมีชีวิตสายพันธ์อื่นๆ
    [​IMG]
    ใจความของรายงานดังกล่าว ได้กล่าวเตือนถึงสิ่งต่างๆเหล่านี้
    • จากปริมาณความต้องการของมนุษย์ในเรื่อง อาหาร น้ำจืด ไม้ เส้นใย และ น้ำมัน ทำให้ในช่วง 60 ปีที่ผ่านมา พื้นดินบนโลกได้ถูกปรับสภาพเพื่อการเกษตรและกสิกรรมไปมากกว่าที่ถูกใช้ไปในศตวรรษที่ 18 และ 19 รวมกัน
    • พื้นที่เพาะปลูกในปัจจุบัน ครอบคลุมบริเวณประมาณ 24% ของพื้นผิวโลก
    • ปริมาณการสูบน้ำขึ้นมาจาก ทะเลสาบ และ แม่น้ำ สูงขึ้นเป็นสองเท่าในรอบ 40 ปี ปัจจุบันมนุษย์ได้ใช้น้ำจืดบนโลกไปแล้ว 40 ถึง 50 เปอร์เซ็นต์
    • การจับปลาที่มากเกินจำเป็นได้ทำให้ปริมาณปลาที่ธรรมชาติผลิตได้หายไปไม่ต่ำกว่า 1 ใน 4 ส่วน บางพื้นที่ปริมาณปลาที่จับได้น้อยลงกว่าเดิมถึงร้อยเท่า
    • ตั้งแต่ปี 1980 เป็นต้นมา ไม้โกงกางได้หมดไปแล้ว 35% ปะการังถูกทำลายลง 20% ในขณะที่อีก 20% อยู่ในสภาพย่ำแย่
    • การตัดไม้ทำลายป่าได้เพิ่มความเสี่ยงในเรื่อง ไข้มาเลเรีย และ อหิวาตกโรค รวมถึงเปิดทางให้โรคอื่นๆที่เรายังไม่รู้จักได้มีโอกาสปรากฎตัวตนต่อมนุษย์
    [​IMG]
    ในรายงานระบุว่า ในปี 1997 นักชีววิทยาและนักเศรษฐศาสตร์ได้ประเมินความสามารถที่ธรรมชาติผลิตปัจจัยจำเป็นต่างๆในการดำรงชีวิตของมนุษย์ออกมาเป็นมูลค่าได้ถึง 33 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งสูงเป็นสองเท่าของผลิตภัณฑ์มวลรวมของประชาชาติทั้งโลกในปีนั้น แต่ถัดมาเพียงหนึ่งทศวรรษ ในรายงานถึงกับระบุว่า “เป็นช่วงเวลาแห่งการใช้สอยธรรมชาติมากมายมหาศาลอย่างไม่เคยปรากฎ มาก่อน” “เราใช้สอยกันเกินกำลังที่ธรรมชาติจะสร้างคืนกลับมาได้ เป็นการหยิบยืมเอาจากอนาคต พูดง่ายๆคือเรากำลังใช้สอยทรัพย์สินในส่วนที่เป็นของลูกหลาน
    [​IMG]
    ปริมาณการไหลของกระแสน้ำต่างๆทั่วโลกลดลงในระดับอันตราย ในรายงานคาดการณ์ว่า ในอีกไม่นาน สายน้ำใน แม่น้ำแยงซีเกียง แม่น้ำไนล์ และ แม่น้ำโคโลราโด จะเหือดแห้งไปก่อนที่จะถึงมหาสมุทร นักล่าที่ยิ่งใหญ่แห่งท้องทะเล อย่าง ทูนา กระโทงแทง และ ฉลาม ในสัดส่วน 90% จะหายไปจากท้องสมุทร สายพันธ์ของนก 25% สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 25% และ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ 30% จะถูกขึ้นบัญชีสูญพันธ์ในเร็วๆนี้ การสูญพันธ์ของบางสายพันธ์เกิดจากการรุกราน
    ปัจจุบัน สิ่งมีชีวิตประมาณ 100 สายพันธ์ที่อาศัยอยู่ในทะเลบอลติคมีพื้นเพเดิมมาจากถิ่นอื่นของโลก หนึ่งในสามของจำนวนนั้นมาจากทะเลสาบเกรทเลคในอเมริกา ในทางกลับกัน หนึ่งในสามของสายพันธ์ต่างถิ่น 170 สายพันธ์ในทะเลสาบเกรทเลคมีต้นตระกูลมาจากทะเลบอลติค บางครั้งการเคลื่อนย้ายข้ามถิ่นของสิ่งมีชีวิตได้สร้างความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงให้กับสิ่งมีชีวิตท้องถิ่น เช่นเมื่อแมงกะพรุน American comb jellyfish ได้รุกรานเข้าไปในทะเลแบล็คซีก็เป็นวันสิ้นสูญของสายพันธ์ปลาถึง 26 สายพันธ์ การเคลื่อนย้ายถิ่นฐานนี้ เป็นผลพวงอย่างใหญ่จากภาวะโลกร้อน (Global warming) และการเปลี่ยนแปลงบรรยากาศ ที่ทำให้สิ่งมีชีวิตต่างๆต้องดิ้นรนเพื่อความอยู่รอด
    [​IMG]
    รายงานฉบับนี้เกิดขึ้นเมื่อ 2 ปีที่แล้ว แต่ดูเหมือนไม่ได้ส่งผลกระทบอันใดต่อชาวโลก มนุษย์โลกส่วนใหญ่ยังคงไม่ตระหนักถึงภัยที่กำลังคุมคามเข้ามาอย่างไม่รู้ตัว 2 ปีที่ผ่านมานอกจากมนุษย์โลกจะไม่ทบทวนการดำรงชีวิตที่ดำเนินอยู่เท่านั้น แต่ในช่วงสองปีที่ผ่านนี้ ยังเร่งอัตราการใช้สอยธรรมชาติอย่างถึงขีดสุด .....มนุษย์โลก....เจ้าจะพากันเดินไปสู่หนใด
    [​IMG]
    ภาพทั้งหมดมาจากอินเตอร์เน็ต​

    <!-- / message --> <!-- sig -->
     
  10. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ในการประชุม Earth summit ที่กรุงริโอ เดอจาไนโร เมื่อปี 2535 ได้เริ่มมีการหยิบยกปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงของสภาพบรรยากาศโลกขึ้นมาพิจารณา จนนำไปสู่ข้อตกลงร่วมในการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse gases) และได้บันทึกข้อตกลงร่วมลงใน United Nations Framework Convention for Climate Change (UNFCCC) และพิธีสารเกียวโตซึ่งเซ็นต์กันครั้งแรกที่กรุงเกียวโตในปี 2540 มีรอบการประเมินคราวละ 5 ปี รอบการประเมินล่าสุด คือ ปี พ.ศ. 2551-2555 นับจนถึงเดือนธันวาคม 2549 ได้มีประเทศต่างๆทั่วโลกยินยอมลงนามเห็นชอบกับพิธีสารเกียวโตนี้แล้ว 169 ประเทศ
    [​IMG]
    ใจความสำคัญของพิธีสาร เป็นเรื่องข้อตกลงที่แต่ละประเทศสัญญาว่าจะลดปริมาณ แก๊ซเรือนกระจกที่ให้ความสำคัญในขั้นแรก 6 ตัว ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO<sub>2</sub>) มีเธน (CH<sub>4</sub>) ไนตรัสออกไซด์ (N<sub>2</sub>O) ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอนด์ (HFCs) เปอร์ฟลูออโรคาร์บอนด์ (PFCs) และ ซัลเฟอร์เฮกสะฟลูออไรด์ (SF<sub>6</sub>) โดยได้แบ่งประเทศทั่วโลกของเป็น 2 ประเภท คือ ประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่งระบุไว้ในภาคผนวก และประเทศกำลังพัฒนา ได้แก่ประเทศอื่นๆที่ไม่อยู่ในภาคผนวก ประเทศในภาคผนวกทั้งหมดต้องให้พันธะสัญญาที่จะลดปริมาณการปล่อยแก๊สเรือนกระจกเฉลี่ยในรอบ 5 ปี จาก 2551 – 2555 ลงไม่น้อยกว่า 5% ของปริมาณเมื่อปี 2543 (ค.ศ. 2000) โดยแต่ละประเทศให้ตัวเลขเป้าหมายไว้แตกต่างกัน เช่น กลุ่ม 8% ได้แก่ สวิสเซอร์แลนด์และประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปกลางและตะวันออก รวมทั้งอียู กลุ่ม 7% ได้แก่ สหรัฐฯ 6% ได้แก่ คานาดา ฮังการี ญี่ปุ่น และ โปแลนด์ ในขณะที่ รัสเซีย นิวซีแลนด์ และ ยูเครน บอกจะทรงปริมาณไว้ ไม่รับปากจะลดแต่รับปากจะไม่เพิ่ม นอร์เวย์บอกจะเพิ่ม 1% ออสเตรเลียเพิ่ม 8% และ ไอซ์แลนด์ (Iceland) เพิ่ม 10% ส่วนประเทศที่กำลังพัฒนายังไม่มีความจำเป็นต้องให้พันธะในกรณีนี้ มีรายละเอียดปลีกย่อยในเรื่องปีที่ใช้เทียบของแก๊สแต่ละตัว การแปลงค่าเทียบเท่า สรุปให้เข้าใจง่ายๆว่า ตัวเลขเปอร์เซ็นต์ให้อิงถึงแก๊ส คาร์บอนด์ด์ออกไซด์ หน่วยเป็น เมตริกตัน โดยแปลงค่าแก๊สตัวอื่นเป็นค่าเทียบเท่าแก๊สตัวนี้ ประเทศที่ไม่สามารถทำได้ตามเป้าหมายที่ให้ไว้จะมีมาตรการลงโทษ
    [​IMG]
    ข้อน่าสังเกตและควรเฝ้าติดตามดูกันต่อไป
    • บางประเทศในกลุ่มภาคผนวกยังอ้ำๆอึ้งๆ โดยเฉพาะ ออสเตรเลีย และ สหรัฐฯ
    • ตัวเลข 5% อาจดูน้อย แต่ความจริงสำหรับบางประเทศแล้ว หมายถึงต้องลดปริมาณลงจากปีปัจจุบันถึง 15% เนื่องจากแม้จะเริ่มคุยกันมาตั้งแต่ปี 2535 แต่ที่ผ่านมาส่วนใหญ่กลับมีตัวเลขปริมาณการปล่อยแก๊สเพิ่มขึ้นทั้งสิ้น
    • นับถึงปี 2547 เยอรมันเป็นประเทศที่มีตัวเลขการลดปริมาณการปล่อยแก๊สมากที่สุด คือลดลงจากปี 2533 ถึง 17% รองมาเป็นอังกฤษลดลง 14% กลุ่มอียูสิบห้า และฝรั่งเศสลดลง 0.8% นอกนั้นล้วนสูงขึ้นทั้งนั้น เช่น สหรัฐฯสูงขึ้น 16% ออสเตรเลียสูงขึ้น 25% สเปนสูงขึ้น 49%
    • มีประเทศนอกกลุ่มภาคผนวกซึ่งไม่ต้องมีพันธะในการลดตัวเลขฯนี้ที่ควรจับตามองอยู่ 2 ประเทศ คือ จีน และ อินเดีย ทั้งสองประเทศแข่งขันเพิ่มปริมาณการปล่อยแก๊ศอย่างน่าตกใจ จีนมีตัวเลขเพิ่มจากปี 2533 ถึงปี 2547 47% ส่วนอินเดียเพิ่มขึ้น 55% โดยเฉพาะจีนมีการสร้างโรงงานที่ใช้พลังงานถ่านหินเฉลี่ยแล้วสัปดาห์ละ 1 โรง (เหมือนไทยเราเพิ่มสาขาร้านสะดวกซื้อ อย่างไรอย่างนั้น) คาดว่าจะเป็นประเทศที่ปล่อยแก๊สฯสูงสุดในอีกไม่นานนี้
    • ฝรั่งเศสเลิกใช้ถ่านหินโดยสิ้นเชิง ปัจจุบันโรงไฟฟ้าในฝรั่งเศสใช้พลังงานนิวเคลียร์ถึง 80% ส่งผลให้ฝรั่งเศสเป็นประเทศเดียวในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมที่มีอากาศสะอาดที่สุด และราคาค่าไฟต่ำที่สุด แต่รายงานไม่แจ้งว่าชาวฝรั่งเศสนอนหลับสบายทุกค่ำคืนหรือไม่ หรือต้องนอนผวากันทุกคืน
    • ในพิธีสารนี้ ยังมีระเบียบวิธีที่เรียกว่าเป็นกลไก (mechanism) อยู่อีก 3 ตัว คือ CDM JI และ IET ซึ่งมีรายละเอียดที่น่าจับตาอย่างใกล้ชิด เพราะมีโอกาสที่จะทำให้เจตนารมณ์ของพิธีสารแปรเปลี่ยนไปได้ในการปฏิบัติ บางสิ่งในกลไกทั้ง 3 นี้มีลักษณะของวาระซ่อนเร้นแฝงอยู่
    การเกิดขึ้นของพิธีสารนี้เป็นเรื่องน่ายินดีสำหรับโลก แต่ในความเป็นจริงจะส่งผลดีได้หรือไม่อยู่ที่การปฏิบัติ และอยู่ที่ความจริงใจของเหล่าประเทศอุตสาหกรรมทั้งหลาย ดังพิธีสารมอนทรีออลว่าด้วยเรื่องการลดลงของโอโซนในชั้นบรรยากาศที่ดำเนินมาก่อนหน้าเป็นสิบปี ผลที่ได้รับในปัจจุบันก็ยังแทบไม่มีนัยสำคัญ โดยเฉพาะกลไก 3 ตัวในพิธีสารเกียวโตนี้ ซึ่งจะกล่าวถึงในตอนต่อไป อาจทำให้เจตนารมณ์ที่ดีของพิธีสารนี้สูญสิ้นคุณค่าไปโดยสิ้นเชิง
    <!-- / message --> <!-- sig -->
     
  11. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    พิธีสารเกียวโตกำหนดให้ประเทศพัฒนาแล้วทางด้านอุตสาห กรรมต้องให้คำมั่นที่จะลดปริมาณการปล่อยแก๊ซเรือนกระจกลงในอัตราหนึ่งๆที่ตกลงร่วมกันไว้ ภายในช่วงเวลา 2551-2555 การดำเนินการเพื่อให้ได้ตัวเลขที่ลดลงนี้ ทำได้ 2 ลักษณะ คือ
    1. ลดปริมาณที่ปล่อยออกมาจากแหล่ง (sources) โดยตรง เช่น ปิดโรงงาน เปลี่ยนแหล่งจ่ายพลังงาน เช่นจากถ่านหินเป็นพลังงานสะอาดตัวอื่น
    2. เพิ่มปริมาณของแหล่งดูดซับแก๊ซ (sinks) เช่น ป่าไม้ โดยได้ประเมินว่าการมีป่าไม้ 1 เอเคอร์ (2.5 ไร่) สามารถดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 2 ตัน เป็นต้น sinks ยังกินความรวมไปถึง กระบวนการ กิจกรรม หรือ กลไก ใดๆ ที่สามารถขจัดแก๊ซเรือนกระจกออกจากบรรยากาศได้
    แต่ยังมีรายละเอียดอีกว่า การลดปริมาณนี้สามารถทำในประเทศของตนเองส่วนหนึ่งแล้ว ถ้ายังไม่ถึงเป้าหมาย ก็สามารถที่จะไปลงทุนเพิ่มในประเทศอื่น หรือ ซื้อจากประเทศอื่น เพื่อทำให้ตนเองบรรจุเป้าหมายได้ กฎเกณฑ์ในเรื่องการลงทุนในประเทศอื่นหรือการซื้อ ได้บัญญัติไว้ใน mechanisms 3 ตัวในพิธีสารนี้
    • Clean Development Mechanism (CDM) เป็นกฎเกณฑ์ข้อบังคับและวิธีปฏิบัติเพื่อทำให้ประเทศกำลังพัฒนาได้รับการลงทุนในโครงการลดแก๊ซเรือนกระจกทดแทนของเก่าจากประเทศพัฒนาแล้ว เครดิตที่ได้จากการลดปริมาณแก๊ซเรือนกระจกถือเป็นผลงานของประเทศที่ลงทุนตลอดไป
    • Joint Implements (JI) เป็นกฎเกณฑ์ข้อบังคับและวิธีปฏิบัติที่ทำให้ประเทศพัฒนาแล้วที่ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายการลดปริมาณการปล่อยแก๊ซเรือนกระจกภายในประเทศของตนเอง สามารถที่จะไปลงทุนในประเทศอื่น โดยตนเองจะได้รับส่วนแบ่งในเรื่องอัตราการลดปริมาณแก๊ซฯ
    • International Emission Trading (IET) เป็นกฎเกณฑ์ที่ทำให้เกิดการค้า “เครดิต” ระหว่างประเทศ
    มาดูความหมายของกลไกทั้งสามตัวนี้ ตัวแรก CDM เช่น ประเทศ ก ซึ่งเป็นประเทศกำลังพัฒนาและมีวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตรที่สามารถนำมาผลิตโรงไฟฟ้าพลังชีวมวลหรือพลังแก๊ซชีวภาพได้ ถ้าต้องการให้ประเทศที่พัฒนาแล้วเข้ามาลงทุนให้ ก็จะต้องไปขอเข้าร่วมโครงการโดยปฏิบัติตาม CDM หรือ ประเทศ ข ประเทศกำลังพัฒนาอีกเช่นกัน มีการตัดไม้ทำลายป่าในประเทศตัวเองไปมากมาย ทำให้มีเนื้อที่ว่างเปล่าเหลือเฟือ ถ้าต้องการให้ประเทศที่พัฒนาแล้วเข้ามาลงทุนปลูกป่าให้ ก็จะต้องไปขอเข้าร่วมโครงการโดยปฏิบัติตาม CDM เมื่อประเทศต่างๆเหล่านี้เข้าร่วม CDM แล้ว ประเทศ ค ซึ่งเป็นประเทศพัฒนาแล้วซึ่งมีภาระที่จะต้องลดปริมาณแก๊ซฯ ก็สามารถที่จะติดต่อเข้ามาเพื่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังชีวมวลในประเทศ ก ลงทุนปลูกป่าในประเทศ ข เครดิตที่ได้จากโครงการในประเทศทั้งสองนี้ ถือเป็นของประเทศ ค
    ส่วน JI หมายถึงว่า ประเทศ ค พยายามทุกวิธีในประเทศตนเองแล้วก็ยังไม่บรรลุเป้าหมาย แต่ยังมีเงินทุนเหลือเฟือ สามารถที่จะเข้าไปลงทุนในประเทศ ง ซึ่งเป็นประเทศที่มีภาระฯอยู่เช่นกัน โดยปฏิบัติตาม JI เครดิตที่ได้จากการลงทุนในโครงการให้แบ่งกันระหว่างประเทศทั้งสอง
    ส่วน IET ยิ่งพิศดารหนักขึ้นไป หมายถึง ประเทศ ค ทำอย่างไรก็ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ ขณะที่ประเทศ จ ทะลุเป้าไปไกล ประเทศ ค สามารถซื้อ “เครดิต” จากประเทศ จ ได้ กลไกตัวนี้ ไม่เพียงอนุญาตให้ซื้อขาย “เครดิต” ระหว่างกันในประเทศพัฒนาแล้วเท่านั้น ประเทศพัฒนาแล้วยังสามารถซื้อเครดิตจากประเทศกำลังพัฒนาที่ไปเข้าร่วมโครงการ CDM ได้ด้วย เช่นประเทศ ก ในตัวอย่างด้านบน บอกว่าไม่เอาแล้วความช่วยเหลือ สร้างโรงไฟฟ้าพลังชีวภาพขึ้นเองเลย เครดิตจากโครงการนี้ก็สามารถนำไปเร่ขายให้ประเทศที่สอบตกเป้าหมายได้ เป็นต้น
    จากการที่มีกฎเกณฑ์ในการ “ซื้อ” “ขาย” นี้เอง ทำให้เกิดกิจกรรมและบริษัทที่เข้ามาดำเนินการในเรื่องนี้กันอย่างคึกคัก บริษัทที่ปรึกษาในการนำโครงการเข้าร่วม CDM เกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนาเป็นดอกเห็ด ประเทศสารขัณฑ์อย่างประเทศไทยก็ไม่เคยพลาด ได้จัดตั้ง “องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก” ขึ้นมาเพื่อพิจารณาความเหมาะสมของโครงการ CDM ต่างๆ ก่อนที่จะส่งไปขออนุมัติในระดับสากลต่อไป ในขณะเดียวกันบริษัทที่ปรึกษาโครงการ CDM นี้ก็ทะยอย เปิดขึ้นเช่นเดียวกัน
    ดูแล้วประโยชน์ของกลไกทั้งสามตัวนี้อยู่ที่ช่วยให้ประเทศที่สอบตกไม่ต้องโดนโทษปรับ มากกว่าประโยชน์ที่โลกจะได้รับ ประโยชน์อีกส่วนเกิดกับประเทศที่สอบผ่านเพราะเตรียมตัวมาดีล่วงหน้าในการได้ “ขาย” ส่วนเกินที่เคยทำมาแล้ว
    แต่ถ้ามองอีกด้านหนึ่ง อาจเป็นกุโศลบายที่กลุ่มชาติยุโรปสร้างขึ้นเพื่อจูงใจให้สหรัฐฯเข้าร่วมอย่างจริงจังเพราะมองเห็นทางที่จะทำได้สำเร็จไม่ต้องถูกปรับ เหตุที่กลุ่มชาติยุโรปต้องงอนง้อสหรัฐฯรวมทั้งโซเวียตในช่วงที่ผ่านมาด้วย อยู่ที่ตัวเลขปริมาณการปล่อยแก๊ซคาร์บอนไดออกไซด์ของแต่ละประเทศที่จะมาเสนอในตอนต่อไป
     
  12. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ศัพท์โลกร้อนชักแถวลงดิกออกซ์ฟอร์ด <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">29 กันยายน 2550 11:11 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table align="right" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="5">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="200"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="200"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">ออกซ์ฟอร์ดใส่ใจปัญหาการเปลี่ยนแปลงชั้นบรรยากาศ</td></tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> บีบีซีนิวส์ – การเปลี่ยนแปลงชั้นบรรยากาศกลายเป็นประเด็นร้อนแม้แต่ในพจนานุกรมชื่อดังเวอร์ชันล่าสุด

    ศัพท์เทคนิคด้านสิ่งแวดล้อม เช่น carbon-neutral และ carbon trading ชักแถวเข้าสู่ชอร์ตเตอร์ ออกซ์ฟอร์ด อิงลิช ดิกชันนารีฉบับใหม่ล่าสุด เช่นเดียวกับศัพท์สมัยใหม่ในแวดวงการเมือง อาทิ nanny state ที่ถูกบรรจุไว้ในพจนานุกรมยอดนิยมเป็นครั้งแรก

    ความกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงชั้นบรรยากาศ ส่งผลให้พจนานุกรมออกซ์ฟอร์ดเวอร์ชันล่าสุดบรรจุคำศัพท์ อาทิ ‘green audit’ ซึ่งหมายถึงการประเมินของภาคธุรกิจในการดำเนินการเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้เหลือน้อยที่สุด

    ‘carbon footprint’ คือปริมาณการแพร่กระจายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากกิจกรรมต่างๆ โดยเฉพาะการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล ของบุคคลหรือของหมู่คณะ

    ‘carbon trading’ หรือ ‘emission trading’ หมายความถึงระบบที่อนุญาตให้ประเทศและองค์กรต่างๆ ผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ ออกมาในปริมาณที่จำกัด โดยสามารถนำโควตาที่ได้รับมาแลกเปลี่ยนกันได้

    และ ‘carbon neutral’ คือการไม่ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิสู่ชั้นบรรยากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้วยการปลูกต้นไม้ชดเชยการแพร่กระจายก๊าซพิษ

    ทางด้านศัพท์แสงเกี่ยวกับการเมืองและการก่อการร้ายในออกซ์ฟอร์ดเล่มใหม่ประกอบด้วย ‘nanny state’ หรือรัฐบาลที่ถูกมองว่าปกป้องหรือแทรกแซงการตัดสินใจของประชาชนเกินขอบเขตความพอดี

    ‘Great Satan’ หมายถึงสหรัฐฯ ที่ถูกมองเป็นนักล่าอาณานิคมและมหาอำนาจชั่วร้าย โดยเฉพาะจากนโยบายต่อตะวันออกกลางของวอชิงตันเอง

    ‘biosecurity’ หมายถึงการปกป้องประชากรมนุษย์จากชีวสารอันตราย ศัพท์คำนี้มีความสำคัญในสงครามต่อต้านการก่อการร้าย รวมถึงการควบคุมโรคที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เช่น โรคปากเปื่อยเท้าเปื่อย และไข้หวัดนก

    นอกจากนั้น คำศัพท์น้องใหม่ในออกซ์ฟอร์ดบางส่วนยังสะท้อนความสำคัญของคอมพิวเตอร์ เช่น ‘addy’ หรือที่อยู่อีเมล และ ‘webinar’ หมายถึงการสัมมนาผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
     
  13. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,696
    ค่าพลัง:
    +51,932
    *** สิ่งที่น่าติดตามเพื่อรอดพ้นภัย ****
    <O:p</O:p

    คือ...ข้อมูลข่าวสาร<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    - ข่าวสารในประเทศเพื่อบ้านเกี่ยวกับสยาม แสดงออกประเด็นเขาพระวิหาร<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    - คนหนุ่มข้างบ้านนอกศาสนาพุทธ ที่เดินทางไปทางใต้สยาม<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    - การขยับของเปลือกโลกในแปซิฟิค แสดงออกใกล้ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน ฟิลิปปินส์ แล้วไล่ลงไปทางทิศใต้<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    - การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ น้ำแข็งบนเทือกเขาหิมาลัย<O:p</O:p
    <O:p
    - ปริมาณฝน และระดับน้ำในแม่น้ำ เขื่อน อ่างเก็บน้ำ ในประเทศจีน<O:p</O:p
    <O:p
    - " หนุมาน ผู้นำสาร "<O:p</O:p
    ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๐<O:p</O:p
     
  14. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>จีนรับเขื่อน Three Gorges สร้างหายนะระบบนิเวศ</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>30 กันยายน 2550 13:35 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=404 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=404>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เขื่อนสามโตรกในเมืองอี้ชาง มณฑลหูเป่ย ทางตอนกลางของประเทศ ได้เปิดประตูระบายน้ำในแม่น้ำแยงซีเกียง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> เอเจนซี – เจ้าหน้าที่ทางการและผู้เชี่ยวชาญแดนมังกรยอมรับ เมกะโปรเจกต์เขื่อนยักษ์ Three Gorges ของจีนได้ทำลายระบบนิเวศวิทยา ทั้งก่อให้เกิดปัญหาดินถล่มและมลพิษทางน้ำมากมาย พร้อมย้ำหากไม่มีการผุดมาตรการป้องกันอาจเกิดหายนะกับสิ่งแวดล้อมได้

    ทางการจีนระบุ ขณะที่เขื่อน Three Gorges หรือ เขื่อนสามโตรก ถูกสร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาน้ำในแม่น้ำแยงซีเกียงท่วมทะลักคร่าชีวิตประชาชน และเป็นแหล่งกำเนิดพลังงานไฟฟ้าจำนวนมาก อีกทั้งยังมีส่วนช่วยลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนลงถึง 100 ล้านตัน แต่ในทางกลับกันก็ต้องแลกมาซึ่งค่าตอบแทนแสนสาหัสจากสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศวิทยาบริเวณนั้น

    โดยเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาผู้เข้าร่วมการประชุมในเมืองอู่ฮั่นมีความคิดเห็นตรงกันว่า หลังจากเริ่มดำเนินการตั้งแต่เมื่อปีที่แล้ว โครงการเขื่อน Three Gorges ได้สร้างผลกระทบด้านลบอย่างเด่นชัดต่อสิ่งแวดล้อมบริเวณอ่างเก็บน้ำของเขื่อน ซึ่งกินบริเวณประมาณ 600 กิโลเมตรตามแม่น้ำแยงซีเกียง พร้อมกล่าวว่า น้ำหนักอันมหาศาลของน้ำที่เก็บกักไว้ด้านหลังเขื่อนได้เริ่มกัดเซาะตลิ่งในหลายพื้นที่ รวมทั้งระดับน้ำที่ขึ้นลงบ่อยครั้ง ได้ก่อให้เกิดปัญหาแผ่นดินถล่ม

    “หากไม่มีมาตรการออกมาป้องกัน เชื่อว่าโครงการดังกล่าวจะนำหายนะมาให้” พวกเขากล่าว โดยถันฉีเหว่ย รองนายกเทศบาลนครฉงชิ่ง เมืองซึ่งอยู่ติดกับอ่างเก็บน้ำเปิดเผยว่า มีถึง 91 พื้นที่ที่ประสบปัญหาตลิ่งถล่ม และพังทลายกินพื้นที่รวม 36 กิโลเมตร

    เช่นเดียวกันหวงเสียว์ปิน ผู้อำนวยการสำนักงานใหญ่สำนักงานป้องกันและควบคุมธรณีพิบัติภัยในอ่างเก็บน้ำเขื่อนสามโตรก ซึ่งกล่าวว่า ธรณีพิบัติภัยที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งได้คุกคามชีวิตของประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้น

    นอกจากนี้ถันยังเปิดเผยว่า คุณภาพน้ำตามแม่น้ำสาขาของแยงซีเกียงนั้นเลวร้ายลง เกิดการแพร่ระบายของสาหร่ายและพืชน้ำให้เห็นดาษดื่น

    “เราไม่อาจมองข้ามปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศวิทยา ซึ่งเกิดขึ้นจากการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศได้” หวังเสี่ยวเฟิง ผู้อำนวยการสำนักงานคระกรรมโครงการเขื่อนสามโตรกของคณะรัฐมนตรีจีนกล่าว พร้อมกล่าวว่ารัฐบาลจีนได้ให้ความสนใจอย่างมากต่อผลกระทบหลังการก่อสร้างเขื่อน และเปิดเผยว่า ในระหว่างการประชุมคณะรัฐมนตรีจีนเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้นจากโครงการสร้างเขื่อนเมื่อต้นปีที่ผ่านมา นายกรัฐมนตรีเวินเจียเป่าได้กล่าวว่า ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศวิทยาเป็นปัญหาอันดับต้นที่ต้องได้รับการแก้ไข

    ทั้งนี้ เขื่อน Three Gorges เป็นเขื่อนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เริ่มก่อสร้างขึ้นในปี 1993 ด้วยงบประมาณทั้งสิ้น 180,000 ล้านหยวน (ราว 22,500 ล้านเหรียญสหรัฐ) กั้นกลางแม่น้ำแยงซีเกียง มีขนาดสูง 185 เมตร แล้วเสร็จในปี 2006 ในแง่ของการฟื้นฟูและปกป้องระบบนิเวศบริเวณนั้น ช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมารัฐบาลได้ลงทุนอย่างหนักกว่า 12,000 ล้านหยวนเพื่อลดปัญหาดินถล่ม นอกจากนี้ยังปิดหรือย้ายโรงงาน 1,500 แห่ง ตลอดจนสร้างโรงงานบำบัดน้ำเสียและกำจัดขยะมากกว่า 70 โรง รวมทั้งอพยพประชาชนประมาณ 70,000 คนจากพื้นที่เสี่ยงภัย
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    น้ำแข็งทะเล​
    [FONT=FreesiaUPC,FreesiaUPC]"[/FONT]อาร์กติก[FONT=FreesiaUPC,FreesiaUPC]"[/FONT]หดลดวูบ[FONT=FreesiaUPC,FreesiaUPC]!

    [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]บีบีซีรายงานว่า ศูนย์เก็บข้อมูลหิมะและน้ำแข็งแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]([/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]NSIDC) [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]เปิดผลการศึกษาล่าสุดพร้อมแสดงภาพดาวเทียมที่ฟ้องว่า ปริมาณน้ำแข็งในทะเลอาร์กติก มีระดับต่ำที่สุดเมื่อวัน[/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]ที่ [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]16 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]กันยายน [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]2550 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]คิดเป็นพื้นที่ [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]4.13 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]ล้านตารางกิโลเมตร น้อยกว่าสถิติที่ต่ำสุดเมื่อปี [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]2548 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]ที่บันทึกไว้ [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]5.32 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]ล้านตารางกิโลเมตร สถานการณ์ดังกล่าวเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งที่บ่งบอกถึงผลกระทบจากภาวะโลกร้อนที่ก่อขึ้นโดยฝีมือมนุษย์
    นายมาร์ก เซอร์เรเซ นักวิทยาศาสตร์ประจำศูนย์
    [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]NSIDC [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]กล่าวว่า สถิติเดิมเมื่อปี [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]2548 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]ทำให้ตกใจอยู่แล้ว มาเจอสถิติใหม่นี้ ยิ่งมึนเข้าไปอีก เราไม่เคยเห็นพื้นที่ทะเลน้ำแข็งหดเหลือน้อยได้ขนาดนี้ในช่วงฤดูร้อน ส่อเค้าว่าปริมาณน้ำแข็งในทะเลมีแนวโน้มจะลดน้อยลงไปถึงขั้นเหือดหาย ตอนนี้จะรอดูว่า สถานการณ์ในช่วงฤดูหนาวจะดีขึ้นได้หรือไม่ ทั้งนี้ เมื่อปี [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]2549 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]มีคณะนักวิทยาศาสตร์ของสหรัฐพยากรณ์ ทะเลอาร์กติกจะไร้น้ำแข็งสิ้นเชิงในปี [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]2583
    -------------------------------------------- ​
    [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]
    ที่มา ​
    [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]http://matichon.co.th/khaosod/khaosod.php (25 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]กันยายน [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]2550)

    [/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New]
    21 ​
    [/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New][/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New].[/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New][/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New]. 2548
    16
    [/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New][/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New].[/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New][/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New]. 2550

    [/FONT]
     
  16. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    คาดชายฝั่งสหรัฐจมทะเลใน
    [FONT=Cordia New,Cordia New]100 [/FONT]ปี

    [FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]สำนักข่าวต่างประเทศรายงานเมื่อวันที่ [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]23[/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC][/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC].[/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC][/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]. [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]อ้างความเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านสภาพอากาศหลายคนที่คาดการณ์ว่าภาวะโลกร้อนจะทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นจนท่วมหลายพื้นที่ที่เป็นจุดก่อกำเนิดประเทศอเมริกาขึ้นในชั่วระยะเวลาประมาณ [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]100 [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]ปี อาทิ เมืองเจมส์ทาวน์ในรัฐเวอร์จิเนียซึ่งเป็นเมืองแรกที่ชาวอเมริกาเข้ามาตั้งรกราก หรือที่ฐานปล่อยจรวดในรัฐฟลอริดาซึ่งเป็นจุดส่งชาวอเมริกันคนแรกขึ้นสู่อวกาศ ตลอดจนย่านวอลล์สตรีทเดิม และหอคอยเก่าในย่านซิลิคอน วัลเลย์
    บรรดานักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลกคาดว่า ภาวะโลกร้อนที่ทำให้ธารน้ำแข็งแถบขั้วโลกละลาย ชั้นน้ำแข็งหายไป และน้ำอุ่นขึ้นนั้นจะทำให้มหาสมุทรต่างๆ มีระดับน้ำสูงขึ้นราว
    [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]1 [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]เมตร หรือประมาณ [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]39 [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]นิ้ว และเรื่องเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ว่าในอนาคตจะมีการออกมาตรการใดๆ มาเพื่อควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกก็ตาม และการที่น้ำท่วมใหญ่จะทำให้ประเทศต้องเปลี่ยนโฉมหน้าใหม่
    การคาดการณ์ครั้งนี้เป็นผลมาจากการจัดทำแผนที่แถบชายฝั่งทะเลของนักวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยอริโซนาที่จัดทำขึ้นโดยอาศัยข้อมูลจากกรมธรณีวิทยาสหรัฐ โดยนายเบนจามิน แซนเทอร์ นักฟิสิกส์ชั้นบรรยากาศประจำห้องทดลองแห่งชาติลอว์เรนซ์ ลิเวอร์มอร์ในแคลิฟอร์เนีย กล่าวว่า ระดับน้ำทะเลขึ้นสูงเป็นสิ่งที่ตัวเองเป็นห่วงมากที่สุดในฐานะนักวิทยาศาสตร์
    ขณะที่นายโดนัลด์ โบสช์ นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยแมริแลนด์ เสริมว่า สิ่งที่น่าเป็นห่วงไม่ใช่แค่เรื่องน้ำทะเลขึ้นสูงเท่านั้น แต่ยังมีอันตรายที่หนักหนาสาหัสกว่านั้นจากการที่พายุต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเฮอริเคน พายุในฤดูหนาว หรือพายุแถบชายฝั่งที่มีความรุนแรงมากขึ้น และเกิดขึ้นบ่อยครั้งขึ้น เพราะการที่น้ำทะเลสูงขึ้นหมายความว่ามีน้ำท่วมมากขึ้น และบ่อยขึ้นอันเป็นผลเกี่ยวเนื่องจากเหตุการณ์ร้ายแรงพวกนี้
    ทางด้านผู้อำนวยการสถาบันศึกษาดาวเคราะห์โลกประจำมหาวิทยาลัยอริโซนา กล่าวว่า น้ำทะเลที่ขึ้นสูงใน
    [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]48 [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]รัฐ ไม่รวมฮาวาย และอลาสกาจะทำให้ให้พื้นที่ราว [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]65,000 [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]ตารางกิโลเมตรตกอยู่ใต้น้ำ ซึ่งมีขนาดเท่ากับรัฐเวอร์จิเนียตะวันตก แต่ถ้ารวมอีก [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]2 [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]รัฐที่เหลือเข้าไปด้วยพื้นที่ที่จมน้ำก็จะยิ่งแผ่กว้างออกไปมากกว่านี้
    อย่างไรก็ตาม บรรดานักวิทยาศาสตร์ยังมีความเห็นไม่ตรงกันเรื่องเวลาที่จะเกิดน้ำท่วมใหญ่ โดยบางส่วนมองว่าอาจจะเกิดเร็วขึ้น คือ ภายใน
    [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]50 [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]ปี ขณะที่บางส่วนมองว่าอาจจะนานกว่านั้น คือ [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]150 [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]ปี
    [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]
    ----------------------------- ​
    [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]
    ที่มา ​
    [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]http://www.komchadluek.net/ [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]23 [/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New]กันยายน [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]2550

    [/FONT]
     
  17. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    เตือนภัยผลกระทบการพัฒนา ทำลายป่าอเมซอนราบใน40ปี

    ดร.ทิม คิลลีน นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมประจำองค์กร คอนเซอร์เวชั่น อินเตอร์เนชั่นแนล องค์กรรณรงค์เพื่อสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ เปิดเผยผลการศึกษาวิจัยผลกระทบระยะยาวด้านนิเวศวิทยาต่อพื้นที่ป่าอเมซอน จากโครงการ บูรณาการสาธารณูปโภคแห่งภูมิภาคอเมริกาใต้ (ไอไออาร์เอสเอ) ที่ได้รับการสนับสนุนจากหลายรัฐบาลในละตินอเมริกา ที่มีเป้าหมายเพื่อสร้างเครือข่ายถนนหนทาง ปรับปรุงการขนส่งทางน้ำ และการวางสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมการค้าขายการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศละตินอเมริกาด้วยกัน จะส่งผลทำให้พื้นที่ป่าอเมซอนทั้งหมดถูกทำลายไปโดยสมบูรณ์แบบภายในระยะเวลาเพียง 40 ปี

    ดร.คิลลีนระบุว่า โครงการดังกล่าวมีการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างดี แต่ทำเพียงเป็นจุดๆ โดยไม่ได้มองภาพรวมถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นทั้งหมด ทั้งนี้ผลกระทบสำคัญที่จะเกิดขึ้นนั้นไม่ได้เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันจากการก่อสร้าง แต่จะส่งผลทำลายสภาพป่าอเมซอนในทันทีที่โครงการดังกล่าวก่อสร้างแล้วเสร็จ

    ดร.คิลลีน ยกตัวอย่างเช่นแผนการสร้างโครงข่ายถนนแบบ มอเตอร์เวย์ ตัดผ่านพื้นที่ป่าอเมซอน จากเทือกเขาแอนดีส ไปยังพื้นที่ทุ่งหญ้าซาวันนาเขตร้อน แซร์ราโด เพื่อเชื่อมฝั่งทะเลแปซิฟิกกับแอตแลนติกเข้าด้วยกัน เมื่อควบคู่ไปกับการสร้างเขื่อนกั้นแม่น้ำอเมซอน ลอกพื้นแม่น้ำเพื่อปรับปรุงเส้นทางเดินเรือ และอื่นๆ จะส่งผลกระทบใหญ่หลวงและกินวงกว้างต่อสภาพนิเวศวิทยาของพื้นที่ป่าทั้งหมด การมีเส้นทางสัญจรผ่านพื้นที่ป่าทั้งทางน้ำและทางบกนอกจากจะเป็นการก่อกวนระบบนิเวศแล้วยังทำให้การเข้าถึงพื้นที่ป่าเพื่อตัดไม้ทำลายป่าและเผาพื้นที่สำหรับทำการเกษตรทำได้ง่ายขึ้นมาก

    การที่พื้นที่ป่าถูกทำลายลงจะส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศของโลกโดยตรง ในทางตรงกันข้าม ดร.คิลลีน ระบุว่า หากบรรดาประเทศในแถบอเมซอน ตกลงกันได้ในอันที่จะลดการทำลายป่าลงแค่ 5 เปอร์เซ็นต์ในช่วงระยะเวลา 30 ปี จะสามารถช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและก่อให้เกิดรายได้ไม่น้อยกว่า 3,000 ล้านดอลลาร์ต่อปีในช่วงเวลาดังกล่าว

    http://www.matichon.co.th/news_detail.php?id=6667&catid=27
     
  18. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
  19. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
     
  20. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    UNชี้ไทยคืบหน้าเป้าพัฒนาสหัสวรรษ ยกเว้นการเพิ่มพื้นที่ป่า-ลดก๊าซโลกร้อน <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">9 ตุลาคม 2550 06:01 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table><table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="right" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="5">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="300"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="300"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">ปัญหาโลกร้อนซึ่งเกิดจากการปล่อยก๊าซคาร์บอนสู่ชั้นบรรยากาศ</td></tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> ผู้จัดการรายวัน/เอเอฟพี - รายงานฉบับใหม่ที่สหประชาชาติ(ยูเอ็น)จัดทำร่วมกับธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย(เอดีบี) ชี้ประเทศไทยดำเนินการตามเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ(เอ็มดีจี) ประสบผลสำเร็จได้เร็วกว่าที่ตั้งเป้าไว้ในหลายๆเรื่องๆ เช่น ลดจำนวนการเสียชีวิตในเด็ก รณรงค์ให้ชายและหญิงเท่าเทียมกัน ลดจำนวนผู้มีรายได้น้อย และอื่นๆอีกมากมาย ทว่า การเพิ่มพื้นที่ป่าและการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนยังไม่ก้าวหน้าหรือถึงขั้นถอยหลังเข้าคลอง

    เมื่อวานนี้(8) คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ ประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (ยูเอ็นเอสแคป) ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย(เอดีบี) และองค์การโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ(ยูเอ็นดีพี) แถลงเปิดตัวรายงาน "เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ: ความคืบหน้าในเอเชียและแปซิฟิกในปี2007"

    รายงานระบุว่าเอเชียแปซิฟิกแซงหน้าละตินอเมริกาและภูมิภาคซับซาฮาราในแอฟริกา ในเป้าหมายเรื่องการเดินหน้าลดความยากจนขั้นรุนแรงให้เหลือเพียงครึ่งหนึ่ง ให้ประชาชนเข้าถึงการศึกษาระดับประถมอย่างทั่วถึง และทำให้ทั้งชายและหญิงมีโอกาสทางการศึกษาได้เท่าเทียมกัน ภายในปี2015 ตามที่เอ็มดีจีกำหนดไว้

    ในส่วนของประเทศไทยนั้น รายงานฉบับนี้ระบุว่าไทยประสบความสำเร็จในการแก้ปัญหาต่างๆตามที่ระบุไว้ในเอ็มดีจี ได้เร็วกว่าที่ตั้งเป้าไว้ เช่น การลดจำนวนผู้มีรายได้น้อยกว่าวันละ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ(ราว 34 บาท) กรคสนับสนุนให้ชายและหญิงมีโอกาสทางการศึกษาในชั้นประถม มัธยม และอุดมศึกษา เท่าเทียมกัน การลดอัตราการเสียชีวิตในทารกและเด็กที่อายุต่ำกว่า 5 ปี การลดการแพร่กระจายของเชื้อวัณโรค และลดอัตราการเสียชีวิตจากเชื้อวัณโรค ขณะที่แม้จะยังไม่สามารถขจัดโรคเอดส์ให้หมดไป แต่น่าจะยุติการแพร่กระจายของเชื้อเอชไอวีภายในปี2015 และเริ่มทำให้เชื้อเอชไอวีแพร่กระจายน้อยลงเรื่อยๆ ตามที่เอ็มดีจีกำหนดไว้

    ทว่า การแก้ปัญหาเรื่องพื้นที่ป่าและการปล่อยก๊าซคาร์บอนในไทยยังคงไม่คืบหน้าหรืออาจถึงขึ้นย่ำแย่ลงกว่าในอดีตเสียอีก ทั้งนี้ รายงานฉบับนี้ระบุว่าเมื่อปี1990 ไทยมีพื้นที่ป่า 31.2% แต่ในปี2005 พื้นที่ป่าลดเหลือ 28.4%

    สำหรับปริมาณก๊าซคาร์บอนที่ไทยปล่อยออกมานั้น เมื่อปี1990 ไทยปล่อยก๊าซคาร์บอน 1.8 เมตริกตัน ต่อประชากร 1 คน ต่อมาในปี2004 ไทยปล่อยก๊าซคาร์บอน 4.3 เมตริกตัน ต่อประชากร 1 คน

    รายงานฉบับนี้ระบุว่า ประเด็นที่ถือเป็นความท้าทายอันใหญ่หลวงที่สุดที่เอเชียแปซิฟิกต้องเผชิญก็คือ การเสียชีวิตของเด็ก การขาดอาหาร การพัฒนาสุขภาพของมารดา การจัดหาน้ำดื่มที่สะอาดปลอดภัย และจัดหาสาธารณูปโภคด้านสุขอนามัย

    65% ของจำนวนเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์จากทั่วโลก อาศัยอยู่ในเอเชียและแปซิฟิก ทั้งนี้ ในหลายประเทศเอเชียมีจำนวนเด็กที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มากกว่าในประเทศแถบซับซาฮารา

    ยิ่งไปกว่านั้น ในเอเชียแปซิฟิกนั้น ทุกๆปี เด็กๆหกในร้อยคนจะมีชีวิตอยู่ไม่ถึง 5 ปี ถือเป็นอัตราการเสียชีวิตของเด็กสูงเกือบเป็นสองเท่าของละตินอเมริกาและแถบแคริบเบียน

    อัตราการเสียชีวิตของมารดาระหว่างคลอดบุตรในเอเชียแปซิฟิกนั้นคิดเป็นเกือบครึ่งหนึ่งของยอดรวมตัวเลขการเสียชีวิตของมารดาระหว่างคลอดบุตรจากทั่วโลก

    รายงานฉบับนี้ยังระบุว่ามีประชาชนกว่า 560 ล้านคนซึ่งอาศัยอยู่ในชนบทในเอเชียแปซิฟิกไม่สามารถเข้าถึงแหล่งน้ำที่ได้รับการปรับปรุงให้สะอาดปลอดภัย และประชาชนอีกกว่า 1,500 ล้านคนไม่มีสาธารณูปโภคด้านสุขอนามัยขั้นพื้นฐาน

    </td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table> [​IMG]
     

แชร์หน้านี้

Loading...