เตือนเรื่อง โรคระบาด !!!!!!!!!!!! - โรคที่อาจมาหลังน้ำท่วม

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 12 มกราคม 2007.

  1. หลับตา

    หลับตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    716
    ค่าพลัง:
    +3,151
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width="96%" align=center border=0><TBODY><TR><TD height=70>ชาวเปรูป่วย200 จากแก๊สปริศนาในหลุมใหญ่ </TD></TR><TR><TD vAlign=top bgColor=#ededed>09:16 น. เจ้าหน้าที่และนักวิทยาศาสตร์เปิดเผยว่า มีชาวบ้านประมาณ 200 คน ในหมู่บ้านเกษตร"คาแรนคาส"ล้มป่วย มีอาการปวดหัว คลื่นไส้ อาเจียน และมีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ จากแก๊สลึกลับที่แพร่ออกมาจากหลุมบนพื้นดิน ขนาดกว้าง 20 เมตร ลึก 8 เมตร ซึ่งเชื่อกันว่าเกิดจากอุกาบาตตกทางตะวันออกเฉียงใต้ของเปรู บริเวณใกล้พรมแดนติดกับโบลิเวีย เมื่อวันเสาร์ แต่เจ้าหน้าที่ตรวจด้วยเครื่องมือแล้วไม่พบการแผ่รังสีใดใด ปัจจุบันยังไม่พบผู้ป่วยหนัก แต่เจ้าหน้าที่จะทำการตรวจเลือดกับระบบประสาทของผู้ป่วยในช่วง 3-6 เดือนข้างหน้า เพื่อป้องกันไว้ก่อน </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="96%" align=center border=0><TBODY><TR><TD align=right width="65%" bgColor=#ededed>[​IMG]</TD><TD align=right width="35%">[​IMG] [​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width="96%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>เนชั่นทันข่าว</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • อังกฤษยืนยันเกิดเชื้อโรคปากเท้าเปื่อยระบาดรอบ 6[​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย ผู้จัดการออนไลน์ [ 22-09-2550 | 08:47 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> กระทรวงสิ่งแวดล้อมกิจการสิ่งแวดล้อม อาหาร และท้องถิ่นของอังกฤษ รายงานวานนี้โดยยืนยันว่า เกิดการระบาดของเชื้อปากเท้าเปื่อยเป็นครั้งที่ 6 นับตั้งแต่เดือนสิงหาคมเป็นต้นมา ที่ฟาร์มแห่งหนึ่งในภาคใต้ของอังกฤษเมื่อวานนี้ หลังจากที่วัวที่เลี้ยงไว้ในฟาร์มดังกล่าว แสดงอาการของการติดเชื้อไวรัสโรคปากเท้าเปื่อย จึงได้รับคำสั่งให้ทำลายวัวที่ติดเชื้อดังกล่าว ซึ่งเกิดขึ้นในบริเวณเดียวกับ พื้นที่ที่เกิดการระบาดของเชื้อปากเท้าเปื่อยอื่น อีก 3 แห่งก่อนหน้านี้ ส่วนพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคนี้ อีก 2 แห่งอื่นได้รับการยืนยัน นับตั้งแต่ได้มีการระบาดของโรคนี้ครั้งแรก เมื่อเดือนสิงหาคม พื้นที่ที่มีการระบาดของโรคนี้ ทั้งหมดอยู่ในเขตเมืองเซอร์เรย์ ที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  3. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • พบผู้ป่วยติดเชื้ออีโบล่า 9 ราย ในคองโก ขณะที่ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษา[​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย สำนักข่าวไทย [ 22-09-2550 | 10:26:42น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> เจ้าหน้าที่องค์การอนามัยโลกเผย พบผู้ป่วยติดเชื้ออีโบล่า 9 ราย ในคองโก ขณะที่ปัจจุบัน ยังไม่มีวิธีการรักษาโรคดังกล่าว
    นางคริสเตียน่า ซิลวี โฆษกองค์การอนามัยโลกประจำคองโก ระบุว่า จากผลการตรวจ ของห้องปฏิบัติการยืนยันได้ว่า ผู้ป่วยทั้ง 9 คน ติดเชื้ออีโบล่า ซึ่งโรคดังกล่าวจะทำให้ผู้ป่วยมีอาการไข้สูง ถ่ายเป็นเลือด
    การระบาดของเชื้ออีโบล่าครั้งล่าสุดนี้ พบผู้รายป่วยแรกเมื่อวันที่ 27 เมษายนที่ผ่านมา ในแคว้นคาไซตะวันตก ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาโรคดังกล่าวโดยตรง จึงทำให้ ผู้ป่วยมีโอกาสเสียชีวิตสูงถึงร้อยละ 80 ซึ่งเมื่อหลายปีก่อน เคยมีการระบาดครั้งใหญ่ ในคองโก ทำให้มีผู้เสียชีวิตไปถึง 174 คน
    อย่างไรก็ดี โฆษกองค์การอนามัยโลกระบุว่า ผู้เชี่ยวจากสหรัฐ และแคนาดา เตรียมจะเดินทางเข้ามาตั้งห้อง ปฏิบัติการในพื้นที่ ที่มีการระบาดของโรค ซึ่งคาดว่า จะเริ่มลงมือปฏิบัติงานได้ในวันจันทร์นี้
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  4. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • อังกฤษพบไวรัส บลูทังเป็นครั้งแรกในวัว [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์ [ 23-09-2550 | 07:26 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> ห้องปฏิบัติการแห่งหนึ่งของอังกฤษพบไวรัส บลูทัง ในวัว ทางตะวันออกของประเทศ ซึ่งกระทรวงเกษตรระบุว่า เป็นการค้นพบโรคชนิดนี้เป็นครั้งแรกในอังกฤษ และถือเป็นความถดถอยครั้งใหม่ สำหรับอุตสาหกรรมเกษตรของอังกฤษ
    กระทรวงสิ่งแวดล้อมฝ่ายกิจการอาหาร และชนบทของอังกฤษแถลงว่า การทดสอบในห้องปฏิบัติการพบไวรัส บลูทังในวัวตัวหนึ่งใกล้กับเมืองอิปส์วิช ซึ่งบริเวณดังกล่าว ถูกจำกัดความเคลื่อนไหวแล้ว โดยวัวที่ติดเชื้อจะต้องถูกฆ่าทิ้ง และจะมีการสอบสวนโรคเพื่อประเมินสถานการณ์ต่อไป ไวรัส บลูทังจะทำให้สัตว์ที่ติดเชื้อมีอาการไข้และเป็นแผลพุพองในปาก ซึ่งบางกรณีอาจทำให้ลิ้นของสัตว์เปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน โดยมีแมลงหลายชนิดเป็นพาหะ เช่น ริ้น เป็นต้น และสามารถถ่ายทอดเชื้อได้ในแกะ และวัว แต่ไม่ติดเชื้อในคน โรคบลูทัง มักจะพบในประเทศแถบทะเลเมดิเตอเรเนียน เช่น อิตาลี สเปน และในแอฟริกาเหนือ แต่ได้แพร่ระบาด อย่างกว้างขวางในปีนี้ข้ามไปยังฝั่งยุโรปทางตอนเหนือ 5 ประเทศ ได้แก่เบลเยี่ยม ฝรั่งเศส เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก และเนเธอร์แลนด์ การค้นพบโรคชนิดนี้ในอังกฤษ มีขึ้นเพียง 1 วัน หลังจากทางการอังกฤษยืนยันว่าพบโรคปาก และเท้าเปื่อยในวัว อีก 1 ตัว ซึ่งเป็นตัวที่ 6 นับตั้งแต่วันที่ 3 สิงหาคมที่ผ่านมา โดยทางการอังกฤษได้ฆ่าทิ้งวัวตัวดังกล่าวแล้ว
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  5. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • อังกฤษพบวัวติดเชื้อไวรัสบลูทังตัวที่ 4 [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย ทีมข่าว INN News [ 27-09-2550 | 11:48:53 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> อังกฤษยืนยันพบวัวติดเชื้อไวรัสบลูทังตัวที่ 4 ในฟาร์มทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงลอนดอน
    ผู้เชี่ยวชาญของอังกฤษยืนยันพบวัวติดเชื้อไวรัสบลูทังตัวที่ 4 ในฟาร์มใกล้เขตอิปสวิช ในเขตซัฟฟอล์ค ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงลอนดอน และเจ้าหน้าที่จะฆ่าวัวตัวดังกล่าว เพื่อควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ โดยฟาร์มแห่งนี้นับเป็นแห่งที่ 3 ที่พบวัวติดเชื้อไวรัสบลูทัง หลังจากที่พบครั้งแรก เมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา แต่เจ้าหน้าที่อังกฤษยังไม่มีหลักฐานที่จะพิสูจน์ให้เห็นว่า เชื้อไวรัสดังกล่าวได้ระบาดในอังกฤษแล้ว เชื้อไวรัส บลูทังจ์ เป็นเชื้อที่มีแมลงเป็นพาหะทำให้สัตว์ที่ติดเชื้อเป็นไข้ มีอาการบวม และเลือดคั่งบริเวณปาก จมูกและหู มีการลอกหลุดของเยื่อบุบริเวณปาก และจมูก ซึ่งในสัตว์ที่มีอาการรุนแรงอาจถึงตายได้ เชื้อนี้ มักจะพบการระบาดอยู่ในประเทศแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แต่เมื่อปีที่แล้วพบสัตว์ติดเชื้อ ในยุโรปทางเหนือหลายประเทศ รวมทั้งเนเธอร์แลนด์
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  6. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    สธ.สั่งทุกจังหวัดเข้มงวดหวัดนก หวั่นระบาดปลายฝนต้นหนาว <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">28 กันยายน 2550 15:10 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> สธ.ส่งทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็วลงพิจิตร สั่งเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังการป่วยเจ้าของไก่และเพื่อนบ้าน 40 คน จนครบ 21 วัน ล่าสุดยังไม่พบรายใดป่วยมีไข้ พร้อมกำชับให้ทุกจังหวัด เฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกอย่างเข้มข้น หวั่นเชื้อไข้หวัดกนกคืนชีพ ระบาดช่วงปลายฝนต้นหนาว ย้ำเตือนประชาชนทุกคนให้เคร่งครัดการป้องกัน อย่านำไก่ป่วยหรือตายมาเชือดกินอย่างเด็ดขาด ให้แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือปศุสัตว์ทันที

    นพ.มงคล ณ สงขลา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวถึงการเตรียมความพร้อมป้องกันโรคไข้หวัดนกในคน หลังจากที่มีไก่ในพื้นที่จังหวัดพิจิตร ป่วยตายประมาณ 70 ตัว ว่า ได้สั่งการให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร ส่งทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว หรือเอสอาร์อาร์ที (SRRT : Surveillance and Rapid Response Team) เข้าไปในพื้นที่ที่มีไก่ตาย คือหมู่ 1 ต.วังสำโรง อ.ตะพานหิน และหมู่ 2 หมู่ 13 ต.เนินสว่าง อ.โพธิ์ประทับช้าง จ.พิจิตร โดยได้เฝ้าระวังการป่วยในคน โดยเฉพาะเจ้าของบ้านที่มีไก่ตายและผู้ที่อยู่บริเวณโดยรอบ ซึ่งมีทั้งหมด 40 คน จะติดตามวัดไข้และอาการป่วยทุกวัน จนครบ 21 วัน และได้ติดสติ๊กเกอร์การเฝ้าระวัง ระบุวันสัมผัสสัตว์ปีก/ป่วยตาย ที่บัตรทอง บัตรโรงพยาบาล หรือบัตรประจำตัวประชาชนของทุกคนไว้ เพื่อให้โรงพยาบาลทราบประวัติ จะทำให้แพทย์ตรวจวินิจฉัยโรคได้อย่างถูกต้อง รักษาได้ทันท่วงที ขณะนี้ยังไม่พบรายใดมีไข้

    นพ.มงคล กล่าวต่อว่า ในส่วนของจังหวัดอื่น ๆ ไม่ว่าจะมีหรือไม่มีปัญหาสัตว์ปีกป่วยตายก็ตาม ได้สั่งการให้เฝ้าระวังการติดเชื้ออย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะ 25 จังหวัดที่อยู่ในแถบภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางซึ่งเป็นแหล่งที่มีสัตว์ปีกติดเชื้อ เนื่องจากขณะนี้ย่างก้าวสู่ปลายฝนต้นหนาว สภาพอากาศเริ่มเย็นลง จะเอื้อให้เชื้อไวรัสไข้หวัดนกที่อาจมีประจำถิ่นอยู่ก่อน เจริญเติบโตและแพร่ระบาดขึ้นมาอีกได้ แม้ว่าในรอบเกือบ 13 เดือนที่ผ่านมา ไทยยังไม่พบผู้ป่วยโรคไข้หวัดนกรายใหม่ หลังจากพบผู้ป่วยรายสุดท้ายเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2549 ก็ไม่ควรนิ่งนอนใจอย่างเด็ดขาด ขอให้ อสม.เคาะประตูบ้านสอบถามอาการของคนและการป่วยตายของสัตว์ปีกทุกวัน และให้รายงานผลส่งจังหวัดทุกวัน ไม่ว่าจะมีหรือไม่มีความผิดปกติก็ตาม

    ส่วนประชาชนขอให้ยึดหลักปฏิบัติความปลอดภัยไข้หวัดนกอย่างต่อเนื่อง คืออย่าปิดบังเมื่อมีสัตว์ปีกป่วยตาย ไม่กินไก่หรือสัตว์ปีกอื่นๆ ที่ป่วยหรือตายผิดปกติ ขอให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรืออสม.หรือเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ทันที ไม่ใช้มือเปล่าสัมผัสสัตว์ปีกป่วยตาย และล้างมือหลังสัมผัสสิ่งของอื่นๆ ทุกครั้ง หากมีประวัติสัมผัสสัตว์ปีกป่วยตายและเจ็บป่วยขึ้น ขอให้แจ้งเจ้าหน้าที่และแพทย์ผู้รักษาทันที จะลดการเสียชีวิตได้

    ด้านนพ.ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า จากการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคปอดบวม โรคไข้หวัดใหญ่ ในโรงพยาบาลทั่วประเทศ เพื่อคัดกรองหาการป่วยจากโรคไข้หวัดนกเป็นชั้นที่ 2 หลังจากที่เฝ้าระวังการป่วยจากหมู่บ้านแล้วเพื่อสร้างความมั่นใจประชาชน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคมถึงวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2550 ตรวจทั้งหมด 1,909 รายจาก 67 จังหวัด ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการยังไม่พบการติดเชื้อโรคไข้หวัดนกเอช 5 เอ็น 1 แต่อย่างใด ส่วนสถานการณ์การป่วยของประชาชนจากโรคไข้หวัดนกทั่วโลกในปี 2550 องค์การอนามัยโลกรายงานพบป่วย 65 คน เสียชีวิต 42 คนใน 7 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา จีน อียิปต์ อินโดนีเซีย ลาว ไนจีเรีย และเวียดนาม โดยยอดสะสมตั้งแต่พ.ศ. 2546 จนถึงปี 2550 ป่วยทั้งหมด 328 คน เสียชีวิต 200 คนใน 12 ประเทศ
     
  7. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" height="45" width="522"><tbody><tr><td height="24" valign="bottom" width="500"> นักวิทยาศาสตร์ชี้ทารกในครรภ์อาจติดเชื้อไข้หวัดนกจากมารดา <!-- End Show Head --> </td> <td width="10"> </td> </tr> <tr> <td>[​IMG]</td> <td bgcolor="#d7d4d2">[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="10"> </td> <td height="20">โดยทีมข่าว INN News <!-- Show Date --> 28 กันยายน 2550 16:49:56 น. [​IMG] <!-- End Show Date --> </td> <td width="10"> </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="522"> <tbody><tr> <td>[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="522"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td width="502">
    [​IMG]
    </td> <td width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table align="center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" height="300" width="522"> <tbody><tr> <td width="20"> </td> <td bgcolor="#dae4ea" width="462"> <table align="center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" height="300" width="460"> <tbody><tr> <td bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="522"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td bgcolor="#d3d4d4" width="500">[​IMG]</td> <td align="left" width="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" height="300" width="522"> <tbody><tr> <td width="10">
    </td> <td bgcolor="#d3d4d4" width="1">[​IMG]</td> <td valign="top" width="140">
    </td> <td bgcolor="#d3d4d4" width="1">[​IMG]</td> <td valign="top" width="2">
    </td> <td valign="top" width="368">
    <!-- Show Detail -->
    นักวิทยาศาสตร์ชี้ว่า ทารกในครรภ์ของมารดาที่ติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์เอช 5 เอ็น 1 อาจติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนกจากมารดาผ่านสายรก



    คณะนักวิทยาศาสตร์ที่นำทีมโดยนายเจียง กู้ แห่งมหาวิทยาลัยปักกิ่ง ได้ร่วมกันศึกษาเนื้อเยื่อของตัวอย่างผู้ป่วยไข้หวัดนกที่เสียชีวิต 2 คน ที่เป็นผู้ใหญ่ทั้งคู่ ชาย 1 และหญิง 1 และพบว่า เชื้อไวรัสสายพันธุ์เอช 5 เอ็น 1 อาจติดต่อจากมารดาถึงทารกในครรภ์ผ่านสายรก อีกทั้งยังพบเชื้อไวรัสไข้หวัดนกแพร่กระจายไปยังปอด เซลล์ภูมิคุ้มกัน และเซลล์ตับของทารกในครรภ์ด้วย

    คณะนักวิทยาศาสตร์ยังพบว่า นอกจากปอด ซึ่งเป็นจุดที่เชื้อไวรัสไข้หวัดนกก่อตัวแล้ว เชื้อไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์เอช 5 เอ็น 1 ยังสามารถแพร่กระจายไปยังอวัยวะต่าง ๆ ของผู้ติดเชื้อที่เป็นผู้ใหญ่ด้วย เช่น หลอดลม ลำไส้ ต่อมน้ำเหลือง เซลล์ของระบบประสาทในสมองโดยเชื้อไวรัสสายพันธุ์อันตรายนี้ จะทำลายการทำงานของปอด และถ้าเชื้อแพร่กระจายถึงลำไส้ ก็จะทำให้เกิดอาการท้องร่วงในผู้ติดเชื้อถึงร้อยละ 70

    อย่างไรก็ตาม คณะนักวิทยาศาสตร์ระบุว่า ผลการศึกษาเบื้องต้นนี้ ซึ่งได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารการแพทย์ "เดอะ แลนเซ็ต" ของอังกฤษ ในวันนี้ จำเป็นต้องผ่านการทดลองในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ต่อไปอีกหลายครั้ง ก่อนที่จะสามารถยืนยันผลได้อย่างแน่นอน

    ทั้งนี้ เชื้อไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์เอช 5 เอ็น 1 เป็นสายพันธุ์ที่มีสถิติการติดต่อสูง และคร่าชีวิตของผู้ติดเชื้อถึงราวร้อยละ 60 บรรดานักวิทยาศาสตร์วิตกว่า เชื้อไวรัสสายพันธุ์อันตรายนี้ อาจกลายพันธุ์ และสามารถติดต่อจากคนสู่คนได้อย่างง่ายดาย เช่น การแพร่ระบาดของไข้หวัดใหญ่ครั้งใหญ่ เมื่อปี 2461 ที่คร่าชีวิตผู้คนทั่วโลกถึงอย่างน้อย 20 ล้านคน อย่างไรก็ดี ปัจจุบันเหยื่อไข้หวัดนกยังติดเชื้อจากการสัมผัสไก่ที่ติดเชื้อ และยังไม่มีการแพร่ระบาดจากคนสู่คน แม้จะมีรายงานการแพร่เชื้อจากคนสู่คนบางรายในอินโดนีเซียก็ตาม

    รายงานขององค์การอนามัยโลก (ดับเบิลยูเอชโอ) ระบุว่า เชื้อไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์เอช 5 เอ็น 1 เริ่มแพร่ระบาดครั้งแรกในโลกเมื่อปี 2540 ในฟาร์มสัตว์ปีกของมณฑลเสฉวน ทางภาคใต้ของจีน และมีสถิติการแพร่ระบาดกระจายไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วโลกอย่างกว้างขวาง นับจากปี 2546 ทำให้มีผู้ติดเชื้อไข้หวัดนกสายพันธุ์นี้แล้ว 328 คนทั่วโลก ในจำนวนนี้เสียชีวิตแล้ว 200 คน.

    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  8. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เตือนระวัง 6 โรคมาพร้อมน้ำท่วม</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>30 กันยายน 2550 13:05 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> สธ.กำชับทุกพื้นที่ติดตามเฝ้าระวังโรคติดต่อที่มักมากับน้ำท่วมขังอย่างใกล้ชิด ซึ่งโรคติดต่อที่พบได้บ่อยมีทั้งหมด 6 โรค ได้แก่ โรคฉี่หนู หรือเลปโตสไปโรซิส อหิวาตกโรค โรคไข้ไทฟอยด์ โรคตับอักเสบเอ โรคไข้เลือดออก และโรคตาแดง

    นพ.ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับการเตรียมพร้อมรับมือสถานการณ์น้ำท่วมว่า จากการติดตามสถานการณ์พบยังมีน้ำท่วมขังเล็กน้อยในจังหวัดพิจิตร อ่างทอง พิษณุโลก รวมทั้งบริเวณพื้นที่ที่อยู่ริมแม่น้ำในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขณะนี้ สธ.กำชับทุกพื้นที่ติดตามเฝ้าระวังโรคติดต่อที่มักมากับน้ำท่วมขังอย่างใกล้ชิด ซึ่งโรคติดต่อที่พบได้บ่อยมีทั้งหมด 6 โรค ได้แก่ โรคฉี่หนู หรือเลปโตสไปโรซิส อหิวาห์ตกโรค โรคไข้ไทฟอยด์ โรคตับอักเสบเอ โรคไข้เลือดออก และโรคตาแดง

    ทั้งนี้ ถึงกลางเดือนกันยายนที่ผ่านมา พบผู้ป่วยโรคฉี่หนูจำนวน 1,639 ราย มากที่สุดที่จังหวัดกาฬสินธุ์ 68 ราย เชียงราย 37 ราย ขอนแก่น 26 ราย อุบลราชธานี 24 ราย น่าน 14 ราย เสียชีวิต 23 ราย ส่วนอหิวาห์ตกโรค พบผู้ป่วย 285 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต โรคไข้ไทฟอยด์ จำนวน1,951 ราย เสียชีวิต 4 ราย โรคตับอักเสบ เอ 234 ราย เสียชีวิต 8 ราย พบที่ภาคเหนือมากที่สุด 104 ราย ตาแดง จำนวน 64,371 ราย และไข้เลือดออกจำนวน 41,536 ราย เสียชีวิต 39 ราย

    เมื่อเปรียบเทียบสถานการณ์กับช่วงเดียวกันในปีที่ผ่านมา โรคที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นต้องควบคุมเฝ้าระวังเป็นพิเศษมี 2 โรค ได้แก่ โรคฉี่หนู และโรคไข้เลือดออก ดังนั้น ขอให้ประชาชนให้ความสำคัญเรื่องความสะอาดน้ำดื่ม น้ำอุปโภคบริโภค การทำความสะอาดบ้านเรือน การกำจัดขยะมูลฝอยเพื่อป้องกันโรคติดต่อ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  9. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    <table class="news2006_topic" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="595"><tbody><tr><td height="10" width="585"><table class="news2006_topic" border="0" width="100%"><tbody><tr><td align="left" valign="bottom">จีนห้ามนำเข้าสัตว์ปีกจากแคนาดา
    เพื่อป้องกันการระบาดของโรคไข้หวัดนก.
    </td> <td align="right" width="100">
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td>[​IMG]</td> </tr> <tr> <td class="news2006_graylight" height="10">โดย กรมประชาสัมพันธ์ <script language="JavaScript" src="http://news.sanook.com/global_js/global_function.js"></script><!--START-->วัน จันทร์ ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2550 19:50 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="595"> <tbody><tr> <td height="10">
    </td> </tr> </tbody></table> <table class="news2006_black" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="595"><tbody><tr><td rowspan="4" width="10">
    </td> <td width="575"><!--img001:m:r-->จีนห้ามนำเข้าสัตว์ปีกจากแคนาดาหลังพบเชื้อไข้หวัดนกในฟาร์มแห่งหนึ่ง ทางตะวันตกของแคนาดา สำนักข่าวซินหัวของทางการจีนรายงานว่า ข้อห้ามดังกล่าวจะครอบคลุมถึง สัตว์ปีกทุกประเภทและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับสัตว์ปีก รวมทั้งการส่งคืนหรือการทำลายผลิตภัณฑ์ที่นำเข้าหลังวันที่ 23 กันยายนที่ผ่านมา ส่วนผลิตภัณฑ์สัตว์ปีกทั้งหมดของแคนาดาที่ต้องส่งผ่านจีนไปยังประเทศที่สามจะต้องผ่านการรับรองว่าปลอดเชื้อ ทั้งนี้สำนักงานตรวจสอบอาหารของแคนาดารายงานเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่า พบเชื้อไข้หวัดนกสายพันธุ์ เอช 7 เอ็น 3 (H7N3) ในฟาร์มสัตว์ปีกแห่งหนึ่งแต่ไม่ใช่สายพันธุ์ที่เป็นอันตรายต่อคน โดยทางการแคนาดาได้ประกาศให้ฟาร์มดังกล่าวเป็นเขตกักกันแล้ว ส่วนไข้หวัดนกสายพันธุ์ เอช 5 เอ็น 1 (H5N1) ที่ยังคงระบาดในเอเชีย แอฟริกาและยุโรปทำให้มีผู้เสียชีวิตแล้วประมาณ 200 คน.
    </td></tr></tbody></table>
     
  10. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    "หมอมงคล"หวั่นหวัดนก-ซารส์ระบาดอีกในช่วงฤดูหนาว
    3 ตุลาคม 2550 14:00 น.

    รมว.สาธารณสุข ลั่นเดินหน้านโยบายเพิ่มอาสาสมัครสาธารณสุข 8 แสนคนเป็น 1 ล้านคนภายใน 2 ปี สั่งจับตาหวัดนก- ซารส์หวั่นระบาดอีก ด้านผอ.องค์กรอนามัยโลกประจำภูมิภาคฯ เผย ระยะ 20 ปี โรคใหม่เกิดกว่า 30 ชนิด เหตุไทยไม่พัฒนาระบบสาธารณสุข พร้อมรณรงค์ลดปริมาณการใช้ยา

    (3ตค.) องค์การอนามัยโลกประจำภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้(SEAR) จัดประชุมเรื่อง “การพัฒนาบริการสาธารณสุขมูลฐานและบุคลากรสาธารณสุขชุมชน รวมทั้งอาสาสมัครสาธารณสุข” (Revisiting Community-based Health Workers and Community Health Volunteers) ระหว่างวันที่ 3-5 ตุลาคม 2550 ที่โรงแรมดิเอ็มเพรส อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีผู้แทนจากประเทศสมาชิกจำนวน 11 ประเทศ จำนวนกว่า 100 คนเข้าร่วมประชุม และมีนายแพทย์มงคล ณ สงขลา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ฮาฟเดน มาเลอร์ (Dr.H. Mahler) อดีตผู้อำนวยการใหญ่องค์การอนามัยโลก และนายแพทย์สำลี เปลี่ยนบางช้าง ผู้อำนวยการองค์กรอนามัยโลกประจำภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ร่วมเปิดการประชุม

    นายแพทย์มงคล ณ สงขลา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า การจัดการประชุมในครั้งนี้มีความสำคัญต่อประเทศไทยมาก เพราะจะช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบสาธารณสุขไทย เนื่องจากปัจจุบันพบว่ามีปัญหาที่สำคัญ 3 เรื่องได้แก่ 1. การเพิ่มจำนวนของผู้สูงอายุทุกประเทศทั่วโลกที่มีถึง 2,000 ล้านคน จากจำนวนประชากร 8, 000 ล้านคนทั่วโลก

    2.โรคติดต่อที่กลับมาระบาดในขั้นรุนแรง เช่นโรคเอดส์, วัณโรค, มาลาเรีย ตลอดจนโรคระบาดใหม่โดยเฉพาะโรคไข้หวัดนกและ, 3. โรคที่เกิดขึ้นจากพฤติกรรมการรักษาสุขภาพ ซึ่งรักษาไม่หายขาดได้แก่ โรคเบาหวาน, ความดันโลหิตสูงและ, โรคมะเร็ง ซึ่งพบว่าประชากรในภูมิภาคนี้จำนวนกว่า 36 ล้านคนเสี่ยงต่อเสียชีวิตจากปัญหาดังกล่าว ดังนั้นทุกประเทศจึงต้องเร่งพิจารณาคิดค้นนวัตกรรมในงานสาธารณสุขมูลฐาน เพื่อให้สามารถควบคุมปัญหาที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว

    นายแพทย์มงคล กล่าวต่อว่า ในส่วนของประเทศไทยนั้นมีความต่อเนื่องในการพัฒนาระบบสาธารณสุขมาโดยตลอด ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายที่จะเพิ่มจำนวนอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)จาก 8 แสนคนเป็น 1 ล้านคนภายใน 2 ปี โดยจะร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการดำเนินงาน นอกจากนั้นจะมีการเฝ้าระวังโรคติดต่อใหม่ๆเช่นไข้หวัดนกและโรคซาร์ส์ เพื่อป้องกันไม่ให้มีการระบาดเกิดขึ้นในพื้นที่

    ด้านนายแพทย์สำลี เปลี่ยนบางช้าง ผู้อำนวยการองค์กรอนามัยโลกประจำภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ กล่าวว่า ที่ผ่านมารัฐบาลไทยไม่ได้ให้ความสำคัญกับระบบสาธารณสุขเท่าที่ควร ซึ่งหากมีการพัฒนาระบบสาธารณสุขให้ได้มาตรฐาน เชื่อว่าจะสามารถช่วยลดภาระโรคที่เกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี

    อย่างไรก็ตาม ระยะเวลากว่า 20 ปีที่ผ่านมาพบว่ามีโรคที่เกิดขึ้นใหม่จำนวนถึงกว่า 30 โรค โดยบางโรคยังไม่ทราบสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการรักษาโรค ทั้งนี้พบว่ามีหลายสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคใหม่ขึ้นทั้ง เรื่องการเปลี่ยนแปลงของโลก,เรื่องของระบบนิเวศน์, การใช้สารเคมีตลอดจนภาวะโลกร้อน ( Global warming ) โดยจะมุ่งให้ลดการใช้เวชภัณฑ์ที่พบว่ามีปริมาณมากเกินความจำเป็น โดยชักจูงให้ประชาชนหันมาให้ความสนใจในการรักษาสุขภาพ ด้วยการออกกำลังการ, การกินอาหารที่มีประโยชน์แทน
     
  11. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    เผย20ปีที่ผ่านมามีโรคเกิดใหม่ถึง30โรค

    โดยทีมข่าว INN News 03 ตุลาคม 2550 18:52:16 น.





    ผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลก ประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เผย 20 ปีที่ผ่านมามีโรคเกิดใหม่ 30 โรค บางโรคยังไม่มีทางรักษา

    นายแพทย์สำลี เปลี่ยนบางช้าง ผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลก ประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กล่าวภายหลังประชุมร่วมกับบุคลากรสาธารณสุข 11 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่จังหวัดเชียงใหม่ว่า ที่ผ่านมาเจ้าหน้าที่สาธารณสุขชุมชน และ อาสาสมัครสาธารณสุขถูกละเลย มองไม่เห็นความสำคัญเท่าที่ควร ส่วนใหญ่จะให้ความสนใจกับบุคลากรในสถาบัน เช่น โรงพยาบาลและสถานีอนามัย แต่ละทิ้งคนกลุ่มนี้ ทั้ง ๆ ที่มีความสำคัญในการป้องกันไม่ให้เกิดโรค ขณะที่พบว่าในระยะ 20 ปีที่ผ่านมามีโรคเกิดใหม่แล้ว 30 โรค บางโรคยังไม่มีทางรักษา

    ผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลก ประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กล่าวในตอนท้ายว่า ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคใหม่คือการเปลี่ยนแปลงทางนิเวศวิทยา การใช้สารเคมี การใช้ยาฆ่าแมลง และพืช เกิดความไม่สมดุลย์ทางนิเวศวิทยา และมีการปรับตัวของเชื้อโรค ทั้งนี้ยาไม่ใช่ทั้งหมดของการมีสุขภาพดี เป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น สิ่งที่ดีที่สุดประชาชนต้องออกกำลังกาย บำรุงร่างกายให้แข็งแรง พักผ่อนให้เพียงพอและอยู่ในที่ปลอดมลพิษ งดดื่มสุราและของมึนเมา และเหตุที่ปัจจุบันประชากรทั่วโลกใช้ยาเกินความจำเป็นมาก เร็ว ๆ นี้ องค์การอนามัยโลก ประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะจัดประชุมการใช้ยาอย่างมีเหตุผลที่กรุงเทพมหานครด้วย
     
  12. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    WHO แนะให้ความสำคัญ อสม. - ระบุ 20 ปีผ่านมาโรคอุบัติใหม่อื้อ

    โดย ผู้จัดการออนไลน์ 3 ตุลาคม 2550 19:15 น.


    นายแพทย์สำลี เปลี่ยนบางช้าง ผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลก ประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กล่าวภายหลังประชุมร่วมกับบุคลากรสาธารณสุข 11 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ จ.เชียงใหม่ ว่า ที่ผ่านมาเจ้าหน้าที่สาธารณสุขชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ถูกละเลย มองไม่เห็นความสำคัญเท่าที่ควร ส่วนใหญ่จะให้ความสนใจกับบุคลากรในสถาบัน เช่น โรงพยาบาลและสถานีอนามัย แต่ละทิ้งคนกลุ่มนี้ ทั้งๆ ที่มีความสำคัญในการป้องกันไม่ให้เกิดโรค ขณะที่พบว่าในระยะ 20 ปีที่ผ่านมามีโรคเกิดใหม่แล้ว 30 โรค บางโรคยังไม่มีทางรักษา
    ผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลก ประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กล่าวในตอนท้ายว่า ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคใหม่คือ การเปลี่ยนแปลงทางนิเวศวิทยา การใช้สารเคมี การใช้ยาฆ่าแมลง และพืช เกิดความไม่สมดุลทางนิเวศวิทยา และมีการปรับตัวของเชื้อโรค ทั้งนี้ ยาไม่ใช่ทั้งหมดของการมีสุขภาพดี เป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น สิ่งที่ดีที่สุด ประชาชนต้องออกกำลังกาย บำรุงร่างกายให้แข็งแรง พักผ่อนให้เพียงพอ และอยู่ในที่ปลอดมลพิษ งดดื่มสุราและของมึนเมา และเหตุที่ปัจจุบันประชากรทั่วโลกใช้ยาเกินความจำเป็นมาก เร็วๆ นี้ องค์การอนามัยโลก ประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะจัดประชุมการใช้ยาอย่างมีเหตุผลที่กรุงเทพมหานครด้วย
     
  13. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    ไวรัสไข้หวัดนกกำลังเปลี่ยนแปลงไปสู่รูปแบบที่ไม่เป็นมิตรกับมนุษย์
    โดย สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์ [ 05-10-2550 | 10:06 น. ]



    ไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์เอช 5 เอ็น 1 มีการเปลี่ยนแปลงเพื่อถ่ายทอดเชื้อสู่คนได้ง่ายขึ้น แต่ยังไม่ถึงขั้นกลายพันธุ์เป็นสายพันธุ์ใหม่ ดร.โยชิฮิโร คาวาโอกะ นักวิจัย แห่งมหาวิทยาวิสคอนซิน-เมดิสัน กล่าวว่าเขารู้สึกวิตกกังวลที่เชื้อกำลังเปลี่ยนแปลง ซึ่งอาจทำให้ไข้หวัดนกเจริญเติบโตได้ดี ในระบบทางเดินหายใจตอนบนของมนุษย์ อย่างไรก็ตาม ดร. คาวาโอกะ ยืนยันว่าเขาไม่ต้องการ ทำให้ประชาชนแตกตื่น แต่ก็จำเป็นต้องเปิดเผยเรื่องนี้ เพื่อการเตรียมพร้อมรับมือกับโรคร้าย
     
  14. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    <TABLE height=34 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-LEFT: 30px">เตือน 'ภัยคุกคามใหม่' จากโรคสัตว์ ต้องเร่งมือเฝ้า ระวังอย่างเข้มงวด
    [11 ต.ค. 50 - 00:17]

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=text cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle><TABLE class=text cellSpacing=0 cellPadding=0 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>หน่วยงานขององค์การสหประชาชาติเตือนว่าการเคลื่อนไหวของไวรัส และพาหะของโรคต่างๆ ข้ามประเทศ กำลังเกิดเป็น “ภัยคุกคามใหม่” ที่ต้องขอให้ชุมชนนานาชาติช่วยกันลงทุนมากขึ้น ในการติดตามและออกมาตรการควบคุมโรคสัตว์ให้เข้มงวดขึ้น
    องค์การอาหารและเกษตรกรรมของสหประชาชาติแจ้ง ว่า โรคในสัตว์กำลังเจริญก้าวหน้าไปทั่วโลก ในขณะที่กำลังจับตาเรื่องยุงเป็นตัวอย่าง เนื่องจากมันเป็นตัวส่งผ่านเชื้อโรคหลักๆให้มนุษย์ อย่างเช่น ไข้เหลือง ไข้เลือดออก และการที่ไข้เลือดออกชิกุนกันยาบุกเข้าไปถึงกลุ่มประเทศยุโรป ทั้งที่เป็นโรคจากเขตร้อนนั้นก็เป็นสิ่งที่สาธารณสุขต้องให้ความสนใจ
    “ไม่มีประเทศใดสามารถอ้างได้ว่าปลอดภัยจากโรคของสัตว์ได้” โจเซฟ โดเมเนช หัวหน้าคณะสัตวแพทย์ขององค์การอาหารและเกษตรกรรม กล่าวในแถลงการณ์ พร้อมกับเพิ่มเติมด้วยว่ามันเป็น “ภัยคุกคามใหม่” ที่ต้องให้ความสนใจอย่างจริงจัง
    แถลงการณ์ดังกล่าวตั้งข้อสังเกตว่า โลกาภิวัตน์ การเคลื่อนย้ายของผู้คนและสิ่งของ การท่องเที่ยว กระบวนการกลายเป็นเมือง และการเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศของโลก อาจเป็นเหตุให้การแพร่กระจายของไวรัสสัตว์แพร่กระจายไปทั่วโลก จึงเรียกร้องให้ประเทศต่างๆ และชุมชนนานาชาติควรช่วยกันเฝ้าระวังและออกมาตรการควบคุมที่จำเป็นและมีประสิทธิภาพ พร้อมกันนี้ต้องอาศัยแรงสนับสนุนทางการเมือง และการลงทุนด้านสุขภาพสัตว์ให้มากขึ้นด้วย.

    http://www.thairath.co.th/news.php?section=technology&content=64133</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ภาคใต้ของเวียดนามเผชิญการระบาดไข้หวัดนกรอบใหม่</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>11 ตุลาคม 2550 11:34 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> ไข้หวัดนกเริ่มกลับมาสู่พื้นที่ตอนใต้ของเวียดนามอีกครั้งในสัปดาห์นี้ หลังจากหายไปราว 2 เดือน เจ้าหน้าที่ทางการเตือนอาจมีการแพร่ระบาดมากขึ้น เนื่องจากสภาพอากาศเย็นลง
    หนังสือพิมพ์เตียนฟง รายงานว่า ผลการตรวจที่ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ในพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง ยืนยันว่า พบเชื้อไวรัสเอช 5 เอ็น 1 ในตัวอย่างเป็ดจากฟาร์มในเขตจังหวัดจ่า วินห์ ทางการสาธารณสุขสัตว์ระบุว่า กำลังติดต่อกับเจ้าของฟาร์มเพื่อขอรายละเอียดเพิ่มเติม ก่อนหน้านี้ เมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ก็พบเชื้อไวรัสไข้หวัดนกในเป็ดในพื้นที่เดียวกันนี้
    ขณะที่รัฐมนตรีเกษตรเวียดนาม เรียกร้องให้ทางการสาธารณสุขรณรงค์ฉีดวัคซีนให้แก่สัตว์ปีก เนื่องจากไข้หวัดนกอาจกลับมาระบาดในกลุ่มสัตว์ปีกที่ยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีน โดยเฉพาะขณะที่สภาพอากาศเริ่มเย็นลงในพื้นที่ตอนเหนือของประเทศ ปีนี้เวียดนามมีผู้ติดเชื้อไข้หวัดนก 7 คน ในจำนวนนี้เสียชีวิตไป 4 คน ทำให้ยอดผู้เสียชีวิตนับแต่เมื่อปลายปี 2546 เพิ่มเป็น 46 คน
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  16. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    เผยปีนี้ “เอเชีย” ตายเพราะหวัดนก 202 ราย อินโดฯ-เวียดนามแชมป์

    โดย ผู้จัดการออนไลน์ 11 ตุลาคม 2550 13:08 น.






    กรมควบคุมโรคผนึกกำลังนักวิจัยด้านสาธารณสุข จัดประชุมนักวิจัยไข้หวัดใหญ่เพื่อหามาตรการในการแก้ไขปัญหา เผยไข้หวัดใหญ่เป็นต้นต่อของโรคปอดบวม ขณะที่ประชาชนกลับให้ความสำคัญกับโรคนี้เพียงน้อยนิด ชี้ สถิติผู้ป่วยไข้หวัดนกเอ็ช 5เอ็น 1 ในเอเชียปี 2550 รวมทั้งสิ้น 303 ราย ตาย 202 ราย ขณะที่โรคปอดบวม มีผู้ป่วยรักษาในโรงพยาบาล 60,310 ราย ตาย 448 ราย

    วันนี้ (11 ต.ค) เวลา 09.00 น. ที่ โรงแรมเดอะเดวิส กรมควบคุมโรค ร่วมมือกับ มูลนิธิส่งเสริมการศึกษาไข้หวัดใหญ่ และ โครงการโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐฯ ด้านสาธารณสุข แถลงข่าวการประชุมนักวิจัยไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทยสำหรับแพทย์ นักวิชาการสาธารณสุข และ นักวิทยาศาสตร์ไทยที่สนใจงานด้านการป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ในมนุษย์

    นพ.ธวัช สุนทราจารย์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า ระหว่างปลายปี พ.ศ.2546 จนถึงปัจจุบันมีการระบาดของโรคไข้หวัดนก ในสัตว์ปีกแพร่ไปจากประเทศในเอเชียออกไปในประเทศต่างๆ เกือบ 60 ประเทศ ครอบคลุมถึงทวีปยุโรป และ อัฟริกา โรคยังแพร่จากสัตว์ปีกมาสู่คนแล้วใน 12 ประเทศ ส่วนใหญ่ในเอเชียตามรายงานขององค์การอนามัยโลก เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2550 ที่ผ่านมามีผู้ป่วยไข้หวัดนกเอ็ช 5เอ็น 1 รวมทั้งสิ้น 303 ราย ตาย 202 ราย หรืออัตราป่วย/ ตายสูงถึงกว่าร้อยละ 60 โดยมีรายงานผู้ป่วย - ตายสูงสุดที่ประเทศอินโดนีเซีย ป่วย 108 ราย ตาย 87 ราย หรือร้อยละ 80 รองลงไปคือประเทศเวียดนามป่วย 100 ราย ตาย 46 ราย หรือร้อยละ 46 สำหรับประเทศไทยมีผู้ป่วย 25 ราย ตาย 17 ราย หรือร้อยละ 68 เหตุการณ์นี้มี ความรุนแรงทั้งๆ ที่ในช่วงเวลาเดียวกันก็มีการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ของมนุษย์อยู่ด้วย แต่ความเอาใจใส่ก็ลดความสำคัญลงไปมาก

    สำหรับสถานการณ์ของโรคไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทยตามรายงานของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปรากฏว่าใน พ.ศ.2549 มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่รวมทั้งสิ้น 16,146 ราย ไม่มีรายงานผู้ป่วยตาย และผู้ป่วยโรคปอดบวมที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลอีก 88,841 ราย ตาย 765 ราย ซึ่งไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20 เกิดจากไวรัสไข้หวัดใหญ่เป็นต้นเหตุ

    สำหรับใน พ.ศ.2550 จนถึงสัปดาห์ที่ 39 (ระหว่างวันที่ 23-29 กันยายน 2550) มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่จำนวน 11,471 ราย ตาย 4 ราย และโรคปอดบวมที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลอีก 60,188 ราย ตาย 619 ราย เมื่อเปรียบเทียบกับรายงานในช่วงเวลาเดียวกัน (สัปดาห์ที่ 39) ของปี พ.ศ.2549 ซึ่งก็ ไม่แตกต่างกันมากนัก กล่าวคือ มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ 14,110 ราย แต่ไม่มีรายงานผู้ป่วยตาย และโรคปอดบวม ที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาล 60,310 ราย ตาย 448 ราย

    จากสถานการณ์ของโรคดังกล่าวจะเห็นได้ว่า โรคไข้หวัดใหญ่เป็นโรคที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุข แต่ความเอาใจใส่ในด้านต่างๆ ยังไม่มากพอ รวมถึงการวิจัยด้วยทำให้ขาดข้อมูลที่สำคัญที่จะนำไปวางนโนบายและแผนในการป้องกัน และควบคุมโรค ดังนั้นจึงได้จัดให้มีการประชุมนักวิจัยไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทย เพื่อระดมสมองรับมือกับการระบาดโรคไข้หวัดใหญ่ในอนาคต ต่อไป

    ด้าน ศ.เกียรติคุณ นพ.ประเสริฐ ทองเจริญ ประธานมูลนิธิส่งเสริมการศึกษาไข้หวัดใหญ่ กล่าวว่า ขณะนี้คนไทยไม่ได้ให้ความสำคัญในเรื่องของโรคไข้หวัดใหญ่มากนัก เนื่องจากคิดว่าเมื่อเป็นแล้วรักษาหายได้ หรือปล่อยให้หายเองตามธรรมชาติ ซึ่งโดยความจริงแล้วหากปล่อยไว้นานจะเป็นสาเหตุของโรคปอดบวม

    การจัดประชุมนักวิจัยไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทยจัดขึ้นเพื่อให้นักวิจัย นักวิชาการสาธารณสุข และนักวิทยาศาสตร์ไทยประมาณ 70 คนเข้าร่วมประชุมหารือเพื่อทบทวนผลงานวิจัยเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการตีพิมพ์ และนำเสนอข้อมูลการศึกษาวิจัยที่จัดทำเสร็จสมบูรณ์แล้วแต่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์ตลอดจนผลงานวิจัยเบื้องต้นของโครงการวิจัยไข้หวัดใหญ่ที่กำลังดำเนินการอยู่เพื่อพิจารณาแผนงานการวิจัยไข้หวัดใหญ่ที่ยังมิได้เริ่มดำเนินการ รวมถึงการร่างโครงการความร่วมมือด้านการวิจัยไข้หวัดใหญ่สำหรับประเทศไทย

    อย่างไรก็ตาม จากการสำรวจของกรมควบคุมโรคในปี 2550 นี้ยังไม่พบผู้ป่วยจากโรคไข้หวัดนก หรือผู้เสียชีวิต
     
  17. Nakamura

    Nakamura Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กันยายน 2005
    โพสต์:
    2,002
    ค่าพลัง:
    +17,625
    คิดว่าหลายคนคงเป็นโรคนี้กัน

    -----------------------------
    โรคทรัพย์จาง

    โรคMONEYPHILIA

    โรคทรัพย์จาง มีศัพท์ทางวิชาการว่า MONEYPHILIA เป็นคำสมาสระหว่างคำว่า MONEY และ PHILIA มีลักษณะคล้ายกับโรค HEMOPHILIA ซึ่งโรค HEMOPHILIA ผู้ป่วยจะมีอาการเลือดไหลไม่หยุด และโรคชนิดนี้มิได้ติดต่อทางพันธุกรรม แต่ MONEYPHILIA เป็นโรคที่เงินไหล ออกจากกระเป๋าไม่หยุด จนเกิดทรัพย์จางได้


    การติดต่อ

    โรคนี้มิได้ติดต่อทางพันธุกรรมเช่นกัน แต่ติดต่อกันเฉพาะกลุ่มบุคคลที่มีรายได้น้อย ถึงปานกลาง ซึ่งไม่สามารถจัดสรรรายได้ให้ได้ สัดส่วน กับรายจ่าย ว่ากันง่าย ๆ ก็คือรายจ่ายมากกว่ารายได้นั่นเอง ในทุกวันนี้โรคดังกล่าวได้เริ่มระบาดในหมู่คนเทยที่มีรายได้น้อย ถึงรายได้ปานกลางมาสองสามปีแล้ว ทำให้ส่งผลกระทบต่อขวัญและกำลังใจในการดำเนินชีวิต ตลอดจนบั่นทอนความเจริญก้าวหน้า ในหน้าที่การงาน บั่นทอนสุขภาพ บั่นทอนชีวิตครอบครัวและสังคมโดยร่วม ดังนั้น เราจึงควรศึกษารายละเอียดของโรคนี้ เพื่อหาวิธีหลีกเลี่ยงหรือป้องกันแต่เนิน ๆ อนึ่ง ตัวอย่างช่องทางการติดโรคนี้ ซึ่งเพิ่มโอกาสการติดเชื้อ ได้แก่
    • วงเหล้า
    • ผู้เข้าใกล้ผู้เป็นโรค"ยืมตังค์เพื่อน"
    ระยะฟักตัวของโรค

    เชื้อจะเริ่มฟักตัวประมาณวันที่ 15 ของเดือน แต่ก็ไม่แน่ทุกคนไป เพราะบางคนเชื้ออาจจะเริ่มฟักตัวได้ตั้งแต่วันที่ 5 ของเดือนก็มี และบางรายอาการรุนแรงจะเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ของเดือนทีเดียว อาการจะปรากฏเร็วหรือช้า รุนแรงหรือไม่รุนแรง ขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อ และชนิดรายได้ของแต่ละบุคคล ซึ่งแบ่งตามพฤติกรรมในการจับจ่ายใช้สอยของผู้ป่วย อีกทั้งขึ้นอยู่กับลักษณะของโรคแทรกซ้อนที่มือด้วย ว่าเป็นโรคมือเติบหรือไม่ หากเป็นโรคมือเติบด้วย จะยิ่งทำให้การรักษา หรือป้องกันเป็นไปได้ยาก และระยะฟักตัวของโรคก็จะรวดเร็ว อีกทั้งอาการก็จะยิ่งรุนแรงมากขึ้น



    อาการ

    ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการเหม่อลอย ไม่สบตาผู้อื่นโดยเฉพาะเจ้าหนี้ เหงื่อซึมออกตลอดเวลา หงุดหงิด สูญเสียความเชื่อมั่น ไร้สมาธิในการทำงาน เบื่ออาหาร หิวแต่ทานไม่ลง เพราะอาหารน้อย คุณภาพต่ำเนื่องจากด้อยกำลังซื้อ รสชาติไม่ถูกปาก ผู้ป่วยบางรายมีอาการรุนแรงถึงกับทำอัตวินิบาตกรรม บางรายมีอาการผวาเมื่อถูกเรียกชื่อ พวกที่มีอาการรุนแรงบางจำพวกจะทำการประชดชีวิตโดยการเดินมาทำงาน แทนการโดยสารรถประจำทาง หรือแท็กซี่ หรือพยายามขึ้นรถโดยสารที่มีคนแน่นมาก ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้ากับกระเป๋ารถเมล์ หรือเพื่อที่จะได้หลบหลีกระหว่างบันไดหน้ากับบันไดหลังสลับไปมาได้รวดเร็ว และ ทันท่วงที อีกทั้งเพื่อพยายามให้ได้รับอากาศที่ปลอดโปร่ง จะได้กินลมเพื่อลดอาการหน้ามืด




    การป้องกัน

    ไม่ควรนำเด็กหรือสัตว์เลี้ยงเข้าใกล้ เมื่อผู้ป่วยมีอาการหงุดหงิด มิฉะนั้นจะได้รับอันตรายจากผู้ป่วยได้ ไม่ควรนำของมีค่าเข้าใกล้ในระยะสายตาและมือเอื้อมถึง



    การรักษา

    ยังไม่มียาชนิดใดที่จะบำบัดโรคนี้ได้โดยตรงในปัจจุบัน แต่สามารถรักษาได้ตามอาการที่ปรากฏ เช่น
    ผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะ (เป็นกันโดยมาก) ก็ควรใช้ยาลดไข้ 1-2 เม็ด ทุก 4 ชั่วโมง ได้แก่ยาพาราเซตามอล ไม่ควรใช้กับผู้ป่วยที่เป็นโรคกระเพาะ
    ถ้าผู้ป่วยมีอาการหงุดหงิด กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ ควรใช้ยาคลายประสาท ตามที่แพทย์แนะนำ ห้ามใช้เกินขนาด เพราะจะเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยได้ (ห้ามใช้สตริกนินโดยเด็ดขาด)
    ควรให้ผู้ป่วยได้ออกกำลังกาย พักผ่อน ในที่ลับตาคน อย่าพาผู้ป่วยออกนอกบ้าน เพราะอาจเผชิญหน้ากับเจ้าหนี้ได้ การกระทำเช่นนี้นอกจากจะไม่ทำให้ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นแล้ว กลับจะมีอาการทรุดหนักลงเรื่อย ๆ อาการดูน่าเป็นห่วงอยู่ไม่น้อย แต่อาการของผู้ป่วยจะกระเตื้อง ตื่นเต้นได้อีกครั้งก็ถึงตอนปลายเดือนนั้น ๆ แต่บางรายก็ไม่ดีขึ้น กลับทรุดหนักลงไปอีก เนื่องจากการอักเสบของดอกเบี้ย
    ไม่ควรนำผู้ป่วยไปรักษายังโรงพยาบาลเอกชนเพราะอาจจะทำให้เกิดอาการช็อคได้ เมื่อเห็นใบแจ้งหนี้ ทางที่ดีควรนำไปรักษายังสถานธนานุเคราะห์,สถานธนานุบาล โดยให้ผู้ป่วยนำของที่มีค่าติดตัวไปด้วย ซึ่งเป็นการรักษาอย่างปัจจุบันทันด่วน และตรงตามอาการของโรคมากที่สุด โดยหมอหลงจู้ จะให้ผู้ป่วยบอกประวัติ โดยซักอาการอย่างละเอียด เพื่อให้แน่ใจว่าไม่ใช่ของที่หยิบฉวยของผู้อื่นมาโดยเจ้าของไม่ยินยอม ต่อจากนั้นก็จะทำการตรวจรักษา ตีค่า ต่อรอง และเขียนใบสั่งยา โดยต้องมีการยืนยันด้วยบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ป่วย แล้วหมอหลงจู้จะให้วัคซีน โดยนำนิ้วหัวแม่มือของผู้ป่วยแปะลงบนวัคซีนสีดำ และกดลงบนใบสั่งยา ให้ปรากฏรอยเป็นที่แน่ชัด และสามารถยืนยันเป็นหลักฐานได้ จากนั้นผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้นทันตาเห็น แต่ทั้งนี้และทั้งนั้นอาการจะดีขึ้นได้กี่วัน ขึ้นอยู่กันของมีค่าที่นำติดตัวไป
    โรคนี้จะสามารถรักษาให้หายขาดและไม่เกิดกับผู้ป่วยได้อีก ถ้าสามารถจัดสรรรายได้ในแต่ละเดือนให้เพียงพอ ควบคุมรายจ่าย ควรให้มีรายจ่ายต่อรายได้อย่างน้อยในอัตรา 1ต่อ1 แต่ต้องใช้ระยะเวลาพอสมควร แต่เป็นทางเดียวที่จะรักษาให้หายขาดได้
    ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกัน จึงต้องรักษาตามอาการข้างต้น และอาจจะใช้ยาแผนโบราณจำพวกวงแชร์ เท้าแชร์ รักษาร่วมก็ได้ แต่ต้องระวังผลข้างเคียงที่อาจะเกิดขึ้นได้ เช่น ลูกแชร์เบี้ยว เท้าแชร์หาย โรคมือเติบ จนทำให้ไม่สามารถรักษา สัดส่วน รายได้ต่อรายจ่ายที่ 1ต่อ1 ได้ จะส่งผลในทางลบมากยิ่งขึ้น แต่ถ้าหากใช้ได้ถูกต้อง เช่น เป็นเท้าแชร์เอง ก็ต้องตามลูกแชร์ให้ได้ครบ ถ้าเป็นลูกแชร์ก็ต้องตามเท้าแชร์ให้ได้ทุกงวด และพยายามอย่าให้ถูกหมอนวดจับ จนติดโรคมือเติบ เป็นต้น
    --------------------------------------------------------

    ขำขำ นะครับ คลายเครียด ^^
     
  18. Nakamura

    Nakamura Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กันยายน 2005
    โพสต์:
    2,002
    ค่าพลัง:
    +17,625
    Nakamura says (19:01):
    ช่วงนี้หลายท่านเป็นโรคนี้กันครับ

    Nakamura says (19:01):
    โรคMONEYPHILIA


    kananun says (19:02):
    ใช่แล้วแห้งมาก

    Nakamura says (19:02):
    /โฮ๊ะๆๆ
     
  19. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    เชื้อไวรัสบลูทังระบาดบนเกาะโลลแลนด์ของเดนมาร์กแล้ว
    โดย สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์ [ 15-10-2550 | 07:01 น. ]



    เชื้อไวรัสบลูทังยังคงระบาดในตอนเหนือของยุโรป ล่าสุดเจ้าหน้าที่ตรวจพบในแกะตัวหนึ่ง ในฟาร์มบนเกาะโลลแลนด์ของเดนมาร์ก ซึ่งเจ้าหน้าที่กำลังตรวจหาเชื้อในสัตว์ทั้งหมด 250 ตัว ในฟาร์มดังกล่าว และนับตั้งแต่เดือนสิงหาคมปีที่แล้ว เชื้อไวรัสบลูทังพบระบาดอยู่ในเบลเยี่ยม ฝรั่งเศส เยอรมนี ลักเซมเบิร์กและเนเธอร์แลนด์ แต่เมื่อเดือนที่แล้วพบการระบาดครั้งแรกในอังกฤษ เชื้อไวรัสบลูทังไม่ได้เป็นอันตรายต่อมนุษย์ แต่สัตว์ที่ติดเชื้ออาจถึงตายได้ และผู้เชี่ยวชาญได้แสดงความเห็นว่า แมลงซึ่งเป็นพาหะของโรคได้เคลื่อนย้ายไปทางเหนือ เพราะโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น
     
  20. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    เตือนระวังท้องเสียจากแบคทีเรีย ตายแล้ว2

    โดยทีมข่าว INN News 21 ตุลาคม 2550 15:37:44 น.





    ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ลงพื้นที่ จ.ขอนแก่น หลังเกิดการแพร่ระบาดของโรคท้องร่วงอย่างรุนแรง จากเชื้อแบคทีเรีย
     

แชร์หน้านี้

Loading...