การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย HONGTAY, 10 เมษายน 2007.

  1. nantiya.j

    nantiya.j เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    860
    ค่าพลัง:
    +8,550
    อุตุฯ เตือนภัยระวังโซนร้อนลูกใหม่ - อ่าวไทยคลื่นสูง 2-4 เมตร
    วันที่ 21 พฤจิกายน 2550 เวลา 07:18:21 น ; มติชน

    <TABLE id=table115 borderColor=#32689a cellSpacing=0 cellPadding=0 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR><TD><TABLE id=table109 borderColor=#32689a cellSpacing=0 cellPadding=0 width="99%" align=center border=0><TBODY><TR><TD style="BORDER-RIGHT: 1px solid; BORDER-TOP: 1px solid; BORDER-LEFT: 1px solid" height=24><TABLE id=table110 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width=608>กรมอุตุนิยมวิทยาประกาศเตือนภัยเรื่อง พายุฮากิบิส ฉบับที่ 1 (361/2550) ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2550 ว่า เมื่อเวลา 01.00 น. วันนี้ (21 พ.ย. 2550 ) พายุดีเปรสชั่นในทะเลจีนใต้ตอนกลาง ได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อน 'ฮากิบิส' แล้ว โดยเมื่อเวลา 04.00 น. พายุโซนร้อน'ฮากิบิส' มีศูนย์กลางอยู่ทางตะวันออกของเมืองโฮจิมินท์ ประเทศเวียดนาม ห่างประมาณ 1,100 กิโลเมตร หรือ ที่ ละติจูด 9.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 116.5 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์ประมาณ 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง กำลังเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกด้วยความเร็วประมาณ 30 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คาดว่า พายุนี้จะเคลื่อนตัวเข้าใกล้ชายฝั่งประเทศเวียดนามตอนล่างในระยะต่อไป

    ลักษณะเช่นนี้จะทำให้มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมประเทศไทยและอ่าวไทยมีกำลังแรงขึ้น ส่งผลให้คลื่นลมในอ่าวไทยสูง 2-4 เมตร ขอให้ชาวเรือระมัดระวังอันตรายในการเดินเรือ และเรือเล็กควรงดออกจากฝั่งในช่วงวันที่ 22-25 พฤศจิกายน 2550 นี้
    พยากรณ์อากาศสำหรับประเทศไทยตั้งแต่เวลา 06:00 วันนี้ ถึง 06:00 วันพรุ่งนี้
    กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
    มีหมอกบางในตอนเช้า และอากาศเย็น อุณหภูมิจะลดลง 1-2 องศา อุณหภูมิต่ำสุด 22 องศา สูงสุด 32 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-30 กม./ชม.
    ภาคเหนือ
    มีหมอกในตอนเช้า และอากาศเย็น อุณหภูมิจะลดลง 1-3 องศา โดยมีฝนบางแห่ง ร้อยละ 10 ของพื้นที่บริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน และเชียงใหม่ อุณหภูมิต่ำสุด 20 องศา สูงสุด 33 องศา สำหรับบริเวณยอดดอยมีอากาศหนาว อุณหภูมิต่ำสุด 10-13 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 10-30 กม./ชม.

    ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    มีหมอกบางในตอนเช้า และอากาศเย็น อุณหภูมิจะลดลงอีก 1-3 องศา กับมีลมแรง อุณหภูมิต่ำสุด 16 องศา สูงสุด 31 องศา ส่วนบริเวณยอดภูมีอากาศหนาว อุณหภูมิต่ำสุด 11-14 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ ชม.

    ภาคกลาง
    อากาศเย็น อุณหภูมิจะลดลงอีก 1-2 องศา และมีหมอกบางในตอนเช้า กับมีฝนบางแห่ง ร้อยละ 10 ของพื้นที่บริเวณจังหวัดกาญจนบุรี และราชบุรี อุณหภูมิต่ำสุด 20 องศา สูงสุด 33 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-30 กม./ ชม.

    ภาคตะวันออก
    อากาศเย็น อุณหภูมิจะลดลง 1-2 องศา และมีหมอกบางในตอนเช้า อุณหภูมิต่ำสุด 21 องศา สูงสุด 34 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-35 กม./ชม. ใกล้ฝั่งทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร ห่างฝั่งทะเลมีคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร

    ภาคใต้ (ฝั่งตะวันออก)
    มีฝนฟ้าคะนองกระจาย ร้อยละ 60 ของพื้นที่ โดยมีฝนตกหนักบางแห่ง บริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา อุณหภูมิต่ำสุด 23 องศา สูงสุด 30 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-40 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร ส่วนบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร

    ภาคใต้ (ฝั่งตะวันตก)
    มีฝนฟ้าคะนองเกือบทั่วไป ร้อยละ 70 ของพื้นที่ โดยมีฝนตกหนักบางแห่งส่วนมากบริเวณจังหวัดตรังและสตูล อุณหภูมิต่ำสุด 23 องศา สูงสุด 32 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ใกล้ฝั่งทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร ส่วนบริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร


    <TD width=5></TD><TR><TD colSpan=2></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: 1px solid; BORDER-LEFT: 1px solid; BORDER-BOTTOM: 1px solid" vAlign=top></TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG] ดูเเนวเเล้วอิสาน-เหนือน่าจะโดนหางพายุพาดเบาๆๆ อีกเเล้ว
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 พฤศจิกายน 2007
  2. nantiya.j

    nantiya.j เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    860
    ค่าพลัง:
    +8,550
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • unt.gif
      unt.gif
      ขนาดไฟล์:
      247.1 KB
      เปิดดู:
      389
  3. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • ผลกระทบจากภาวะโลกร้อนกำลังคุกคามทิเบต[​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย ทีมข่าว INN News [ 21-11-2550 | 12:08:21 น. ] </td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศโลก กำลังเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กับสภาพอากาศในทิเบต รุนแรงกว่าที่เคยเป็นมา
    สำนักข่าวซินหัวของทางการจีน รายงานโดยอ้างคำกล่าวของนายซ่ง ชานหยุน ผู้อำนวยการศูนย์อุตุนิยมวิทยาในทิเบต ว่า ภัยธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในทิเบต กำลังทวีความรุนแรง และเกิดขึ้นบ่อยครั้งยิ่งขึ้น ทั้งความแห้งแล้ง ดินถล่ม พายุหิมะ และเพลิงไหม้ และพบว่าอุณหภูมิในทิเบตนั้น สูงขึ้นเร็วกว่าในพื้นที่อื่นๆ ของจีน โดยสูงขึ้น 0.3 องศาเซลเซียส ทุก ๆ 10 ปี ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศถึง 10 เท่า
    รายงานดังกล่าว นับเป็นการเตือนครั้งล่าสุดในจีน ที่ให้ตระหนักถึง ปัญหาจากผลกระทบของภาวะโลกร้อนในทิเบต ที่ได้ชื่อว่าเป็นดินแดนหลังคาโลก ซึ่งพบว่าในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา ธารน้ำแข็งในทิเบต ละลายไปถึงปีละ 131.4 ตร.กม. และนักวิจัยของจีนคาดว่า ธารน้ำแข็งในทิเบต จะลดลงถึง 1 ใน 3 ในปี 2593 และลดลงครึ่งหนึ่งในปี 2633
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  4. tamsak

    tamsak ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กันยายน 2004
    โพสต์:
    7,857
    กระทู้เรื่องเด่น:
    22
    ค่าพลัง:
    +161,171

    "
     
  5. nantiya.j

    nantiya.j เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    860
    ค่าพลัง:
    +8,550
    ประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา

    ฉบับที่
    17 (377/2550)

    เรื่อง พายุ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • THAI1_1.pdf
      ขนาดไฟล์:
      341.9 KB
      เปิดดู:
      86
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 พฤศจิกายน 2007
  6. nantiya.j

    nantiya.j เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    860
    ค่าพลัง:
    +8,550
    <TABLE width=760><TBODY><TR><TD>. พยากรณ์อากาศ 19.00 น. วันอาทิตย์ที่ 25 พฤศจิกายน 2550</TD></TR><TR><TD bgColor=#ccccdd><DD>ลักษณะอากาศทั่วไป บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนแผ่ปกคลุมประเทศไทย ประกอบกับมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือกำลังปานกลางพัดปกคลุมภาคใต้และอ่าวไทย ลักษณะเช่นนี้ทำให้บริเวณประเทศไทยมีอากาศหนาวเย็นกับมีหมอกในตอนเช้า ส่วนอ่าวไทยมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร ชาวเรือควรเพิ่มความระมัดระวังอันตรายในการเดินเรือในระยะ1-2 วันนี้ไว้ด้วย <DD> <DD>อนึ่ง เมื่อเวลา 16.00 น.วันนี้ พายุโซนร้อน “ฮากิบิส” มีศูนย์กลางอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองโฮจิมินท์ ประเทศเวียดนาม ห่างประมาณ 740 กิโลเมตร หรือที่ละติจูด 11.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 113.3 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้กำลังเคลื่อนตัวทางทิศตะวันออกห่างออกไปจากชายฝั่งประเทศเวียดนามมากยิ่งขึ้น และจะอ่อนกำลังลงเป็นลำดับ แต่ยังคงทำให้ทะเลจีนใต้มีคลื่นสูง 3-5 เมตร <DD> <DD>พยากรณ์อากาศตั้งแต่เย็นวันนี้ (25 พ.ย.50) จนถึงเย็นวันพรุ่งนี้ <DD> <DD>ภาคเหนือ มีหมอกในตอนเช้า อากาศหนาวทางตอนบนของภาค ส่วนทางตอนล่างของภาคอากาศเย็น อุณหภูมิจะลดลงอีกเล็กน้อย อุณหภูมิต่ำสุด 14 องศา สูงสุด 30 องศา สำหรับบริเวณยอดดอยมีอากาศหนาวถึงหนาวจัด <DD> <DD>ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อากาศหนาว อุณหภูมิจะลดลงอีก 1-2 องศา กับมีลมแรง อุณหภูมิต่ำสุด 13 องศา สูงสุด 31 องศา ส่วนบริเวณยอดภูมีอากาศหนาว <DD> <DD>ภาคกลาง อากาศเย็น และมีหมอกในตอนเช้า <DD> <DD>ภาคตะวันออก อากาศเย็น และมีหมอกบางในตอนเช้า อุณหภูมิต่ำสุด 20 องศา สูงสุด 32 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-35 กม./ชม.ใกล้ฝั่งทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร ห่างฝั่งทะเลมีคลื่นสูงประมาร 2 เมตร <DD> <DD>ภาคใต้ฝั่งตะวันออก อากาศเย็นและมีเมฆบางส่วน ร้อยละ 10 ของพื้นที่ ส่วนมากบริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา ป้ตตานี และนราธิวาส ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร <DD>ภาคใต้ฝั่งตะวันตก อากาศเย็น และมีเมฆบางส่วน ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร <DD>กรุงเทพมหานครและปริมณฑล อากาศเย็น และมีหมอกบางในตอนเช้า อุณหภูมิต่ำสุด 20 องศา สูงสุด 32 องศา <DD>อิทธิพลน้ำทะเลในแม่น้ำเจ้าพระยา ที่หน้ากองบัญชาการกองทัพเรือ คำนวณโดยกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ <DD>วันพรุ่งนี้ น้ำขึ้นเต็มที่เวลา 09.36 น. สูงกว่าระดับทะเลปานกลาง 1 เมตร 45 เซนติเมตร และเวลา 17.33น. สูงกว่าระดับทะเลปานกลาง 1 เมตร 29 เซนติเมตร <DD>น้ำลงเต็มที่เวลา 02.34 น. ต่ำกว่าระดับทะเลปานกลาง 62 เซนติเมตร และเวลา 13.18 น. สูงกว่าระดับทะเลปานกลาง 93 เซนติเมตร <DD>วันพรุ่งนี้ ที่ผาชนะได อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ดวงอาทิตย์ขึ้นเวลา 06.05 น. <DD>กรุงเทพมหานคร ดวงอาทิตย์ขึ้นเวลา 06.30 น.</DD></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. nantiya.j

    nantiya.j เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    860
    ค่าพลัง:
    +8,550
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ทุกภาคอากาศเย็นและมีหมอกในตอนเช้า</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>26 พฤศจิกายน 2550 07:04 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> ลักษณะอากาศทั่วไป บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนยังคงแผ่เสริมลงมาปกคลุมประเทศไทย ทำให้บริเวณดังกล่าวมีอากาศหนาวเย็นกับมีหมอกในตอนเช้า สำหรับมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมภาคใต้และอ่าวไทยมีกำลังปานกลาง ทำให้คลื่นลมในอ่าวไทยสูงประมาณ 2 เมตร ชาวเรือควรเพิ่มความระมัดระวังอันตรายในการเดินเรือในระยะ1-2 วันนี้

    อนึ่ง เมื่อเวลา 05.00 น.วันนี้ พายุโซนร้อน “ฮากิบิส” มีศูนย์กลางอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองโฮจิมินท์ ประเทศเวียดนาม ห่างประมาณ 830 กิโลเมตร หรือที่ละติจูด 11.6 °เหนือ ลองจิจูด 114.3 °ตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้กำลังเคลื่อนตัวทางทิศตะวันออกห่างออกไปจากชายฝั่งประเทศเวียดนามมากยิ่งขึ้น และจะอ่อนกำลังลงเป็นลำดับ แต่ยังคงทำให้ทะเลจีนใต้มีคลื่นสูง 3-5 เมตร

    ภาคเหนือ มีหมอกในตอนเช้า และอากาศหนาว อุณหภูมิจะลดลงอีก 1-2 องศา อุณหภูมิต่ำสุด 13 องศา สูงสุด 31 องศา สำหรับบริเวณยอดดอยมีอากาศหนาวถึงหนาวจัด อุณหภูมิต่ำสุด 6-10 องศาลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 10-25 กม./ชม.

    ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีหมอกบางในตอนเช้า อากาศหนาวทางตอนบนของภาค ส่วนทางตอนล่างของภาคอากาศเย็น กับมีลมแรง อุณหภูมิต่ำสุด 14 องศา สูงสุด 31 องศา ส่วนบริเวณยอดภูมีอากาศหนาว อุณหภูมิต่ำสุด 9-12 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ ชม.

    ภาคกลาง มีหมอกในตอนเช้า และอากาศเย็น อุณหภูมิต่ำสุด 17 องศา สูงสุด 32 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ ชม.

    กรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีหมอกบางในตอนเช้า และอากาศเย็น อุณหภูมิต่ำสุด 20 องศา สูงสุด 32 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ชม.

    ภาคตะวันออก มีหมอกบางในตอนเช้า และอากาศเย็น อุณหภูมิต่ำสุด 20 องศา สูงสุด 32 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-35 กม./ชม. ใกล้ฝั่งทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร ห่างฝั่งทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร

    ภาคใต้ (ฝั่งตะวันออก) อากาศเย็น และมีเมฆบางส่วน อุณหภูมิต่ำสุด 21 องศา สูงสุด 31 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-35 กม./ชม.ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร

    ภาคใต้ (ฝั่งตะวันตก) อากาศเย็น และมีเมฆบางส่วน อุณหภูมิต่ำสุด 22 องศา สูงสุด 33 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ชม.ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  8. nantiya.j

    nantiya.j เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    860
    ค่าพลัง:
    +8,550
    <TABLE width=760><TBODY><TR><TD>หัวข้อข่าว :. พยากรณ์อากาศ ประจำวันที่ 27 พ.ย. 50 เวลา 07.00 น.</TD></TR><TR><TD bgColor=#ccccdd><DD>กรมอุตุนิยมวิทยา รายงานลักษณะอากาศทั่วไป บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนยังคงแผ่เสริมลงมาปกคลุมประเทศไทย ทำให้บริเวณดังกล่าวมีอากาศหนาวเย็นกับมีหมอกในตอนเช้า สำหรับมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมภาคใต้และอ่าวไทยมีกำลังปานกลาง คลื่นลมในอ่าวไทยสูงประมาณ 2 เมตร และมีแนวโน้มแรงขึ้นอีก ชาวเรือควรเพิ่มความระมัดระวังในการเดินเรือในระยะ 2-3 วันนี้ <DD> <DD>พยากรณ์อากาศตั้งแต่เช้าวันนี้ (27 พ.ย.50) จนถึงเช้าวันพรุ่งนี้ <DD><DD> <DD>ภาคเหนือ มีหมอกในตอนเช้ากับมีหมอกหนาในบางพื้นที่และอากาศหนาว อุณหภูมิจะลดลงอีก 1-2 องศาสำหรับบริเวณยอดดอยมีอากาศหนาวถึงหนาวจัด <DD> <DD>ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อากาศหนาวกับมีหมอกบางในตอนเช้า อุณหภูมิจะลดลงอีก 2-3 องศา ส่วนบริเวณยอดภูมีอากาศหนาว <DD> <DD>ภาคกลางอากาศเย็น อุณหภูมิจะลดลง 1-2 องศา และมีหมอกในตอนเช้า <DD> <DD>ภาคตะวันออก อากาศเย็น อุณหภูมิจะลดลง 1-2 องศา และมีหมอกบางในตอนเช้า ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-35 กม./ชม. ใกล้ฝั่งทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร ห่างฝั่งทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร <DD> <DD>ภาคใต้ฝั่งตะวันออก อากาศเย็น และมีเมฆบางส่วน กับมีฝนบางแห่ง ร้อยละ 10 ของพื้นที่ ทางตอนล่างของภาค ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร <DD> <DD>ภาคใต้ฝั่งตะวันตก อากาศเย็น และมีเมฆบางส่วน ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร <DD> <DD>กรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีหมอกบางในตอนเช้า และอากาศเย็น อุณหภูมิจะลดลง 1-2 องศา <DD> <DD>น้ำทะเลในแม่น้ำเจ้าพระยา ที่หน้ากองบัญชาการกองทัพเรือ คำนวณโดยกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ <DD>วันนี้ น้ำขึ้นเต็มที่เวลา 10.42 น. สูงกว่าระดับทะเลปานกลาง 1 เมตร 56 เซนติเมตร และเวลา 18.19 น. สูงกว่าระดับทะเลปานกลาง 1 เมตร 28 เซนติเมตร <DD>น้ำลงเต็มที่เวลา 03.29 น. ต่ำกว่าระดับทะเลปานกลาง 54 เซนติเมตร และเวลา 13.57 น. สูงกว่าระดับทะเลปานกลาง 1 เมตร 14 เซนติเมตร <DD>วันนี้ ที่ประภาคารกาญจนาภิเษก แหลมพรหมเทพ จังหวัดภูเก็ต ดวงอาทิตย์ตกเวลา 18.06 น. <DD>กรุงเทพมหานคร ดวงอาทิตย์ตกเวลา 17.47 น. </DD></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  9. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • เตือนโลกรับมือภัยอากาศวิปริตสุดขีด
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย ข่าวสด [ 26-11-2550 | 07:50 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> บีบีซีรายงานเมื่อ 25 พ.ย. ว่า องค์การบรรเทาทุกข์สากล ออกซ์แฟม เปิดเผยว่า ในรอบ 20 ปีที่ผ่านมาจำนวนพิบัติภัยทางธรรมชาติครั้งใหญ่ๆ ด้านสภาวะอากาศแปรปรวนผิดปกติที่เกิดขึ้นทั่วโลกเพิ่มมากขึ้นถึง 4 เท่าตัว และในอนาคตมีแนวโน้มจะเกิดมากขึ้นตามลำดับ
    นายจอห์น แมแกรธ เจ้าหน้าที่ออกซ์แฟม เตือนด้วยว่า ประชาคมโลก และองค์กรบรรเทาทุกข์ต่างๆ ต้องวางมาตรการเตรียมรับมือกับภัยดังกล่าวให้ดี รวมทั้งช่วยกันแก้ไขวิกฤตการณ์โลกร้อน ซึ่งเป็นต้นตอสำคัญทำให้สภาวะอากาศโลกแปรปรวน
    ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 1980 มีภัยธรรมชาติในระดับที่เรียกได้ว่า หายนะครั้งใหญ่เกิดขึ้นประมาณ 120 ครั้งต่อปี แต่ปัจจุบันได้เพิ่มจำนวนสูงขึ้นถึง 500 ครั้ง นอกจากนั้น เรายังพบด้วยว่า เหตุน้ำท่วมครั้งใหญ่ก็เกิดเพิ่มมากขึ้น 6 เท่า รายงานออกซ์แฟมระบุ และพยากรณ์ว่า ผลจากภาวะโลกร้อน จะทำให้โลกเผชิญหน้ากับภัยน้ำท่วม ภัยแล้ง และพายุฝนถี่ขึ้นและรุนแรงขึ้น
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  10. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table id="table2" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="990"><tbody><tr><td valign="top" width="7">
    </td> <td valign="top" width="983"> หนาวทั่วไทยยันปลาย 'ม.ค.' ฤทธิ์ 'ลานีญา' ไม่ใช่โลกร้อน

    <table id="table110" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td rowspan="3" width="6">
    </td> <td colspan="2">
    </td></tr> <tr> <td width="608"> เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อำนวยการศูนย์เครือข่ายงานวิเคราะห์วิจัยและฝึกอบรม การเปลี่ยนแปลงของโลกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้สัมภาษณ์ว่า สัปดาห์ที่ผ่านมาทุกภูมิภาคของประเทศ โดยเฉพาะ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งกรุงเทพมหานคร (กทม.) อากาศค่อนข้างหนาว สาเหตุนอกเหนือจากการเข้าสู่ฤดูหนาว ประเทศไทยยังได้รับอิทธิพลจากปรากฏการณ์ลานีญา และอิทธิพลของพายุไต้ฝุ่นฮากิบิส จากประเทศเวียดนาม แต่ไม่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน
    'ยังบอกไม่ได้ว่าฤดูหนาวปีนี้นานแค่ไหน หรือหนาวกว่าปีที่ผ่านมาหรือไม่ บอกได้แค่ปีนี้จะหนาวนานกว่าปีที่ผ่านมาค่อนข้างมาก เช่น ปีที่ผ่านมา กทม.หรือตามหัวเมืองใหญ่ๆ อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 19-21 องศาเซลเซียส แต่จะมีวันที่หนาวจัด คือ ราว 17 องศาเซลเซียส อยู่ประมาณ 3-4 วัน แต่ในปีนี้จะมีอากาศหนาวประมาณ 19-21 องศา ตั้งแต่ต้นสัปดาห์ที่ผ่านมา อาจมีสลับอุ่นๆ บ้างบางวัน อุณหภูมิประมาณ 20-23 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะช่วงเช้าและกลางคืน อากาศหนาวแบบนี้ จะยาวนานไปถึงปลายเดือนมกราคม' ดร.อานนท์กล่าว
    เมื่อถามว่า พายุไต้ฝุ่นฮากิบิสที่มีอิทธิพลอยู่ในประเทศเวียดนาม จะเข้ามาประเทศไทยหรือไม่ ดร.อานนท์กล่าวว่า พายุที่เข้ามาในภูมิภาคแถบนี้ช่วงปลายฤดูฝนมีโอกาสเคลื่อนที่เข้าประเทศไทยทางอ่าวไทยได้ แต่เวลานี้ทราบว่าพายุเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งที่ประเทศเวียดนามแล้ว จึงไม่น่าเป็นห่วง เพราะหากขึ้นฝั่งก็จะอ่อนกำลังลง
    ทางด้านกรมอุตุนิยมวิทยาแจ้งว่า ระหว่างวันที่ 26-29 พฤศจิกายน ความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนจะแผ่เสริมลงมาปกคลุมประเทศไทยตอนบนอย่างต่อเนื่อง ทำให้ประเทศไทยตอนบนมีอุณหภูมิลดลง 2-4 องศา มีอากาศหนาวเย็นโดยทั่วไปและมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอ่าวไทยและภาคใต้มีกำลังแรง ส่งผลให้คลื่นลมในอ่าวไทยมีกำลังแรง ความสูงของคลื่น 2-4 เมตร ข้อควรระวัง ในระยะนี้คลื่นลมในอ่าวไทยจะมีกำลังแรง ขอให้ชาวเรือระมัดระวังอันตรายในการเดินเรือ และเรือเล็กควรงดออกจากฝั่ง สำหรับในช่วงวันที่ 27-29 พฤศจิกายน ขอให้ประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือรักษาสุขภาพเนื่องจากอุณหภูมิลดลงมาก ส่วน กทม.นั้น มีหมอกบางในตอนเช้าและอากาศเย็นเกือบตลอดช่วง อุณหภูมิจะลดลงอีก 1-2 องศา อุณหภูมิต่ำสุด 19-22 องศา
    </td></tr></tbody></table>
    http://www.matichon.co.th/news_detail.php?id=11917&catid=27
    </td></tr></tbody></table>
     
  11. nantiya.j

    nantiya.j เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    860
    ค่าพลัง:
    +8,550
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ทุกภาคอากาศเย็นในตอนเช้า-ภาคเหนือมีน้ำค้างแข็งบนยอดดอย</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>29 พฤศจิกายน 2550 06:30 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> ลักษณะอากาศทั่วไป บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกำลังค่อนข้างแรงจากประเทศจีนยังคงแผ่ปกคลุมประเทศไทย ทำให้บริเวณดังกล่าวมีอากาศหนาวเย็นโดยทั่วไปกับมีหมอกในตอนเช้า ส่วนตามบริเวณยอดดอยในภาคเหนือมีน้ำค้างแข็งเกิดขึ้นได้บางพื้นที่ สำหรับมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือกำลังปานกลางยังคงพัดปกคลุมภาคใต้และอ่าวไทย ทำให้คลื่นลมในอ่าวไทยสูงประมาณ 2 เมตร ชาวเรือควรเพิ่มความระมัดระวังในการเดินเรือในระยะนี้ไว้ด้วย

    ภาคเหนือ มีหมอกในตอนเช้า กับมีหมอกหนาในบางพื้นที่ และอากาศหนาว อุณหภูมิต่ำสุด 11 องศา สูงสุด 28 องศา สำหรับบริเวณยอดดอยมีอากาศหนาวจัด อุณหภูมิต่ำสุด 2-6 องศา และมีน้ำค้างแข็งในบางพื้นที่ ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 10-25 กม./ชม.

    ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีหมอกบางในตอนเช้า และอากาศหนาว กับมีลมแรง อุณหภูมิต่ำสุด 11 องศา สูงสุด 29 องศา ส่วนบริเวณยอดภูมีอากาศหนาวถึงหนาวจัด อุณหภูมิต่ำสุด 4-10 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ ชม.

    ภาคกลาง มีหมอกในตอนเช้า ทางตอนบนของภาคอากาศหนาว ส่วนทางตอนล่างของภาคอากาศเย็น อุณหภูมิต่ำสุด 15 องศา สูงสุด 30 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-30 กม./ ชม.

    ภาคตะวันออก มีหมอกบางในตอนเช้า ทางตอนบนของภาคอากาศหนาว ส่วนบริเวณชายฝั่งมีอากาศเย็น อุณหภูมิต่ำสุด 15 องศา สูงสุด 32 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-35 กม./ชม.ใกล้ฝั่งทะเลมีคลื่นสูง ประมาณ 1 เมตร ห่างฝั่งทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร

    ภาคใต้ (ฝั่งตะวันออก) อากาศเย็นในตอนเช้า และมีเมฆบางส่วน
    อุณหภูมิต่ำสุด 18 องศา สูงสุด 31 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-35 กม./ชม.ทะเลมีคลื่นสูง ประมาณ 2 เมตร

    ภาคใต้ (ฝั่งตะวันตก) อากาศเย็น และมีเมฆบางส่วน อุณหภูมิต่ำสุด 20 องศา สูงสุด 33 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ชม.ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร

    กรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีหมอกบางในตอนเช้า และอากาศเย็น อุณหภูมิต่ำสุด 16 องศา สูงสุด 31 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-30 กม./ชม.
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  12. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892

    * WWF เตือนอินโดฯ เสี่ยงผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ


    โดย ผู้จัดการออนไลน์ [ 29-11-2550 | 08:52 น. ]




    องค์กรพิทักษ์สิ่งแวดล้อมโลก หรือ WWF เตือนว่า อินโดนีเซียเป็นหนึ่งในหลายประเทศ ที่เสี่ยงจะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ของสภาพภูมิอากาศมากที่สุด และผลกระทบจากภาวะโลกร้อนเริ่มปรากฏให้เห็นแล้วในอินโดนีเซีย

    รายงานดังกล่าวระบุว่า ฝนตกประจำปีในอินโดนีเซียลดลงร้อยละ 2 - 3 ขณะที่อุณหภูมิโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 0.3 องศาเซลเซียส สภาพการดังกล่าว จะทำให้การแก้ปัญหาความยากจน และความมั่นคงด้านอาหารไม่คืบหน้า ซึ่งอินโดนีเซียจำเป็นที่จะต้องจัดร่างมาตรการ เพื่อแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศอย่างจริงจัง
     
  13. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    * ผู้ว่าฯ เชียงใหม่ ประกาศให้ทุกอำเภอเป็นพื้นที่ประสบภัยหนาว

    โดย ผู้จัดการออนไลน์ [ 29-11-2550 | 14:12 น. ]




    นายวิบูลย์ สงวนพงศ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ประกาศให้ทุกอำเภอ ของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติจากภัยหนาวแล้ว เนื่องจากอุณหภูมิ ในพื้นราบลดต่ำลงกว่า 15 องศาเซลเซียส ติดต่อกันนาน 3 วัน พร้อมทั้งได้อนุมัติเงิน ทดลองราชการช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยพิบัติ ฉุกเฉินภัยหนาว จำนวน 50 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย ซึ่งเพิ่มสูงขึ้นถึง 270,000 คน

    นายจำนง แก้วชฎา ผู้อำนวยการศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ แจ้งเตือนสภาพอากาศในพื้นที่ภาคเหนือ อุณหภูมิยังจะลดลง อย่างต่อเนื่องไปจนถึงสิ้นปีนี้ ล่าสุด มีน้ำค้างแข็งเกิดขึ้นบนยอดดอยอินทนนท์ อำเภอจอมทอง และโครงการหลวงดอยอ่างขาง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่แล้ว ประชาชนควรดูแลรักษาสุขภาพร่างกายให้อบอุ่น ป้องกันการเจ็บป่วย
     
  14. nantiya.j

    nantiya.j เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    860
    ค่าพลัง:
    +8,550
    ปท.ไทยอุณหภูมิลดลงอีก 1-2 องศา อ่าวไทยคลื่นสูง 2-3 เมตร
    วันที่ 29 พฤจิกายน 2550 เวลา 16:26:50 น.

    กรมอุตุนิยมวิทยาพยากรณ์อากาศภาคเย็นประจำวันที่ 29 พฤศจิกายน 2550 ความว่า ลักษณะอากาศทั่วไปเมื่อเวลา 16:00 น. บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นที่ปกคลุมประเทศไทยมีกำลังค่อนข้างแรง ทำให้ยังคงมีอากาศหนาวเย็นโดยทั่วไป อุณหภูมิลดลง 1-2 องศา กับมีหมอกในตอนเช้า บริเวณยอดดอยในภาคเหนือมีน้ำค้างแข็งบางพื้นที่
    สำหรับมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือกำลังค่อนข้างแรงปกคลุมภาคใต้และอ่าวไทย ทำให้คลื่นลมในอ่าวไทยสูง 2-3 เมตร ชาวเรือควรเพิ่มความระมัดระวังในการเดินเรือในระยะนี้ไว้ด้วย

    พยากรณ์อากาศสำหรับประเทศไทยตั้งแต่เวลา 17:00 วันนี้ ถึง 17:00 วันพรุ่งนี้
    กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
    มีหมอกบางในตอนเช้า และอากาศเย็น อุณหภูมิต่ำสุด 19 องศา สูงสุด 31 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-30 กม./ชม.
    ภาคเหนือ
    มีหมอกในตอนเช้า กับมีหมอกหนาในบางพื้นที่และอากาศหนาว อุณหภูมิลดลง 1-2 องศา อุณหภูมิต่ำสุด 11 องศา สูงสุด 30 องศา สำหรับบริเวณยอดดอยมีอากาศหนาวจัด อุณหภูมิต่ำสุด 2-6 องศา และมีน้ำค้างแข็งในบางพื้นที่ ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 10-25 กม./ชม.

    ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    มีหมอกบางในตอนเช้า และอากาศหนาวกับมีลมแรง อุณหภูมิลดลงประมาณ 2 องศา อุณหภูมิต่ำสุด 11 องศา สูงสุด 29 องศา ส่วนบริเวณยอดภูมีอากาศหนาวถึงหนาวจัด อุณหภูมิต่ำสุด 4-10 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ ชม.

    ภาคกลาง
    มีหมอกในตอนเช้า ทางตอนบนของภาคอากาศหนาว อุณหภูมิลดลงเล็กน้อย อุณหภูมิต่ำสุด 15 องศา สูงสุด 30 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-30 กม./ ชม.

    ภาคตะวันออก
    มีหมอกบางในตอนเช้า ทางตอนบนของภาคอากาศหนาว อุณหภูมิลดลงเล็กน้อย อุณหภูมิต่ำสุด 15 องศา สูงสุด 32 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-40 กม./ชม. ใกล้ฝั่งทะเลมีคลื่นสูง ประมาณ 1 เมตร ห่างฝั่งทะเลมีคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร

    ภาคใต้ (ฝั่งตะวันออก)
    อากาศเย็นในตอนเช้า และมีเมฆบางส่วน กับมีฝนเล็กน้อยบางแห่งทางตอนล่างสุดของภาค อุณหภูมิต่ำสุด 18 องศา สูงสุด 31 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-40 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 2-3 เมตร

    ภาคใต้ (ฝั่งตะวันตก)
    อากาศเย็น และมีเมฆบางส่วน อุณหภูมิต่ำสุด 21 องศา สูงสุด 33 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร
     
  15. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    พบความเชื่อมโยงโลกร้อนก่อสงคราม เพิ่มผู้ลี้ภัยหนีอากาศเปลี่ยนแปลง <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">21 พฤศจิกายน 2550 12:07 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> <td> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">กระท่อมพักอาศัยภายในค่ายผู้ลี้ภัยสงครามบริเวณใกล้กับชายแดนเมืองดาร์ฟูร์ (Darfur) ซูดาน ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากสหประชาชาติ</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ชาวซูดานส่วนหนึ่งช่วยกันตากเนื้อแกะ
    ที่เป็นอาหารของผู้ลี้ภัยด้วยกันในค่ายผู้ลี้ภัย
    ประเทศซูดาน</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ภาวะโลกร้อนทำให้น้ำแข็งขั้วโลก
    ละลายมากขึ้นและระดับน้ำทะเลสูงขึ้น</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> นิวไซน์เอนติสท์ - นักวิชาการศึกษาประวัติศาสตร์ย้อนหลัง 500 ปี พบการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศสัมพันธ์กับสงคราม และภาวะทุกข์เข็ญของประชากรในแต่ละยุค นับเป็นครั้งแรกที่มีการศึกษาความเชือมโยงระหว่างภาวะโลกร้อนกับสงครามอย่างจริงจัง ระบุอนาคตอาจต้องเพิ่มผู้ลี้ภัยเนื่องจากหนีภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงเข้าไปในสารบบ

    การศึกษาเรื่องราวในอดีตอาจทำให้รู้อนาคตได้ เมื่อนักวิชาการในสหรัฐฯ ศึกษาพบความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ที่เกิดขึ้นในอดีตกับสภาพทางสังคมในช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งคาดการณ์ได้ว่าโลกร้อนอาจชักนำสังคมเข้าสู่ยุคข้าวยากหมากแพงและภาวะสงครามเหมือนที่ผ่าน และก่อเกิด "ผู้ลี้ภัยจากภูมิอากาศ" (climate refugee)

    ทั้งนี้ การศึกษาชิ้นล่าสุดได้วิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อันส่งผลให้เกิดความขัดแย้งภายในจีนเป็นเวลายาวนานถึง 1,000 ปี ซึ่งยังมีงานวิจัยเพียงน้อยนิดที่กล่าวถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศในระยะยาว

    "ตัวอย่างพื้นฐานที่เห็นได้ชัดคือ การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิมีผลต่อการเพาะปลูก" ปีเตอร์ เบรค (Peter Brecke) จากสถาบันเทคโนโลยีจอร์เจีย (Georgia Institute of Technology) ในแอตแลนตา สหรัฐอเมริกา หัวหน้าทีมวิจัยระบุ

    สภาพภูมิอากาศที่ย่ำแย่ลงจะทำให้เกิดผลตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ ภาวะข้าวยากหมากแพง ประชาชนเสียชีวิตเพราะความอดอยากมากขึ้น และเกิดความตึงเครียดในสังคม ซึ่งท้ายที่สุดจะนำไปสู่ภาวะสงครามหรือความขัดแย้งอย่างรุนแรง

    ทีมวิจัยได้รวบรวมข้อมูลราคาอาหาร จำนวนประชากร และการก่อจราจลหรือสงครามที่เกิดขึ้นในช่วงหลัง ค.ศ.1400 ที่ผ่านมา เปรียบเทียบกับข้อมูลของอุณหภูมิและสภาพอากาศในช่วงเวลาเดียวกัน พบว่าทั้งสองสิ่งมีความสัมพันธ์กัน โดยการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศเป็นชนวนเหตุของสงครามและความขัดแย้งมากมาย ซึ่งเกิดขึ้นกระจายไปยังภูมิภาคต่างๆ ของโลก

    ส่วนช่วงที่สงบสุขอยู่ระหว่างต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งหากย้อนหลังไปสัก 250 ปีก่อน ทั้งในยุโรปและจีนต่างก็เป็นช่วงที่ประชากรอยู่อย่างสันติเช่นเดียวกัน ช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วง 100 ปี ก่อนสิ้นสุดยุคหนาวเย็นหรือยุคน้ำแข็งเล็ก (Little Ice Age) ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 1450 และสิ้นสุดลงในช่วงศตวรรษที่ 18

    ทีมวิจัยเชื่อว่า ช่วงที่อุณหภูมิเย็นลงกว่าปกติในยุคหนาวเย็น ส่งผลให้ภาคเกษตรกรรมผลิตพืชพันธุ์ธัญญาหารได้ลดลงจากเดิมและทำให้เข้าสู่ภาวะข้าวยากหมากแพงและเกิดสงครามช่วงชิงอาหารเพื่อความอยู่รอด กระทั่งเข้าสู่ช่วง 100 ปี ดังกล่าวที่มีอากาศอบอุ่นขึ้น ความตึงเครียดในสังคมจึงเบาบางลง แต่หลังจากนั้นราวช่วงต้นถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 อุณภูมิก็ลดต่ำลงอีก และกลับเข้าสู่ภาวะทุกเข็ญอีกครั้ง

    แม้ว่าภูมิอากาศ ณ ปัจจุบันนี้จะมีแนวโน้มร้อนขึ้นมากกว่าเย็นลง แต่นักวิชาการก็คาดการณ์ได้ว่าภาวะโลกร้อนจะนำไปสู่ภาวะขาดแคลนอาหารไม่น้อยไปกว่าภาวะหนาวเย็นที่เคยเกิดขึ้นเมื่อช่วง 500 ปีที่ผ่านมาแน่นอน

    "สังคมสมัยใหม่มีวิทยาการมากมายที่จะช่วยเพิ่มผลผลิตต่างๆได้ แต่ก็ควรเตรียมการระมัดระวังไว้ด้วย เพราะกลไกเหล่านั้นอาจใช้ไม่ได้ผลเมื่อเราต้องตกอยู่ในสวาวการณ์ที่เต็มไปด้วยปัญหาสิ่งแวดล้อม" เบรค กล่าว

    นอกจากนี้ เขายังระบุว่า สภาพอากาศเปลี่ยนแปลงอาจทำให้มีผู้ลี้ภัยเนื่องจากสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะผู้ที่อาศัยอยู่แถบชายฝั่งที่เสี่ยงต่อน้ำทะเลท่วมพื้นที่อาศัยอันเนื่องมาจากภาวะโลกร้อน

    อย่างไรก็ดี เมื่อไม่นานมานี้ นายบัน คี-มุน (Ban Ki-Moon) เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์เดอะวอชิงตันโพสท์ (The Washington Post) เกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นที่ดาร์ฟูร์ ประเทศซูดานว่า ส่วนหนึ่งเพราะสภาพพื้นที่กลายเป็นทะเลทราย ระบบนิเวศน์ถูกทำลาย และขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 ธันวาคม 2007
  16. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    CO<sub>2</sub> เพิ่มเกินคาด 35% ซ้ำน้ำทะเลดูดซับได้น้อยลง <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">23 ตุลาคม 2550 15:17 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> <td> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">น้ำทะเลในมหาสมุทรก็ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้น้อยลง ก๊าซที่เหลือจึงลอยล่องอยู่ในชั้นบรรยากาศ ซึ่งนักวิทยาศาสตร์พบว่าเพิ่มสูงขึ้น 35%</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">อุตสาหกรรมที่ใช้พลังงานฟอสซิล
    ต่างเติบโตจนธรรมชาติอาจไม่สามารถ
    ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ทัน</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ขณะเดียวกันการเดินทางที่เผาพลาญ
    พลังงานฟอสซิลก็เร่งให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
    ในชั้นบรรยากาศเพิ่มขึ้น</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> บีบีซีนิวส์/เอเยนซี- ทีมนักวิจัยนานาชาติพบปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจกได้เพิ่มขึ้นด้วยอัตราเร็วสูงกว่าที่คาดเป็น 35% ด้านนักวิจัยอังกฤษยังพบมหาสมุทรดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ลดลงครึ่งหนึ่ง

    จากการเติบโตของอุตสาหกรรมที่ใช้พลังงานฟอสซิลประจวบกับการลดลงของการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทั้งบนพื้นดินและในมหาสมุทร นักวิจัยพบว่าปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO<sub>2</sub>) ในชั้นบรรยากาศที่วัดเมื่อปี 2549 สูงกว่าเมื่อปี 2533 ถึง 35% ซึ่งเป็นอัตราที่เพิ่มสูงเร็วกว่าที่คาด ทั้งนี้ได้มีการเผยแพร่รายงานดังกล่าวในวารสารสมาคมวิทยาศาสตร์สหรัฐ (Proceedings of the National Academy of Sciences)

    "ในการเพิ่มขึ้นของประชากรและความมั่งคั่งของโลก เราทราบแล้วว่าเป็นปัจจัยสำคัญในการผลักดันให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศสูงขึ้นจากการชะลอตัวที่เกิดเกิดจากธรรมชาติซึ่งตรึงองค์ประกอบเคมีดังกล่าวในชั้นบรรยากาศไว้" โจเซฟ แคนาเดลล์ (Josep Canadell) ผู้อำนวยการโครงการคาร์บอนโลก (Global Carbon Project) จากองค์การวิจัยในเครือจักรภพอังกฤษด้านวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมซึ่งนำการศึกษาครั้งนี้กล่าว

    จากการศึกษาใหม่นี้คาร์บอนถูกปลดปล่อยออกจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลและการผลิตปูนซีเมนต์ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 7 พันล้านตันในปี 2543 เป็น 8.4 พันล้านตันในปี 2549 และอัตราการเพิ่มของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้สูงขึ้นจาก 1.3% ต่อปีในช่วงปี 2533-2542 เป็น 3.3% ต่อปีในช่วง 2543-2549

    "เมื่อ 50 ปีที่ผ่านมาในปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ทุกๆ ตันที่ถูกปล่อยออกมา ราวว 600 กิโลกรัมจะถูกกำจัดออกไปโดยธรรมชาติ แต่ในปี 2549 มีเพียง 550 กิโลกรัมเท่านั้นที่ถูกกำจัดออกไป ส่วนที่เหลือก็ตกลงมา สัดส่วนของคาร์บอนไดออกไซด์ที่เหลืออยู่ในชั้นบรรยากาศหลังจากการดูดซับของพืชและมหาสมุทรที่สูงขึ้นกว่าเมื่อหลายสิบปีก่อนนั้นแสดงให้เห็นความสามารถของโลกในการดูดซับการปลดปล่อยที่เป็นฝีมือมนุษย์นั้นลดลง" แคนาเดลล์กล่าว

    ทั้งนี้การศึกษาดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลออสเตรเลีย สหภาพยุโรปและองค์กรระหว่างเป็นประเทศอื่นๆ โดยนักวิจัยผู้ทำการศึกษาส่วนใหญ่เป็นสมาชิกของ คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของสหประชาชาติ หรือ ไอพีซีซี (UN's Intergovernmental Panel on Climate Change) ซึ่งเพิ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพประจำปี 2550 นี้ ร่วมกับ อัล กอร์ (Al Gore) อดีตรองประธานาธิบดีสหรัฐฯ ผู้สร้างกระแสความสนใจในภาวะโลกร้อนด้วยภาพยนตร์ An Invenient Truth

    ขณะเดียวกันก็มีรายงานจากฝั่งอังกฤษโดยยูท์ สชัสเตอร์ (Ute Schuster) ผู้นำการศึกษาร่วมกับ ศ.แอนดรูว์ วัตสัน (Prof. Andrew Watson) จากคณะวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลีย (University of East Anglia) พบว่าการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศของมหาสมุทแอตแลนติกเหนือได้ลดลงครึ่งหนึ่งจากช่วงปี 2533 ถึงปี 2548 โดยพวกเขาได้รวบรวมข้อมูลจากเซนเซอร์ที่ติดในเรือบรรทุกกล้วยซึ่งเดินทางจากอินเดียตะวันตกไปยังอังกฤษทุกเดือน และได้ทำการวัดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในทะเลมากกว่า 90,000 ครั้ง ซึ่งผลการศึกษาดังกล่าวได้ตีพิมพ์ลงวารสารจีโอกราฟิกรีเสริช (Geophysical Research) ฉบับเดือน พ.ย.นี้

    "การเปลี่ยนแปลงในปริมาณมากนี้เป็นความน่าแปลกใจที่ชวนสยดสยอง เราคาดหวังว่าการดูดซับจะเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ เพราะมหาสมุทรนั้นมีมวลมหาศาล" สชัสเตอร์กล่าว อย่างไรก็ดีเธอก็เตือนว่าไม่ควรด่วนสรุปกับผลการศึกษาใหม่นี้เร็วเกินไป ซึ่งเป็นไปได้ว่าผลจากการศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของความเชื่อมโยงตามธรรมชาติหรืออาจจะขานรับกับภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร้วนี้ ขณะเดียวกันเราก็ทราบว่าการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงจำเป็นที่จะต้องติดตามการดูดซับก๊าซเรือนกระจกของมหาสมุทรต่อไป
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  17. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • อุณหภูมิเฉลี่ยของจีนปีนี้สูงสุดตั้งแต่ปี 2494[​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย สำนักข่าวไทย [ 01-12-2007 | 14:31:40 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> ปักกิ่ง 1 ธ.ค.-หนังสือพิมพ์ไชน่า เดลี ของจีน ฉบับวันนี้ รายงานโดยอ้างการเปิดเผย ของโฆษกสำนักงานอุตุนิยมวิทยาของจีนว่า อุณหภูมิเฉลี่ยของจีนในปีนี้สูงที่สุด นับแต่ปี 2494
    รายงานระบุว่า นับเป็นปีที่ 11 แล้ว ที่อุณหภูมิในจีนไม่ปกติ โดยมีอุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลง องสภาพอากาศโลก นับแต่เดือน ม.ค.-พ.ย. อุณหภูมิเฉลี่ยของจีนอยู่ที่ 11.3 องศาเซสเซียส สูงกว่าอุณหภูมิเฉลี่ยของปี 1.2 องศาเซสเซียส
    อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนสูงขึ้นเกือบ 2 เท่าในรอบ 25 ปีที่ผ่านมา และปัจจุบันจีนเป็นหนึ่งในประเทศที่ปล่อยก๊าซที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก มากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อน
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  18. sutatip_b

    sutatip_b เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    3,197
    ค่าพลัง:
    +26,189
    [FONT=&quot]ทำไมปีนี้หนาวมาก ...ความจริงที่รู้แล้วจะหนาว [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot] <hr align="center" color="white" noshade="noshade" size="1" width="100%"> [/FONT]
    [FONT=&quot]คือเริ่มจากผมเกิดสงสัยก่อนครับว่าทำไมปีนี้เมืองไทยอากาศถึงได้ หนาวผิดปรกติ และยาวนานมาก [/FONT][FONT=&quot]

    พอสงสัยก็เลยถามพระท่าน ท่านก็พาไปดู ปรากฏว่าที่อากาศหนาวมาผิดปรกติ และค่อนข้างนาน เนื่องจาก ทางซีกโลกเหนือ น้ำแข็งละลายรวดเร็วและมากผิดปรกติ รวมทั้ง มีก้อนน้ำแข็งขนาดใหญ่หลุดออกจากขั้วโลกเป็นจำนวนมาก จึงเกิด การถ่ายเทความร้อนแฝง ขึ้นในกระบวนการเปลี่ยนสถานะ ของน้ำแข็ง ทำให้เกิดมวลอากาศเย็นปริมาณมหาศาลผิดปรกติพัดลงสู่ ด้านล่าง<o></o>[/FONT]

    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]หลวงพ่อใหญ่ฯ บอกว่าน้ำแข็ง [/FONT][FONT=&quot]50 เมตรขั้วโลกละลายหมดตึกใบหยกท่วมจนมองไม่เห็นยอด
    ในปีพศ. 2548 หลวงปู่เทพโลกอุดร ได้พาหลวงพ่อใหญ่ฯ วัดแจ้งเมืองเก่า ไปร่วมงานฉลองพญาปลา ฝ่าน้ำแข็ง 50 เมตรไปถึงสะดือทะเล พบซากเครื่องบินและเรือจำนวนมาก ท่านพบพระอุปคุตนั่งสมาธิอยู่ ในครั้งนั้นหลวงปู่เทพโลกอุดรได้บอกหลวงพ่อใหญ่ว่า น้ำแข็งที่อยู่รอบๆตัวจะละลายหมด ในเวลาต่อมาหลวงพ่อใหญ่ได้มีนิมิตเห็นน้ำท่วมจนมองไม่เห็นตึกใบหยก<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]
    ถ้าเราสังเกต จะพบว่าความหนาวเย็น เป็นมวลอากาศและลมเย็น แต่ ในขณะเดียวกัน คลื่นความร้อนจากดวงอาทิตย์กลับมีความเข้มข้นสูงเพราะไม่มีชั้นบรรยากาศช่วยกรองรังสีความร้อน ด้วยเหตุนี้ เมื่อมวลอากาศเย็นมาสัมผัสกับรังสี ความร้อน จึงเกิดกระแสอากาศปั่นป่วน เป็นลมพายุ พลังงานสูง เช่นซูเปอร์ไต้ฝุ่นได้

    แทบไม่น่าเชื่อว่า การที่น้ำแข็งขั้วโลกละลายจะก่อให้เกิดปรากฏการณ์ต่างๆได้ขนาดนี้

    ดังนั้นสิ่งที่จะเป็นผลติดตามมาก็คือ
    - น้ำท่วมจากน้ำทะเลหนุน(ช่วงนี้น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาก็ยังสูงติดขอบตลิ่งทุกวันครับ มีท่วมในบางจุดในช่วงเย็นด้วย)
    -พายุ ซูเปอร์พายุที่รุนแรงขึ้นถี่ขึ้น
    -คลื่นยักษ์จากสเวล ตามแนวชายฝั่ง
    ดังนั้นท่านที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยง ก็ขอให้หามาตรการรับมือ และติดตามข่าวด้วยครับ
    ไม่ประมาท และไม่ตื่นตระหนกครับ<o></o>[/FONT]

    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ส่วนหนึ่งจากโพสต์คุณคณานันท์ ปลายปี ๔๙ อีกส่วนจาก อ. สุธาทิพ พย . ๕๐ มาคนละทางแต่เรื่องเดียวกันค่ะ[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
     
  19. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,696
    ค่าพลัง:
    +51,932
    *** น้ำมากขึ้น กับ อเมริกา ****

    ปริมาณน้ำในโลก...มากขึ้น
    แถบอเมริกา....พายุจะใหญ่ รุนแรง และ ถี่มากขึ้น

    - " หนุมาน ผู้นำสาร "
     
  20. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • ชี้ประเทศร่ำรวยไม่ทำตามที่รับปากเรื่องลดก๊าซเรือนกระจก
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย สำนักข่าวไทย [ 05-12-2007 | 18:19:17 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> บาหลี 5 ธ.ค. – ประเทศร่ำรวยเหลืออีกไม่ถึง 1 เดือน ที่จะต้องปฏิบัติตามคำมั่นเรื่อง ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกตามพิธีสารเกียวโต แต่จนถึงขณะนี้ 16 ประเทศอุตสาหกรรม จากทั้งหมด 36 ประเทศที่ต้องทำตามพิธีสาร ยังคงปล่อยก๊าซฯ เกินเป้าหมายปี 2551-2555
    นายอีโว เดอ โบเออร์ เลขาธิการอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพอากาศ (ยูเอ็นเอฟซีซีซี) กล่าวในการประชุม สหประชาชาติว่า ด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ที่เกาะบาหลี อินโดนีเซีย ว่า ประเทศยากจนกว่า ส่วนใหญ่มีความรู้สึกว่า คำมั่นสัญญาจำนวนมากเรื่องลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และคำมั่นสัญญาในอดีต ล้วนยังไม่ได้รับการปฏิบัติตาม และจะถูกลืมเลือนไป เมื่อมีการบรรลุข้อตกลงใหม่ หลังจากพิธีสารเกียวโตหมดอายุ
    พิธีสารเกียวโต ซึ่งมีผลเมื่อปี 2548 กำหนดให้ประเทศร่ำรวย ต้องลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ภายในปี 2551-2555 ลงเฉลี่ยร้อยละ 5 จากระดับการปล่อยเมื่อปี 2533 แต่ก็อนุญาตให้ประเทศร่ำรวย จ่ายเงินให้ประเทศกำลังพัฒนา ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกแทน หรือที่เรียกว่า เป็นการซื้อขายคาร์บอนเครดิต ประเทศกำลังพัฒนาบางประเทศ เช่น บราซิล เห็นว่าประเทศร่ำรวย ควรพยายามลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในประเทศ ให้ได้เสียก่อน ก่อนที่จะซื้อคาร์บอนเครดิตในต่างประเทศ ขณะที่ประเทศด้อยพัฒนา เช่น เคนยา แทนซาเนีย เวียดนาม อินโดนีเซีย กล่าวต่อที่ประชุมยูเอ็นเอฟซีซีซีว่า ไม่ได้รับประโยชน์จากคาร์บอนเครดิต เพราะเงินที่ซื้อคาร์บอนเครดิตจ่ายให้แก่บริษัท เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ไม่ได้จ่ายให้รัฐบาล อีกทั้งประเทศในแอฟริกา ปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อยอยู่แล้ว จึงไม่มีคาร์บอนเครดิตให้ขายมากนัก
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     

แชร์หน้านี้

Loading...