คชสีห์๙บารมี๙บารมี๙แผ่นดินหลวงปู่หมุนเสก

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย Jumbo A, 30 สิงหาคม 2010.

  1. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    เหรียญรุ่น๑หลวงพ่ออุบาลี วัดจันทร์ตะวันตก พิษณุโลก

    หาอ่านประวัติปฎิปทาท่านตามเวปครับ พระปฎิบัติดีปฎิบัติชอบ มากบารมีอีกท่านครับ

    เหรียญสภาพสวยเดิมๆครับ

    ให้บูชา 350 บาทค่าจัดส่ง EMS50 บาทครับ

    [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]
     
  2. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    เหรียญปลอภัยครูบาอิน วัดฟ้าหลัง เชียงใหม่ รุ่นนี้เจตนาดีพิธีดี เสกนานและหลายพิธี คุ้มค่าเงินบาทครับ

    เหรียญสภาพสวยเดิมๆครับ

    ให้บูชา 2000 บาทครับ


    [​IMG] [​IMG]
     
  3. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    วันนี้จัดส่ง

    EL 3103 2249 3 TH สามเสนใน

    ขอบคุณครับ
     
  4. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    รูปหล่อโบราณย้อนยุคหลวงพ่อยอด วัดหนองปลาหมอสระบุรี เนื้อแร่บางไผ่

    สร้างและปลุกเสกปี ๒๕๔๑ โดยเกจิอาจารย์ยุคนั้น เช่นหลวงพ่อคูณ ออกให้ทำบุญบูชาตอนนั้นองค์ละ 999 บาท
    <center>[​IMG]</center>

    <center>[​IMG]</center> ให้บูชา 1200 บาทครับ

    [​IMG] [​IMG]
     
  5. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    สมเด็จคะแนนเนื้อเรซิ่น หลวงปู่คำพันธุ์ โฆษปัญโญ นครพนม รุ่นอธิฐานบารมี

    ให้บูชาองค์ละ 200 บาทค่าจัดส่ง EMS50 บาทครับ มี 5 องค์ครับ

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]
     
  6. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    เบอร์บัญชีผมครับ
    เบอร์บัญชีธ.กรุงไทย KTB125-0-08923-9 supachai thu
    โอนเงินแล้วช่วยแจ้งวันเวลาที่โอนในกระทู้เพื่อง่ายในการตรวจสอบหรือทางPMแล้วจะรีบดำเนินการจัดส่งEMSไปให้โดยด่วนนะครับ..หลายรายการก็ค่าจัดส่งEMS 50 บาทครับ

    ขอความกรุณาโอนเงินภายใน 3 วันทำการหรือถ้าไม่สะดวกติดต่อมาได้ครับ

    ไม่เกิน 7 วัน หรือตามสมควรครับ

    ติดต่อได้ที่ 08..1.70..4..72..64
     
  7. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    ประวัติ หลวงปู่ทองดำ ฐิตวณโณ วัดท่าทอง จังหวัดอุตรดิตถ์
    [​IMG]


    หลวงปู่ทองดำ วัดท่าทอง จ.อุตรดิตถ์

    ภูมิหลังชาติกำเนิด


    วันพุธ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 5 พุทธศักราช 2441 ณ.บ้านไซโรงโขน อ.ตะพานหิน จ.พิจิตร นายบุญนาค นางจ่าย แม่พริ้ง ได้ให้กำเนิดบุตรคนที่ 4 เพศชาย(ในจำนวนพี่น้องชายหญิง 8 คน) บิดามารดาได้ตั้งชื่อ เด็กชายทองดำ เม่นพริ้ง

    วัยเด็ก

    ขณะเด็กชายทองดำ อายุ 3 ขวบ บิดามารดาได้นำไปถวายเป็นบุตรบุญธรรมกับหลวงพ่อเงิน พุทธโชติ (หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน จ.พิจิตร) หลวงพ่อเงินเห็นครั้งแรกได้เอ๋ยคำออกมา "ไอ้หนูเด็กน้อยคนนี้เป็นเทวดามาเกิด ใครเลี้ยงก็ไม่ได้ มาเป็นลูกของเราเถิดนะ" หลวงพ่อเงินเอาผ้าผืนลงปูรองรับเด็กน้อยคนนี้ ทำพิธีรับลูก

    จากนั้นเด็กคนนี้ได้รับการเลี้ยงดูอุปถัมภ์ สั่งสอน อบรม วิชาความรู้ และสรรพวิชาต่าง ๆ โดยได้พักอาศัยกับหลวงพ่อ เมื่อหลวงพ่อเงิน ท่องบทสวดมนต์เด็กชายทองดำก็สามารถท่องได้จบเล่มในวันเดียว ชาวบ้านรู้ข่าวต่างแห่มาดูการใหญ่ว่าเด็กน้อยคนนี้มีหน้าตาอย่างไร
    กระทั่งโตขึ้นบิดามารดามารับเด็กชายทองดำไปเล่าเรียนศึกษากับอาจารย์โต (เจ้าอาวาสวัดท่าทอง ต.วังกะพี้ จ.อุตรดิตถ์ในสมัยนั้น)

    วัยหนุ่มฉกรรจ์

    นายทองดำได้ฝึกฝนและศึกษาศิลปะการต่อสู้แม่ไม้มวยไทยจนมีความชำนาญ จนได้เป็นนักมวยที่มีฝีมือดีคนหนึ่ง ซึ่งช่วงวัยหนุ่มนี้ทองดำได้เพื่อนคนหนึ่งชื่อ "เล็กย่งหลี"(ต้นตระกูลเล็กอุทัย)มีรูปร่างเล็กไปไหนไปด้วยกันประจำ ได้ฝึกชกมวยด้วยกันมา หากออกชกมวยที่ไหนจะให้เล็กย่งหลีขึ้นไปเปรียบหาคู่ชก แต่ตอนเวลาชกนายทองดำจะเป็นผู้ชกแทน ก่อนชกนายทองดำจะบริกรรมคาถาที่ได้ร่ำเรียนมาโยมปู่จนรู้สึกตัวหนา(ของขึ้น)และนายทองดำก็สามารถชกมวยชนะแทบทุกครั้ง

    อายุครบเกณฑ์ทหาร ได้เข้ารับเป็นทหาร 2 ปี ปลดจากทหารประจำการแล้วจึงได้อุปสมบทสู่ร่มพระศาสนา

    สู่ร่มพระศาสนา

    หลวงปู่ทองดำ อุปสมบทเมื่ออายุ 22 ปี ณ. พระอุโบสถ วัดวังหมู ต.หาดกรวด อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ โดยมีพระครูวิเชียรปัญญามหามุนี (เรือง )เจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ เจ้าอาวาสวัดท่าถนน ต.ท่าอฐ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ ในขณะนั้นเป็นองค์อุปัชฌาย์ เมื่อวันที่ 5 พ.ค. 2463
    พระอาจารย์แส เจ้าอาวาสวัดวังหมู ต.หาดกรวด อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า
    “ฐิตวณโณ” เมื่ออุปสมบทแล้ว ได้จำพรรษาอยู่ที่วัดท่าทอง 1 พรรษา ทางวัดท่าทอง ต.วังกะพี้ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ ตำแหน่งเจ้าอาวาสว่างลง คณะศรัทธา วัดท่าทองได้ลงความเห็นพ้องกัน โดยได้ไปกราบนมัสการเจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อขออนุญาตจากเจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ด้วยดี คณะศรัทธาให้”พระภิกษุทองดำ” เพื่อนิมนต์ให้ไปดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดท่าทอง ซึ่งหลวงพ่อเองก็มีเจตนาอันบริสุทธิ์และจิตใจอันแน่วแน่ต่อพระพุทธศาสนาและ เป็นโอกาสที่จะได้พัฒนาทำนุบำรุงเพื่อจรรโลงพระพุทธศาสนาให้เจริญรุงเรือง ยิ่งขึ้นสมความตั้งใจ หลวงพ่อจึงรับภารกิจนิมนต์ครั้งนี้และย้ายมาดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดท่าทอง ตั้งแต่ปี พ.ศ.2468เป็นต้นมา

    การศึกษาพระปริยัติธรรม

    การที่หลวงย้ายมาจากวัดท่าทองมาอยู่วัดท่าถนน ซึ่งเป็นวัดของพระอุปัชฌาย์ของท่านเป็นเจ้าอาวาสอยู่นั้น ด้วยความมุ่งมั่นที่จะศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างจริงจัง เพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับพระธรรมวินัยให้ละเอียดและถ่องแท้ หลวงปู่ได้มีความขยันเพียนตั้งใจศึกษาด้วยความวิริยะอุตสาหะภายในปีเดียวก็ สอบได้นักธรรมตรี (พ.ศ.2466) ด้วยเหตุแห่งการศึกษาทางพระธรรมวินัยในสมัยนั้นยังไม่เจริญพอการศึกษามี เพียงชั้นนักธรรมตรีเท่านั้น ฉะนั้นการศึกษาของท่านต้องหยุดชะงักลง

    ตำแหน่งการปกครองและสมณศักดิ์ที่ได้รับตั้งแต่ปี พ.ศ.2468
    หลวงปู่ทองดำ มีตำแหน่งการปกครองคณะสงฆ์และสมณศักดิ์พัดยศดังนี้

    - ปีพ.ศ.2468 อายุ 27 ปี พรรษา 5 ดำลงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดท่าทอง
    - ปี พ.ศ.2478 ได้รับสมณศักดิ์แต่งตั้งเป็นพระธรรมธรฐานานุกรมของพระครูวิเชียรปัญญา มหามุณีศรีอุตรดิตถ์ เจ้าคณะอุตรดิถต์
    - ปี พ.ศ.2482 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะเป็นเจ้าคณะตำบลหาดกรวด-วังกะพี้ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์และในปีนั้นได้เลือนสมณศักดิ์แต่งตั้งเป็นพระปลัดฐานานุกรม ของพระครูธรรมสารโกวิทย์ (ยศ)เจ้าคณะแขวงเมืองอุตรดิตถ์
    - ปี พ.ศ. ได้รับการแต่งตั้งเป็นสาธารณูปการ อ.เมืองอุตรดิตถ์
    - ปี พ.ศ. 2487 ได้รับพระราชทานเป็นพระครูธรรมมาภรณ์ประสาท
    - ปี พ.ศ.2497 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระอุปัชฌาย์
    - ปี พ.ศ.2498 ได้รับการแต่งตั้งเป็นสาธารณูปการจังหวัดอุตรดิตถ์
    - ปี พ.ศ.2504 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชทานคณะชั้นสามัญนาม “พระนิมมานโกวิท”
    - ปี พ.ศ.2510 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเป็นคณะอำเภอเมืองอุตรดิตถ์
    - ปี พ.ศ.2542 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรง ตำแหน่งที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จวบจนมรณภาพ

    การศึกษาด้านเวทย์มนต์คาถาอาคม

    ช่วงวัยเด็ก หลวงปู่ทองดำ ฐิตวณโณ ได้ ติดตามบิดาล่องเรือขายยาสูบระหว่างอุตรดิตถ์ จ.พิจิตร จ.นครสวรรค์ บิดามารดาได้ฝากเป็นเด็กวัด เรียนหนังสือกับหลวงพ่อเงิน พุทธโชติ วัดบางคลาน จ.พิจิตร คอยรับใช้ใกล้ชิดท่านอนุญาตให้พักกุฎิเดียวกับท่าน หลวงพ่อเงินได้สอนสรรพวิชาอาคมไสยเวทต่าง ๆ คาถาที่หลวงพ่อเงินสอนไว้นั้นที่สำคัญคือ “นะโมพุทธายะ” (พระเจ้าห้าพระองค์) ซึ่งต่อมาหลวงปู่ได้ใช้เป็นคาถาประจำตัวของท่านตลออดมา นอกจากนั้นหลวงปู่ยังได้ศึกษาวิชาอาคมกับโยมปู่ของท่าน ซึ่งเป็นวิชาอยู่ยงคงกระพัน เพื่อป้องกันตนเอง หลวงปู่ได้ใช้วิชานี้ปลุกเศกตัวเองก่อนจะขึ้นชกมวยทุกครั้ง โดยก่อนจะขึ้นชกมวยหลวงปู่จะบริกรรมคาถาจนรู้สึกว่าเนื้อเริ่มหน่าขึ้น (ของชึ้น)จึงจะชกได้

    เมื่อขณะหลวงอุปสมบทแล้ว ได้ไปจำพรรษาอยู่ที่วัดท่าถนน (วัดหลวงพ่อเพ็ชร) ซึ่งอยู่ในตัวเมืองอุตรดิตถ์ หลวงปู่ทองดำ ทราบว่าที่วัดกลางอยู่ห่างจากวัดท่าถนนทางทิศใต้ประมาณ 2 กิโลเมตร มีพระภิกษุชราอยู่รูปหนึ่ง “หลวงพ่อทิม” ขาดการดูแลเอาใจใส่ หลวงปู่ทองดำ จึงได้ใช้เวลาว่างเดินทางจากวัดท่าถนนมาวัดกลางทุกวัน เพื่อปรนนิบัติรับใช้หลวงพ่อทิมด้วยจิตใจเมตตาและให้ความเคราพนับถึอ โดยหลวงปู่ทองดำ ได้ปฎิบัติภารกิจเป็นประจำทุกวัน ได้แก่ ตักน้ำ ขึ้นมาจากท่าแม่น้ำน่าน นำมาใส่ตุ่มไว้ให้หลวงพ่อทิมได้สรง เก็บกวาดกุฎิ ชำระล้างภาชนะต่างๆ ประจำมิขาด โดยหลวงปู่ทองดำ มิได้หวังสิ่งค่าตอบแทนใดๆทั้งสิ้น แต่ทำไปเพราะจิตเมตตาแก่ภิกษุผู้สูงอายุโดยแท้ซึงจากการกระทำความดีของหลวง ปู่ ทำให้หลวงพ่อทิมซึ่งขณะนั้นไม่มีผู้ใดทราบความเป็นมาหลวงพ่อทิมว่าเป็นพระ ภิกษุเชี่ยวชาญมนต์คาถาทุกด้าน ซึ่งกิตติศัพท์ ชาวบ้านย่านเกาะบางโพและตำบลใกล้เคียงทราบคือ “ตะกรุดโทน”

    ซึ่งหลวงพ่อปลุกเศกโดยดำลงน้ำจารึกอักขระบนแผ่นตะกรุดจน กว่าจะเสร็จ น่าเสียดายวันหนึ่งมีมนุษย์ผู้เขลาด้วยปัญญา นำตะกรุดที่ท่านมอบไปผูกคอสุนัขและยิงสุนัข แต่ปาฎิหารย์กระสุนด้านหมด เมื่อหลวงพ่อทิมเห็นสุขันวิ่งหลบใต้กุฎิจึงถอดออกจากคอสุนัข ท่านโกรธจึงประกาศงดให้เครื่องรางของขลังแก่ ชาวบ้าน หลวงปู่เมื่อได้รับมอบวิชาและตำราจากหลวงพ่อทิมไปแล้ว ท่านหมั่นศึกษาภาวนาปฎิบัติ ทุกบท ทุกวรรคตอน จนสิ้นกระบวนความในตำรา จนชาวบ้าน บ้านเกาะต่างกล่าวกันว่าหลวงพ่อทิมไปเกิดที่วัดท่าทอง หลวงปู่ได้ใช้คาถาอาคมช่วยเหลือชาวบ้านตลอดมา ประพรมชาวบ้านที่แวะเวียนมากราบนมัสการท่าน ซึ่งน้ำมนต์นี้หลวงปู่จะปลุกเศกทุกวัน ใส่โองมังกรขนาดใหญ่

    จบ ประวัติหลวงปู่ทองคำ วัดท่าทอง



    พระเหนือพรหม ลูกศิษย์ชาวสิงคโปร์สายหลวงพ่อแพ วัดพิกุลทองสร้างถวายให้หลวงปู่ทองคำ วัดท่าทอง อุตรดิตย์ ปลุกเสก พระส่วนใหญ่ไปอยุ่กับชาวสิงคโปรค์และศิษย์สายหลวงพ่อแพ
    ขอขอบคุณท่านเจ้าของบทความข้อมูลที่มาข้อมูลอย่างสูงครับ

    มี 2 องค์

    ให้บูชา 200 บาทค่าจัดส่งEMS50 บาทครับ

    องค์ที่ 1

    [​IMG] [​IMG]

    องค์ที่ 2
    [​IMG] [​IMG]


    ใบฝอยที่ติดมาด้วย
    [​IMG]
     
  8. Klay9

    Klay9 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 กันยายน 2007
    โพสต์:
    582
    ค่าพลัง:
    +622
    ได้รับพระนารายณ์ทรงครุฑวัดเขาวงเรียบร้อยครับ
    สวยมากครับขอบคุณครับ
     
  9. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    จัดส่ง

    EL 3103 3131 4 TH คลองจัน

    EL 3103 3133 1 TH มหาสารคาม

    EL 3103 3132 8 TH นครพนม

    ขอบคุณครับ
     
  10. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
  11. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    เหรียญถวายภัตราหาร หลวงพ่อชำนาญ


    ให้บูชา 700 บาทค่าจัดส่งEMS 50 บาทครับ

    [​IMG] [​IMG]
     
  12. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    เหรียญพระปิดตาหลวงพ่อทองดำ วัดถ้ำตะเพียนทอง ลพบุรี ปี๒๓

    พิธีใหญ่
    เหรียญปิดตาดอกพิกุล รุ่นแรก พิมพ์ใหญ่ พ.ศ. 2523 เนื้อทองแดง สภาพสวยครับ เหรียญรุ่นนี้ถือเป็น วัตถุมงคล รุ่น 3 วัดถ้ำตะเพียนทอง จัดสร้าง พ.ศ.2523 พิธีพุทธาภิเษกที่อุโบสถวัดเวฬุราชิน เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ.2522 โดยพระเกจิ กว่า 30 องค์ อาทิ
    1.หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
    2.หลวงปู่เส่ง วัดกัลยา
    3.หลวงปู่สาม วัดไตรวิเวก
    4.หลวงปู่คำมี วัดถ้ำคูหาสวรรค์
    5.หลวงพ่อสมชาย วัดเขาสุกิม
    6.หลวงพ่อพริ้ง วัดโบสถ์โก่งธนู
    7.หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง
    8.หวงพ่อทองอยู่ วัดใหม่หนองพะอง
    9.หลวงพ่อทองสุข วัดสะพานสูง
    9.หลวงพ่อทองดำ วัดถ้ำตะเพียนทอง ฯลฯ

    ให้บูชา 400 บาทค่าจัดส่งEMS 50 บาทครับ

    [​IMG] [​IMG]
     
  13. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    จัดส่ง

    EL 3103 3634 2 TH สำเหร่

    EL 3103 3635 6 TH บุญฑริก

    ขอบคุณครับ
     
  14. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    รูปหล่อโบราณย้อนยุคหลวงพ่อยอด วัดหนองปลาหมอสระบุรี เนื้อแร่บางไผ่

    สร้างและปลุกเสกปี ๒๕๔๑ โดยเกจิอาจารย์ยุคนั้น เช่นหลวงพ่อคูณ ออกให้ทำบุญบูชาตอนนั้นองค์ละ 999 บาท
    <center>[​IMG]</center>

    <center>[​IMG]</center> ให้บูชา 1200 บาทครับ

    [​IMG] [​IMG]
     
  15. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    ประวัติ หลวงปู่ทองดำ ฐิตวณโณ วัดท่าทอง จังหวัดอุตรดิตถ์
    [​IMG]


    หลวงปู่ทองดำ วัดท่าทอง จ.อุตรดิตถ์

    ภูมิหลังชาติกำเนิด


    วันพุธ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 5 พุทธศักราช 2441 ณ.บ้านไซโรงโขน อ.ตะพานหิน จ.พิจิตร นายบุญนาค นางจ่าย แม่พริ้ง ได้ให้กำเนิดบุตรคนที่ 4 เพศชาย(ในจำนวนพี่น้องชายหญิง 8 คน) บิดามารดาได้ตั้งชื่อ เด็กชายทองดำ เม่นพริ้ง

    วัยเด็ก

    ขณะเด็กชายทองดำ อายุ 3 ขวบ บิดามารดาได้นำไปถวายเป็นบุตรบุญธรรมกับหลวงพ่อเงิน พุทธโชติ (หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน จ.พิจิตร) หลวงพ่อเงินเห็นครั้งแรกได้เอ๋ยคำออกมา "ไอ้หนูเด็กน้อยคนนี้เป็นเทวดามาเกิด ใครเลี้ยงก็ไม่ได้ มาเป็นลูกของเราเถิดนะ" หลวงพ่อเงินเอาผ้าผืนลงปูรองรับเด็กน้อยคนนี้ ทำพิธีรับลูก

    จากนั้นเด็กคนนี้ได้รับการเลี้ยงดูอุปถัมภ์ สั่งสอน อบรม วิชาความรู้ และสรรพวิชาต่าง ๆ โดยได้พักอาศัยกับหลวงพ่อ เมื่อหลวงพ่อเงิน ท่องบทสวดมนต์เด็กชายทองดำก็สามารถท่องได้จบเล่มในวันเดียว ชาวบ้านรู้ข่าวต่างแห่มาดูการใหญ่ว่าเด็กน้อยคนนี้มีหน้าตาอย่างไร
    กระทั่งโตขึ้นบิดามารดามารับเด็กชายทองดำไปเล่าเรียนศึกษากับอาจารย์โต (เจ้าอาวาสวัดท่าทอง ต.วังกะพี้ จ.อุตรดิตถ์ในสมัยนั้น)

    วัยหนุ่มฉกรรจ์

    นายทองดำได้ฝึกฝนและศึกษาศิลปะการต่อสู้แม่ไม้มวยไทยจนมีความชำนาญ จนได้เป็นนักมวยที่มีฝีมือดีคนหนึ่ง ซึ่งช่วงวัยหนุ่มนี้ทองดำได้เพื่อนคนหนึ่งชื่อ "เล็กย่งหลี"(ต้นตระกูลเล็กอุทัย)มีรูปร่างเล็กไปไหนไปด้วยกันประจำ ได้ฝึกชกมวยด้วยกันมา หากออกชกมวยที่ไหนจะให้เล็กย่งหลีขึ้นไปเปรียบหาคู่ชก แต่ตอนเวลาชกนายทองดำจะเป็นผู้ชกแทน ก่อนชกนายทองดำจะบริกรรมคาถาที่ได้ร่ำเรียนมาโยมปู่จนรู้สึกตัวหนา(ของขึ้น)และนายทองดำก็สามารถชกมวยชนะแทบทุกครั้ง

    อายุครบเกณฑ์ทหาร ได้เข้ารับเป็นทหาร 2 ปี ปลดจากทหารประจำการแล้วจึงได้อุปสมบทสู่ร่มพระศาสนา

    สู่ร่มพระศาสนา

    หลวงปู่ทองดำ อุปสมบทเมื่ออายุ 22 ปี ณ. พระอุโบสถ วัดวังหมู ต.หาดกรวด อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ โดยมีพระครูวิเชียรปัญญามหามุนี (เรือง )เจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ เจ้าอาวาสวัดท่าถนน ต.ท่าอฐ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ ในขณะนั้นเป็นองค์อุปัชฌาย์ เมื่อวันที่ 5 พ.ค. 2463
    พระอาจารย์แส เจ้าอาวาสวัดวังหมู ต.หาดกรวด อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า
    “ฐิตวณโณ” เมื่ออุปสมบทแล้ว ได้จำพรรษาอยู่ที่วัดท่าทอง 1 พรรษา ทางวัดท่าทอง ต.วังกะพี้ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ ตำแหน่งเจ้าอาวาสว่างลง คณะศรัทธา วัดท่าทองได้ลงความเห็นพ้องกัน โดยได้ไปกราบนมัสการเจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อขออนุญาตจากเจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ด้วยดี คณะศรัทธาให้”พระภิกษุทองดำ” เพื่อนิมนต์ให้ไปดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดท่าทอง ซึ่งหลวงพ่อเองก็มีเจตนาอันบริสุทธิ์และจิตใจอันแน่วแน่ต่อพระพุทธศาสนาและ เป็นโอกาสที่จะได้พัฒนาทำนุบำรุงเพื่อจรรโลงพระพุทธศาสนาให้เจริญรุงเรือง ยิ่งขึ้นสมความตั้งใจ หลวงพ่อจึงรับภารกิจนิมนต์ครั้งนี้และย้ายมาดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดท่าทอง ตั้งแต่ปี พ.ศ.2468เป็นต้นมา

    การศึกษาพระปริยัติธรรม

    การที่หลวงย้ายมาจากวัดท่าทองมาอยู่วัดท่าถนน ซึ่งเป็นวัดของพระอุปัชฌาย์ของท่านเป็นเจ้าอาวาสอยู่นั้น ด้วยความมุ่งมั่นที่จะศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างจริงจัง เพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับพระธรรมวินัยให้ละเอียดและถ่องแท้ หลวงปู่ได้มีความขยันเพียนตั้งใจศึกษาด้วยความวิริยะอุตสาหะภายในปีเดียวก็ สอบได้นักธรรมตรี (พ.ศ.2466) ด้วยเหตุแห่งการศึกษาทางพระธรรมวินัยในสมัยนั้นยังไม่เจริญพอการศึกษามี เพียงชั้นนักธรรมตรีเท่านั้น ฉะนั้นการศึกษาของท่านต้องหยุดชะงักลง

    ตำแหน่งการปกครองและสมณศักดิ์ที่ได้รับตั้งแต่ปี พ.ศ.2468
    หลวงปู่ทองดำ มีตำแหน่งการปกครองคณะสงฆ์และสมณศักดิ์พัดยศดังนี้

    - ปีพ.ศ.2468 อายุ 27 ปี พรรษา 5 ดำลงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดท่าทอง
    - ปี พ.ศ.2478 ได้รับสมณศักดิ์แต่งตั้งเป็นพระธรรมธรฐานานุกรมของพระครูวิเชียรปัญญา มหามุณีศรีอุตรดิตถ์ เจ้าคณะอุตรดิถต์
    - ปี พ.ศ.2482 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะเป็นเจ้าคณะตำบลหาดกรวด-วังกะพี้ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์และในปีนั้นได้เลือนสมณศักดิ์แต่งตั้งเป็นพระปลัดฐานานุกรม ของพระครูธรรมสารโกวิทย์ (ยศ)เจ้าคณะแขวงเมืองอุตรดิตถ์
    - ปี พ.ศ. ได้รับการแต่งตั้งเป็นสาธารณูปการ อ.เมืองอุตรดิตถ์
    - ปี พ.ศ. 2487 ได้รับพระราชทานเป็นพระครูธรรมมาภรณ์ประสาท
    - ปี พ.ศ.2497 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระอุปัชฌาย์
    - ปี พ.ศ.2498 ได้รับการแต่งตั้งเป็นสาธารณูปการจังหวัดอุตรดิตถ์
    - ปี พ.ศ.2504 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชทานคณะชั้นสามัญนาม “พระนิมมานโกวิท”
    - ปี พ.ศ.2510 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเป็นคณะอำเภอเมืองอุตรดิตถ์
    - ปี พ.ศ.2542 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรง ตำแหน่งที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จวบจนมรณภาพ

    การศึกษาด้านเวทย์มนต์คาถาอาคม

    ช่วงวัยเด็ก หลวงปู่ทองดำ ฐิตวณโณ ได้ ติดตามบิดาล่องเรือขายยาสูบระหว่างอุตรดิตถ์ จ.พิจิตร จ.นครสวรรค์ บิดามารดาได้ฝากเป็นเด็กวัด เรียนหนังสือกับหลวงพ่อเงิน พุทธโชติ วัดบางคลาน จ.พิจิตร คอยรับใช้ใกล้ชิดท่านอนุญาตให้พักกุฎิเดียวกับท่าน หลวงพ่อเงินได้สอนสรรพวิชาอาคมไสยเวทต่าง ๆ คาถาที่หลวงพ่อเงินสอนไว้นั้นที่สำคัญคือ “นะโมพุทธายะ” (พระเจ้าห้าพระองค์) ซึ่งต่อมาหลวงปู่ได้ใช้เป็นคาถาประจำตัวของท่านตลออดมา นอกจากนั้นหลวงปู่ยังได้ศึกษาวิชาอาคมกับโยมปู่ของท่าน ซึ่งเป็นวิชาอยู่ยงคงกระพัน เพื่อป้องกันตนเอง หลวงปู่ได้ใช้วิชานี้ปลุกเศกตัวเองก่อนจะขึ้นชกมวยทุกครั้ง โดยก่อนจะขึ้นชกมวยหลวงปู่จะบริกรรมคาถาจนรู้สึกว่าเนื้อเริ่มหน่าขึ้น (ของชึ้น)จึงจะชกได้

    เมื่อขณะหลวงอุปสมบทแล้ว ได้ไปจำพรรษาอยู่ที่วัดท่าถนน (วัดหลวงพ่อเพ็ชร) ซึ่งอยู่ในตัวเมืองอุตรดิตถ์ หลวงปู่ทองดำ ทราบว่าที่วัดกลางอยู่ห่างจากวัดท่าถนนทางทิศใต้ประมาณ 2 กิโลเมตร มีพระภิกษุชราอยู่รูปหนึ่ง “หลวงพ่อทิม” ขาดการดูแลเอาใจใส่ หลวงปู่ทองดำ จึงได้ใช้เวลาว่างเดินทางจากวัดท่าถนนมาวัดกลางทุกวัน เพื่อปรนนิบัติรับใช้หลวงพ่อทิมด้วยจิตใจเมตตาและให้ความเคราพนับถึอ โดยหลวงปู่ทองดำ ได้ปฎิบัติภารกิจเป็นประจำทุกวัน ได้แก่ ตักน้ำ ขึ้นมาจากท่าแม่น้ำน่าน นำมาใส่ตุ่มไว้ให้หลวงพ่อทิมได้สรง เก็บกวาดกุฎิ ชำระล้างภาชนะต่างๆ ประจำมิขาด โดยหลวงปู่ทองดำ มิได้หวังสิ่งค่าตอบแทนใดๆทั้งสิ้น แต่ทำไปเพราะจิตเมตตาแก่ภิกษุผู้สูงอายุโดยแท้ซึงจากการกระทำความดีของหลวง ปู่ ทำให้หลวงพ่อทิมซึ่งขณะนั้นไม่มีผู้ใดทราบความเป็นมาหลวงพ่อทิมว่าเป็นพระ ภิกษุเชี่ยวชาญมนต์คาถาทุกด้าน ซึ่งกิตติศัพท์ ชาวบ้านย่านเกาะบางโพและตำบลใกล้เคียงทราบคือ “ตะกรุดโทน”

    ซึ่งหลวงพ่อปลุกเศกโดยดำลงน้ำจารึกอักขระบนแผ่นตะกรุดจน กว่าจะเสร็จ น่าเสียดายวันหนึ่งมีมนุษย์ผู้เขลาด้วยปัญญา นำตะกรุดที่ท่านมอบไปผูกคอสุนัขและยิงสุนัข แต่ปาฎิหารย์กระสุนด้านหมด เมื่อหลวงพ่อทิมเห็นสุขันวิ่งหลบใต้กุฎิจึงถอดออกจากคอสุนัข ท่านโกรธจึงประกาศงดให้เครื่องรางของขลังแก่ ชาวบ้าน หลวงปู่เมื่อได้รับมอบวิชาและตำราจากหลวงพ่อทิมไปแล้ว ท่านหมั่นศึกษาภาวนาปฎิบัติ ทุกบท ทุกวรรคตอน จนสิ้นกระบวนความในตำรา จนชาวบ้าน บ้านเกาะต่างกล่าวกันว่าหลวงพ่อทิมไปเกิดที่วัดท่าทอง หลวงปู่ได้ใช้คาถาอาคมช่วยเหลือชาวบ้านตลอดมา ประพรมชาวบ้านที่แวะเวียนมากราบนมัสการท่าน ซึ่งน้ำมนต์นี้หลวงปู่จะปลุกเศกทุกวัน ใส่โองมังกรขนาดใหญ่

    จบ ประวัติหลวงปู่ทองคำ วัดท่าทอง



    พระเหนือพรหม ลูกศิษย์ชาวสิงคโปร์สายหลวงพ่อแพ วัดพิกุลทองสร้างถวายให้หลวงปู่ทองคำ วัดท่าทอง อุตรดิตย์ ปลุกเสก พระส่วนใหญ่ไปอยุ่กับชาวสิงคโปรค์และศิษย์สายหลวงพ่อแพ
    ขอขอบคุณท่านเจ้าของบทความข้อมูลที่มาข้อมูลอย่างสูงครับ

    มี 2 องค์

    ให้บูชา 200 บาทค่าจัดส่งEMS50 บาทครับ

    องค์ที่ 1

    [​IMG] [​IMG]

    องค์ที่ 2
    [​IMG] [​IMG]


    ใบฝอยที่ติดมาด้วย
    [​IMG]
     
  16. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    พระ บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช” ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเททองเป็น "ปฐมฤกษ์" ในวันที่ 9 มีนาคม พุทธศักราช 2513 โดยทรงประกอบพิธีเททองหล่อ “พระกริ่งจุฬาลงกรณ์เนื้อทองคำ” เป็นปฐมฤกษ์ และ “ทองชนวน” ที่เหลือนั้นช่างได้นำไปผสมผสานกับเนื้อโลหะที่สร้าง “วัตถุมงคล” ทุกชนิดจนครบตามจำนวนที่กำหนดไว้แล้วตกแต่งให้สวยงาม โดยใช้ระยะเวลาในการดำเนินการประมาณ “9 เดือน” จึงแล้วเสร็จจากนั้นทางวัดจึงกำหนดประกอบพิธี “มหาพุทธาภิเษก” เป็นเวลา “3 วัน 3 คืน” คือระหว่างวันที่ 29-30-31 มกราคม พ.ศ. 2514 โดย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงมีพระมหากรุณา ธิคุณโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธี “จุดเทียนชัย” ในวันศุกร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2514 อันเป็นวันครบรอบวันสถาปนา “วัดราชบพิธฯ” ครบ “101 ปี กับ 2 วัน
    อนึ่ง นับเป็นวาระ “อันพิเศษยิ่ง” ที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มหาราช ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าฯ แก่ “วัดราชบพิธฯ” ยิ่งนักเพราะตามบันทึกของวัดนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มหาราช ได้เสด็จพระราชดำเนินมายัง “พิธีพุทธาภิเษก” วัตถุมงคลฉลอง “100 ปี” ที่วัดราชบพิธฯ ถึง “2 วัน” ด้วยกันคือ วันศุกร์ที่ 29 มกราคม 2514 อันเป็นวันเริ่มพิธี “มหาพุทธาภิเษก” ได้เสด็จฯ ทรงจุด “เทียนชัยพุทธาภิเษก, เทียนมหามงคล” และ “เทียนนวหรคุณ” ในเวลา 16.05 น.
    วันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม 2514 เวลา 24.00 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จฯ ในพิธีมหาพุทธาภิเษกและทรง “พระสุหร่าย, ทรงเจิมปูชนียวัตถุ, ทรงโปรยข้าวตอกดอกไม้” จึงนับเป็น “กรณีพิเศษยิ่ง” ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จฯ ทรงประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษกเป็นเวลาถึง “2 วัน”
    [​IMG]
    นอกเหนือจากทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ในพิธี “เททอง” เป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2513 แล้ว ดังนั้น “วัตถุมงคล” ชุด “ฉลอง 100 ปี วัดราชบพิธฯ” นี้จึงเป็นวัตถุมงคลที่ถึงพร้อมด้วย “พระพุทธคุณ, พระธรรม คุณ, พระสังฆคุณ” และ “พระมหากษัตริยาธิคุณ” ของ “พระมหากษัตริย์” ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐแก่ประเทศไทยถึง “2 พระองค์” ด้วยกันคือ “รัชกาลที่ 5” และ“รัชกาลที่ 9” อย่างเปี่ยมล้นยิ่งนัก.
    -----------------------------------------------
    พระ กริ่งรุ่นนี้ออกแบบโดยนายช่าง เกษม มงคลเจริญ สร้างในปี 2513 ในวาะครบ 100 ปี วัดราชบพิธฯ ในหลวงเสด็จพระราชดำเนิน ประกอบพิธีถึง 3 ครั้ง พิธีมหาพุทธาภิเษก 3 วัน 3 คืน โดยพระคณาจารย์ 108 รูป ซึ่งล้วนเเต่เป็นพระคณาจารย์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังด้านพุทธคมในยุคนั้นทั้ง สิ้นที่รับนิมนต์มานั่งปรกปริกรรมเจริญภาวนาโดยผลัดเปลี่ยนกันมาร่วมพิธีใน เเต่ละวันดังนี้
    ๑. วันศุกร์ที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๔
    ระหว่างเวลา ๑๖.๓๐-๒๐.๐๐ น. คือ
    ๑.) พระเทพสังวรวิมล (เจียง) วัดเจริญสุขาราม จ.สมุทรสงคราม
    ๒.) พระราชธปรมากรณ์ (เงิน) วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม
    ๓.) พระศูพิพิธวิหารการ (หลวงพ่อเทียม) วัดกษัตราธิราช จ.พระนครศรีอยุธยา
    ๔.) หลวงพ่อกี วัดหูช้าง จ.นนทบุรี
    ๕.) พระครูโสภณพัฒนกิจ วัดอัมพวา บางกอกน้อย ธนบุรี กรุงเทพฯ
    ๖.) พระครูสุทธิการี (หลวงพ่อทองอยู่) วัดใหม่หนองพะอง จ.สมุทรสาคร
    ๗.) พระครูโพธิสารประสาธน์ (บุญมี) วัดโพธิ์สัมพันธ์ จ.ชลบุรี
    ๘.) พระครูอุภัยภาดาทร (หลวงพ่อขอม) วัดโพธาราม (วัดไผ่โรงวัว) จ.สุพรรณบุรี
    ๙.) พระครูนนทกิจวิมล (หลวงพ่อชื่น) วัดตำหนักเหนือ จ.นนท บุรี
    ๑๐.) พระครูสมุห์อำพล วัดประสาทบุญญาวาส กรุงเทพฯ
    ๑๑.) พระอาจารย์อรุณ วัดตะล่อม ธนบุรี กรุงเทพฯ
    ๑๒.) พระครูสมุห์สำรวย วัดกษัตราธิราช จ.พระนครศรีอยุธยา
    เวลา ๒๐.๐๐-๒๒.๐๐ น.
    ๑.) พระราชสุทธาจารย์ (โชติ ระลึกชาติ) วัดวชิราลงกรณ์จ.นครราชสีมา
    ๒.) พระนิโรธรังสีคัมภีร์เมธาจารย์ (หลวงปู่เทสก์ เทสโก) วัดหินหมากเป้ง จ.หนองคาย
    ๓.) พระอินทสมาจารย์ (เงิน อินทสโร) วัดอินทรวิหาร กรุงเทพฯ
    ๔.) พระครูสภาพรพุทธมนต์ (สำเนียง อยู่สถาพร) วัดเวฬุวนาราม จ.นครปฐม
    ๕.) พระครูกัลป์ยานุกูล (เฮง) วัดกัลยาณมิตร ธนบุรี กรุงเทพฯ
    ๖.) พระครูภาวนาภิรม วัดปากน้ำภาษีเจริญ ธนบุรี กรุงเทพ
    ๗.) พระครูประภัสสรศีลคุณ (เอก) วัดไผ่ดำ จ.สิงห์บุรี
    ๘.) พระครูสมุห์หิน วัดระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพฯ
    ๙.) หลวง พ่อใหญ่อภินันโท (จุล) วัดถ้ำคูหาสวรรค์ จ.ลพบุรี
    ๑๐.) พระอาจารย์อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโศธาราม จ.อุดรธานี
    ๑๑.) พระอาจารย์มหาบัว ญาณสัมปันโน (พระธรรมวิสุทธิมงคล) วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี
    ๑๒.) พระครูใบฎีกาสมาน (หลวงพ่อเณร) วัดพรพระร่วง กรุงเทพฯ,
    เวลา ๒๒.๐๐-๒๔.๐๐ น.
    ๑.) พระราชวตาจารย์ วัดมกุฏกษัตริยาราม กรุงเทพฯ
    ๒.) พระญาณโพธิ (เข็ม) วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ
    ๓.) พระวิเชียรมุนี วัดอินทราม กรุงเทพฯ
    ๔.) พระพุทธมนต์วราจารย์ (สุพจน์) วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ
    ๕.) พระโสภณมหาจารย์ วัดดาวดึงนาราม กรุงเทพฯ
    ๖.) พระครูพิบูลมงคล วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ
    ๗.) พระมงคลสุรี วัดนาคกลาง กรุงเทพฯ
    ๘.) พระครูปลัดสงัด วัดโพธิ์ท่าเตียน กรุงเทพฯ
    ๙.) พระครูวินัยธร (เดช) วัดสระเกศฯ กรุงเทพฯ
    ๑๐.) พระปลัดมานพ วัดชิโนรสราม กรุงเทพฯ
    ๑๑.) พระมหาวาส วัดปทุมวนาราม กรุงเทพฯ
    ๑๒.) พระอาจารย์ผ่อง จินดา วัดจักรวรรดิ (สามปลื้ม) กรุง เทพฯ,
    พระสวดพุทธาภิเษก
    ระหว่างเวลา ๑๖.๓๐-๒๑.๐๐น. จำนวน ๔ รูป จากวัดสุทัศนเทพวราราม,
    ระหว่าง เวลา ๒๑.๐๐-๒๔.๐๐ น. จำนวน ๔ รูป จากวัดบวรนิเวศวิหาร
    ๒.วันเสาร์ที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๔
    เวลา ๑๘.๐๐-๒๐.๐๐ น.
    ๑.) พระธรรมวราลังการ วัดบุปผาราม ธนบุรี กรุงเทพฯ,
    ๒.) พระโพธิวรคุณ (ไพฑูรย์) วัดโพธิ์นิมิต กรุงเทพฯ,
    ๓.) พระครูสีลวิสุทธาจารย์ วัดสง่างาม จ.ปราจีนบุรี
    ๔.) พระครูประภัศระธรรมาภรณ์ (หลวงพ่อแต้ม) วัดพระลอย จ.สุพรรณบุรี
    ๕.) พระครูประสิทธิสารคุณ (พ้น) วัดอุบลวรรณาราม จ.ราชบุรี
    ๖.) พระครูสังฆวฒาจารย์ (หลวงปู่เย่อ) วัดอาฬาสงคราม จ.สมุทรปราการ
    ๗.) พระอาจารย์หนู วัดบางกะดี่ กรุงเทพฯ
    ๘.) พระอาจารย์มงคล (กิมไซ) วัดป่าเกตุ จ.สมุทรปราการ
    ๙.) พระครูสมุห์ทองคำ วัดเสาธงทอง จ.ลพบุรี
    ๑๐.) พระอาจารย์สมภพ เตชบุญโญ วัดสาลีโขภิรตาราม จ.นนทบุรี
    ๑๑.) พระอาจารย์ยาน วัดถ้ำเขาหลักไก่ จ.ราชบุรี,
    ๑๒.) พระอาจารย์บุญกู้ วัดอโศกตาราม จ.สมุทรปราการ
    เวลา ๒๐.๐๐-๒๒.๐๐ น.
    ๑.) พระสุนทรธรรมภาณ วัดอโศการาม จ.สมุทรปราการ
    ๒.) พระครูโสภณกัลป์นาณวัตร (เส่ง) วัดกัลยาณมิตร กรุงเทพฯ
    ๓.) พระครูวรพรตศีลขันธ์ (แฟ้ม) วัดป่าอรัญศิกาวาส จ.ชลบุรี
    ๔.) พระครูปสาธน์วิทยาคม (หลวงพ่อนอ) วัดกลางท่าเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา
    ๕.) พระอาจารย์บุญเพ็ง วัดอโศการาม จ.สมุทรปราการ
    ๖.) พระอาจารย์สุวัจน์ วัดป่าภูธรพิทักษ์ จ.สกลนคร
    ๗.) พระอาจารย์วัน วัดป่าอภัยวัน (ภูเหล็ก) จ.สกลนคร
    ๘.) พระอาจารย์สุพัฒน์ วัดบ้านใต้ จ.สกลนคร
    ๙.) พระอาจารย์ทองสุข วัดถ้ำเจ้าภูเขา จ.สกลนคร
    ๑๐.) พระอาจารย์ฟัก สันติธัมโม วัดเขาน้อยสามผา จ.จันทบุรี
    ๑๑.) พระอาจารย์ดวน วัดมเหยงค์ จ.นครศรีธรรมราช
    ๑๒.) พระอาจารย์สอาด วัดสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ
    เวลา ๒๒.๐๐-๒๔.๐๐ น.
    ๑.)พระเทพเมธากร วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพฯ
    ๒.) พระราชวรญาณมุนี นุภพศิริมาตราม กรุงเทพฯ
    ๓.) พระปัญญาพิศาลเถระ วัดราชประดิษฐ์ กรุงเทพฯ
    ๔.) พระครูโสภณสมาธิวัตร วัดเจ้ามูล ธนบุรี กรุงเทพฯ
    ๕.) พระครูวิริยะกิตติ (หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี) ธนบุรี กรุงเทพฯ
    ๖.) พระครูพิชัย ณรงค์ฤทธิ์ วัดสิตาราม กรุงเทพฯ
    ๗.) พระครูปลัดถวิล วัดยางระหงษ์ จ.จันทบุรี
    ๘.) พระอธิการพัตน์ วัดเเสนเกษม กรุงเทพฯ
    ๙.) พระอาจารย์เชื้อ หนูเพชร วัดสะพานสูง กรุงเทพฯ
    ๑๐.) พระอาจารย์รัตน์ วัดปทุมคงคา กรุเทพฯ
    ๑๑.) พระครูสังฆรักษ์ (กาวงค์) วัดป่าดาราภิรมย์ จ.เชียงใหม่
    ๑๒.) พระอาจารย์นำ วัดดอนศาลา จ.พัทลุง (พระอาจารย์ในหลวง)
    โดยมีพระสวดพุทธาภิเษก
    เวลา ๑๘.๐๐-๒๑.๐๐ น. พระภิกษุ ๔ รูป จากวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
    เวลา ๒๑.๐๐-๒๔.๐๐น. จากวัดราชประดิษฐ์
    ๓.ส่วนวันอาทิตย์ที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๔
    ก็ล้วนเเต่เป็น “พระคณาจารย์” ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิทยาคมแห่งยุคซึ่งส่วนใหญ่ได้ “มรณภาพ” แล้วรวม ๓ วัน “ครบถ้วน ๑๐๘ รูป”
    <hr> วัตถุมงคล ‘ฉลอง ๑๐๐ ปีวัดราชบพิธฯ’ ปี 2513
    ในหลวงเสด็จฯ ทรงประกอบพิธีเททองเป็น “ปฐมฤกษ์” และเจือด้วย “โลหะวัตถุมงคลรุ่นเก่าของวัดราชบพิธฯ” และ “แผ่นโลหะลงอักขระ” ของพระคณาจารย์ผู้ทรงวิทยาคุณทั่วพระราชอาณาจักร “๑๐๘ รูป”
    ดังนั้นในศุภวาระมหามงคลดิถีพิเศษนี้ “ท่าน เจ้าประคุณสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสนมหาเถระ)” สมเด็จพระสังฆราชลำดับที่ ๑๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. ๒๕๑๗-๒๕๓๑) ครั้งยังทรงดำรงพระ สมณศักดิ์ที่ “สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์” และทรงเป็น “เจ้าอาวาสวัดราชบพิธฯ” ได้ร่วมกับ “กระทรวงมหาดไทย” ซึ่งขณะนั้น “จอมพลประภาส จารุเสถียร” (ครั้งครองยศพลเอก) รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้นเป็นประธานกรรมการ อำนวยการจัดงานสมโภช จึงได้ตั้งคณะกรรมการจัดหาทุนสำหรับบูรณปฏิสังขรณ์วัดราชบพิธฯ โดยจัดสร้าง “ปูชนียวัตถุ” หลายชนิดเพื่อสมนาคุณแก่ผู้บริจาคทรัพย์ในการปฏิสังขรณ์และ โดยที่ “วัดราชบพิธฯ” เป็นพระอารามที่ “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕” ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สถาปนาเป็น “วัดประจำรัชกาล” จึงได้กราบบังคมทูลขอพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตอัญเชิญ “ตราสัญลักษณ์” พระปรมาภิไธยย่อ “จ.ป.ร.” ประดิษฐานไว้ที่ปูชนียวัตถุที่สร้างขึ้นเป็นพิเศษในครั้งนี้ วัตถุมงคล ‘ฉลอง 100 ปีวัดราชบพิธฯ’ อีกหนึ่ง ‘ของดี’ ที่ถูกซ่อนเร้น ซึ่งท่าน เจ้าประคุณ “สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์” (วาสนมหาเถระ) ทรงเป็นประธานกรรมการดำเนินงานจัดทำของที่ระลึก โดยได้ปรึกษาหารือกับกรรมการท่านอื่น ๆ หลายครั้งเพื่อให้ปูชนียวัตถุที่สร้างในวาระอัน เป็นพิเศษครั้งนี้ “อุดมไปด้วย สิริมงคล” จึงได้จัดหาแผ่นทองถวาย “พระอาจารย์ผู้ทรงวิทยาคุณ” ทั่วพระราชอาณาจักรลง “อักขระเลขยันต์” พร้อมปลุกเสกตามถนัดของแต่ละท่าน เพื่อนำมาหลอมหล่อเจือปนในปูชนียวัตถุที่จะสร้างขึ้นโดยมีรายนาม “พระอาจารย์” รูปสำคัญ ๆ ดังนี้
    หลวงปู่ โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี, หลวงปู่เทียม วัดกษัตรา, หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม, หลวงพ่อนอ วัดกลางท่าเรือ, หลวงพ่อพรหม วัดขนอนเหนือ, หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา, หลวงพ่อเกษมเขมโก สำนักสุสานไตรลักษณ์, หลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ, พระอาจารย์นำแก้วจันทร์ วัดดอนศาลา, หลวงพ่อมุม วัดปราสาทเยอร์เหนือ, หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่, หลวงพ่อขอม วัดไผ่โรงวัว, หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี, พระอาจารย์ทิม วัดช้างให้, หลวงพ่อนอง วัดทรายขาว, หลวงพ่อคร่ำ วัดวังหว้า, หลวงพ่อทองอยู่ วัดใหม่หนองพะอง, หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลยก์, หลวงพ่อเต๋คงทอง วัดสามง่าม, หลวงพ่อนารถ วัดศรีโลหะ บำรุง ฯลฯ” และคณาจารย์รูปอื่น ๆ จำนวน 108 รูป
    ซึ่งพระคณาจารย์ผู้ทรงวิทยาคุณทั่วพระ ราชอาณาจักรตามรายนามข้างต้นก็ได้ “มรณภาพ” ไปแล้วได้ทำการลงอักขระในแผ่นยันต์ “108 แผ่น” เพื่อให้เป็นชนวนมวลสารอันศักดิ์สิทธิ์ผสมผสานในวัตถุมงคลชุดนี้โดยแต่ละ ท่านได้ “ตั้งใจ” ทำกันอย่างเต็มที่เพราะถือเป็น “งานใหญ่” ที่นาน ๆ จะมีขึ้นสักครั้งในยุคนั้นโดย
    “วัตถุมงคล” ทั้งหมด อันได้แก่
    1.พระพุทธอังดีรสจำลอง จำนวนสร้าง รมดำ,กะไหล่ทอง(ทำน้อยกว่า) 513 องค์
    2.พระพุทธ รูปบูชาศิลปะไทยประยุกต์แบบคุปตะ จำนวนสร้าง รมดำ,กะไหล่ทอง 5,526 องค์
    3.พระกริ่งจุฬาลงกรณ์ จำนวนสร้าง ทองคำ 1,000 องค์ , นวะโลหะ 5,000 องค์
    4.พระชัยวัฒน์จุฬาลงกรณ์ จำนวนสร้าง นวะโลหะ 5,000 องค์
    5.พระหูยานจุฬาลงกรณ์ (จ.ป.ร.) จำนวนสร้าง นวะโลหะ 5,000 องค์ , ทองแดง 200,000 องค์
    6.พระบรมรูปรัชกาลที่ 5 ครึ่งพระองค์ จำนวนสร้าง โลหะผสม 513 องค์
    7.เหรียญพระบรมรูปรัชกาลที่ 5 จำนวนสร้าง ทองคำ 209 เหรียญ , ทองแดง 100,000 เหรียญ
    8.แหวนมงคล 9 ที่สร้างขึ้นในวาระ “อันเป็นพิเศษ” เดียวกันนี้ จำนวนสร้าง ทองคำ 1,000 วง , เงิน 20,000 วง
    “พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช” ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเททองเป็น “ปฐมฤกษ์” ในวันที่ 9 มีนาคม พุทธศักราช 2513 โดยทรงประกอบพิธีเททองหล่อ “พระกริ่งจุฬาลงกรณ์เนื้อทองคำ” เป็นปฐมฤกษ์และ “ทองชนวน” ที่เหลือนั้นช่างได้นำไปผสมผสานกับเนื้อโลหะที่สร้าง “วัตถุมงคล” ทุกชนิดจนครบตามจำนวนที่กำหนดไว้แล้วตกแต่งให้สวยงาม โดยใช้ระยะเวลาในการดำเนินการประมาณ “9 เดือน” จึงแล้วเสร็จจากนั้นทางวัดจึงกำหนดประกอบพิธี “มหาพุทธาภิเษก” เป็นเวลา “3 วัน 3 คืน” คือระหว่างวันที่ 29-30-31 มกราคม พ.ศ. 2514 โดย พระ บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงมีพระมหากรุณา ธิคุณโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธี “จุดเทียนชัย” ในวันศุกร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2514 อันเป็นวันครบรอบวันสถาปนา “วัดราชบพิธฯ” ครบ “101 ปี” กับ 2 วัน อนึ่งนับเป็นวาระ “อันพิเศษยิ่ง” ที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มหาราช ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าฯ แก่ “วัดราชบพิธฯ” ยิ่งนักเพราะตามบันทึกของวัดนั้น
    พระ บาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มหาราช ได้เสด็จพระราชดำเนินมายัง “พิธีพุทธาภิเษก” วัตถุมงคลฉลอง “100 ปี” ที่วัดราชบพิธฯ ถึง “2 วัน” ด้วยกันคือ
    “วันที่ 29 มกราคม 2514” อันเป็นวันเริ่มพิธี “มหาพุทธาภิเษก” ได้เสด็จฯ ทรงจุด “เทียนชัยพุทธาภิเษก, เทียนมหามงคล” และ “เทียนนวหรคุณ” ในเวลา 16.05 น.
    และในวันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2514 เวลา 24.00 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จฯ ในพิธีมหาพุทธาภิเษกและทรง “พระสุหร่าย, ทรงเจิมปูชนียวัตถุ, ทรงโปรยข้าวตอกดอกไม้”
    จึงนับเป็น “กรณีพิเศษยิ่ง” ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จฯ ทรงประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษกเป็นเวลาถึง “2 วัน” นอกเหนือจากทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ในพิธี “เททอง” เป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2513 แล้วดังนั้น “วัตถุมงคล” ชุด “ฉลอง 100 ปี วัดราชบพิธฯ” นี้จึงเป็นวัตถุมงคลที่ถึงพร้อมด้วย “พระพุทธคุณ, พระธรรม คุณ, พระสังฆคุณ” และ “พระมหากษัตริยาธิคุณ” ของ “พระมหากษัตริย์” ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐแก่ประเทศไทยถึง “2 พระองค์” ด้วยกันคือ “รัชกาลที่ 5” และ“รัชกาลที่ 9” อย่างเปี่ยมล้นยิ่งนัก.
    <hr>
    [​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    <hr> ขอบขอบคุณท่านเจ้าของบทความข้อมูลที่มาอย่างสูง




    หลังพิธีพุทธาภิเษก ได้มีบรรดานายทหารจาก กรมรักษาดินแดน และ กระทรวงกลาโหม ซึ่งอยู่ใกล้กับ วัดราชบพิธฯ ได้ มาบูชาไปเป็นจำนวนมาก โดยนายทหารที่บูชาไปในสมัยนั้น ได้มีการนำพระรุ่นนี้ไป เลี่ยมพลาสติกแล้วไปแขวนกับ ธงชาติ จากนั้นจึงได้ชักธงชาติระดับเหนือศีรษะ แล้วทำการ “ทดลองยิง” ปรากฏว่า ปืนยิงไม่ออกในนัดแรก บรรดาผู้ทดลอง จึงทำการตรวจสอบปืนใหม่แล้วยิงอีกนัด คราวนี้ปรากฏว่าเกิดเสียงระเบิด ดังขึ้น และพอสิ้นเสียงระเบิด ปรากฏ ปากกระบอกปืนที่ใช้ทดลองยิงแตกเป็นรอยร้าว จึงเรียก พระรุ่นนี้ว่ารุ่น “ปืนแตก”
    นอกจากนี้ พระหูยานรุ่นปืนแตกนี้ ได้ปรากฏปาฏิหาริย์ ช่วยเหลือ บรรดาทหารที่อาสาสมัครไปร่วมรบ ในสมรภูมิเวียดนามรอดชีวิตกลับมาเป็นที่ร่ำลือว่า บรรดาเซียนพระหลายราย ก็มีการบอกเล่ากันต่อ ๆ มาว่า พระหูยาน จ.ป.ร. นี้ มีพุทธคุณเข้มขลัง มาก


    พระหูยานจปร(ปืนแตก) สภาพวยเดิมเก่าเก็บ พิธีใหญ่ทั้งสายกรรฐานหลวงปู่มั่นและสายพระบ้านมาครบทั่วภูมิภาคของประเทศไทย ..........



    ให้บูชา 600 บาทค่าจัดส่งEMS 50 บาทครับ


    [​IMG] [​IMG]
     
  17. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    พระพุทธปางลีลา วัดพลับพลา นนทบุรี

    คณาจารย์ที่เมตตาเข้าร่วมพิธีปลุกเสกพระรุ่นนี้มีดังนี้

    วันที่ 29 ตุลาคม 2516

    ชุดแรก เวลา 17.50-19.00 น.
    1. หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง 2. หลวงพ่อคำมี วัดถ้ำคูหาสวรรค์ ลพบุรี 3. หลวงพ่อพริ้ง วัดโบสถ์ ลพบุรี 4. หลวงพ่อคล้าม วัดกุ่มหัก สระบุรี 5. หลวงพ่อเทียม วัดกษัตราธิราช อยุธยา

    ชุดที่สอง เวลา 19.00-20.00 น.
    1. หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลย์ 2. หลวงพ่อชื่น วัดตำหนักเหนือ นนทบุรี 3. หลวงพ่อแก้ว วัดปทุมวนาราม อยุธยา 4. หลวงพ่อสนิท วัดศีลขันธาราม อ่างทอง 5. หลวงพ่อเส็ง วัดบางนา ปทุมธานี

    ชุดที่สาม เวลา 20.00-21.00 น.
    1. หลวงพ่อหอม วัดซากหมาก ระยอง 2. หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม 3. หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาณ์ กทม. 4. หลวงพ่อกี๋ วัดหูช้าง นนทบุรี 5. หลวงพ่อโต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี กทม.

    ชุดที่สี่ เวลา 21.00-22.00 น.
    1. หลวงพ่อพระโพธิวรคุณ วัดโพธินิมิต กทม. 2. หลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม นครปฐม 3. หลวงพ่อเจริญ วัดทองนพคุณ เพชรบุรี 4. หลวงพ่อจ้วน วัดเขาลูกช้าง เพชรบุรี 5. หลวงพ่อพยนต์ วัดเกตุมวดีย์ สมุทรสาคร
    ชุดที่ห้า เวลา 22.00-23.00 น.
    1. หลวงพ่อพระพุทธมนต์วราจารย์ วัดสุทัศน์ฯ กทม. 2. หลวงพ่อสนิท วัดศีลขันธาราม อ่างทอง 3. หลวงพ่อกาหลง (ไม่ทราบวัด) จังหวัดจันทบุรี 4. หลวงพ่อเก๋ วัดปากน้ำ นนทบุรี 5. หลวงพ่อสะอาด วัดฝาง นนทุบุรี

    ให้บูชา 300 บาทค่าจัดส่งEMS50 บาทครับ

    [​IMG] [​IMG]
     
  18. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    วันนี้จัดส่ง

    EL 3103 4955 3 TH โพธิ์ชัย

    EL 3103 4956 7 TH สามเสนใน

    ขอบคุณครับ
     
  19. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    เหรียญหล่อหลวงปู่เครื่อง วัดสระกำแพงใหญ่ ศรีสะเกษ


    ให้บูชา 200 บาทค่าจัดส่งEMS50 บาทครับ

    [​IMG]

    [​IMG]
     
  20. Jumbo A

    Jumbo A เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    12,703
    ค่าพลัง:
    +21,337
    เหรียญหล่อฉีดใบโพธิ์หลวงปู่ปรง วัดธรรมเจดีย์ สิงห์บุรี

    ให้บูชา 150 บาทค่าจัดส่งEMS50 บาทครับ

    [​IMG] [​IMG]
     

แชร์หน้านี้

Loading...