เหตุการณ์ใน-นอกโลก VS ภัยธรรมชาติ และupdate พายุสุริยะ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 10 มกราคม 2011.

  1. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 21 สิงหาคม เวลาประมาณ 13 UTเกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์มากกว่าปกติ โดยมีทิศทางหลักทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ไม่ตรงกับโลก เหตุการณ์ครั้งนี้เกิดขึ้นร่วมกับการขยายตัวของปริมาณจุดดับอย่างฉับพลัน และรังสี X-ray ในระดับ M3

    ในวันเดียวกันนั้นยังเป็นวันสำคัญทางดาราศาสตร์ โดยมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวพุธ และ ดาวยูเรนัส เป็นเส้นตรง

    ท่านทีสนใจสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลก ที่จะสัมพันธ์กับเหตุการณ์ดังกล่าวได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 24 สิงหาคมครับ

    สำหรับการเปลี่ยนแปลงบนโลกที่มากกว่าปกติในช่วงนี้ ได้แก่การก่อตัวของพายุบริเวณทะเลแปซิฟิกฝั่งตะวันออกในวันที่ 22 สิงหาคม RSOE EDIS - Tropical Storm Information
    และปฏิกริยาภูเขาไฟที่มากกว่าปกติที่ประเทศไอซ์แลนด์ Iceland Volcano Bardarbunga: 1,000 Earthquakes Detected Near Volcano, Adding To Fears Of A Potential Explosion

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
    - ภาพถ่ายที่ผิวดวงอาทิตย์ช่วงที่มีรังสี X-ray มากกว่าปกติ http://www.solarham.net/pictures/archive/aug21_2014_m3.4.jpg
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านขวามือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/08/21/behind_20140821_cor2_512.mpg
    - ปริมาณรังสี X-ray ที่วัดได้จากนอกโลก 3-day GOES X-ray Flux Monitor
     
  2. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 24 สิงหาคม เวลา 12:17 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์ขนาดใหญ่กว่าปกติ โดยส่งรังสี X-ray ระดับ M5 ซึ่งเป็นระดับที่สูงสุดในรอบหลายสัปดาห์ เกิดบริเวณหลักทางทิศตะวันออก ด้านเดียวกับโลก โดยผลกระทบจะเกิดขึ้นบนโลกจะมีภายใน 24 ชั่วโมง และประมาณ 3-4 วันหลังจากเหตุการณ์นี้ จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานบางส่วนจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 27 สิงหาคม เวลา 18 UT +/- 7 ชั่วโมง

    ในขณะที่บนโลกในช่วงนี้ มีภัยธรรมชาติเกิดขึ้นมากกว่าปกติ เช่นกรณีแผ่นดินไหวที่ประเทศเปรู และสหรัฐอเมริกา
    Earthquake - Magnitude 7.0 - CENTRAL PERU - 2014 August 24, 23:21:42 UTC
    Earthquake - Magnitude 6.1 - SAN FRANCISCO BAY AREA, CALIF. - 2014 August 24, 10:20:44 UTC
    และมีพายุลูกใหม่ก่อตัวขึ้นบริเวณมหาสมุทรแอตแลนติก RSOE EDIS - Tropical Storm Information

    ท่านที่สนใจสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลกที่จะสัมพันธ์กันได้อย่างต่อเนื่องตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 29 สิงหาคม ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับปฏิกริยาดวงอาทิตย์มีดังนี้
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=679606289
    - วิดิโอภาพถ่ายมุมกว้างดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/08/24/ahead_20140824_cor2_512.mpg
    - วิดิโอภาพถ่ายมุมกว้างดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านขวามือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/08/24/behind_20140824_cor2_512.mpg
    - ปริมาณ X-ray ที่วัดได้จากนอกโลก 3-day GOES X-ray Flux Monitor
    - ภาพถ่ายที่ผิวดวงอาทิตย์ บริเวณที่มีปฏิกริยาสูง http://www.solarham.net/data/events/aug24_2014_m5.9/m5.9b.jpg
     
  3. Spammer

    Spammer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    976
    ค่าพลัง:
    +3,498
    ภาคเหนือตอนบนช่วงนี้โปรดระวัง ฝนตกหนัก ดินอุ้มน้ำ น้ำป่าไหลหลาก กันด้วยนะครับ
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  4. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น·ครับ

    วันที่ 28 สิงหาคม เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์เป็นมุมกว้่างรอบด้าน โดยมีทิศทางหลักออกไปทางด้านตรงข้ามกับโลก และส่งพลังงาน X-ray ออกมาในระดับ C1 ในช่วงเดียวกันยังเป็นช่วงที่ปริมาณจุดดับลดลงต่ำสุดในรอบหนึ่งสัปดาห์

    จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงในแนววงโคจรของโลกในวันที่ 31 สิงหาคม เวลา 12 UT +/- 10 ชั่วโมง ผู้ที่สนทางสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลกที่จะสัมพันธ์กับเหตุการณ์นี้ได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 1 กันยายนครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - วิดิโอภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านขวามือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/08/28/behind_20140828_cor2_512.mpg
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=684439660
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
     
  5. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 2 กันยายน เวลาประมาณ 20 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์มากกว่าปกติต่อเนื่องจากวันที่ 1 โดยมีเปลวพลังงานออกมาในทิศทางที่ตรงกับโลก เหตุการณ์ในช่วงนั้นพบปริมาณ X-ray ในระดับ C2-M3 จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 6 กันยายน เวลา 8 UT +/- 7 ชั่วโมง ในช่วงวันนี้ยังพบการเปลี่ยนแปลงของปริมาณจุดดับอย่างฉับพลันในวันที่ 4-5 กันยายน ทุกท่านสามารถสังเกตุการณ์การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลกที่จะสัมพันธ์กันได้ถึงวันที่ 7 กันยายน ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - ภาพถ่ายที่ดวงอาทิตย์ช่วงที่มีเปลวพลังงานขนาดใหญ่ออกมาจากผิว http://spaceweather.com/images2014/...0304.mp4?PHPSESSID=0i52mousuoh4fmp0r55tc1mbo5
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ SOLARHAM.com - CME Tracker
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก http://spaceweather.com/images2014/03sep14/cme_anim.gif?PHPSESSID=86pso4o9lfdq1c2tp11s22lvf5
    - รังสี X-ray จากดวงอาทิตย์ที่ตรวจวัดจากนอกโลก 3-day GOES X-ray Flux Monitor
     
  6. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟส อ.ก้องภพ อยู่เย็นครับ

    วันที่ 9 กันยายน เวลา 0:16 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์เป็นมุมกว้างรอบด้าน โดยมีทิศทางหลักไปทางทิศตะวันออกด้านเดียวกับโลก เหตุการณ์ครั้งนี้เกิดขึ้นพร้อมกับปริมาณรังสี X-ray ระดับ M4 และปริมาณจุดดับอยู่ในระดับสูงสุดในรอบ 4 สัปดาห์ จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงในแนววงโคจรของโลกในวันที่ 11 กันยายน เวลา 18 UT +/- 7 ชั่วโมง ท่านที่สนใจสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลกที่จะสัมพันธ์กันได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 12 กันยายน ครับ

    ในวันที่ 9 กันยายนนั้น ยังเป็นวันสำคัญทางดาราศาสตร์ในระบบสุริยะ คือมีการเรียงตัวเป็นเส้นตรงโดยประมาณ ระหว่าง ดาวพฤหัส ศุกร์ พุธ อังคาร และ ดาวพูลโต

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - วิดิโอปฏิกริยาที่ผิวดวงอาทิตย์ในครั้งนี้
    https://www.youtube.com/watch?v=tfznCvwZ4OY
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ในครั้งนี้ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=691114934
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
    - ข้อมูลในรายละเอียดของเหตุการณ์ครั้งนี้ EVENT LOG
     
  7. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    [​IMG]

    Kp7 G3
    วันนี้จะมีอะไรหรือเปล่า

    http://www.spaceweatherlive.com/en/help/the-kp-index

    แต่คงไม่มีอะไรร้ายแรงถึงชีวิตร่างกายของใครมั้ง
    เมื่อครั้งกระโน้น kp9
    October 2003 with 3 days of intense geomagnetic storming.
    ไม่มีข่าวว่ามนุษย์ได้รับผลโดยตรงจากเหตุการณ์พายุแม่เหล็ก
    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 กันยายน 2014
  8. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟส อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 24 กันยายน เวลาระหว่าง 12-23 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์ ส่งพลังงานออกมาเป็นมุมกว้างรอบทิศทาง โดยมีทิศทางหลักทั้งด้านตรงข้ามโลกและด้านเดียวกับโลก เหตุการณ์ครั้งนี้เกิดขึ้นโดยส่งรังสี X-ray สูงสุดในระดับ C8 และมีการขยายตัวของจุดดับอย่างฉับพลัน ในช่วงที่ปริมาณจุดดับอยู่ในช่วงต่ำสุดในรอบสัปดาห์ จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจากดวงอาทิตย์จากเหตุการณ์ครั้งนี้จะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 28 กันยายน เวลา 12 UT+/- 7 ชั่วโมง ทุกท่านที่สนใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ครั้งนี้กับโลก โปรดติดตามดูสถานการณ์ทางธรรมชา่ติรอบๆตัวท่านอย่างใกล้ชิดได้ ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 29 กันยายนครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์มุมมองจากโลก http://spaceweather.com/images2014/25sep14/farsidecme_anim.gif?PHPSESSID=rf694q9qk48ut10v2utgk7n4i5
    - วิดิโอจุดดับขยายตัวอย่างฉับพลันที่ผิวดวงอาทิตย์
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ในครั้งนี้ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=709976667
    - วิดิโอของปฏิกริยาขนาดใหญ่ที่ผิวดวงอาทิตย์ในครั้งนี้ Large Solar Eruption (9/26/2014) - YouTube
     
  9. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟส อ.ก้องภพ อยู่เย็นครับ

    ระหว่างวันที่ 7-8 ตุลาคม นี้จะเป็นวันสำคัญทางดาราศาสตร์อีกวันหนึ่ง เกี่ยวกับโลก โดยมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ โลกและดวงจันทร์ และ ระหว่าง โลก ดวงจันทร์ และ ดาวศุุกร์ ในแนวเส้นครงและ ในเวลาที่ไล่เลี่ยกัน เราสามารถใช้วันสำคัญเหล่านี้สังเกตดูธรรมชาติรอบๆตัว ที่จะเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์กันครับ

    สำหรับปรากฏการณ์จันทรเต็มดวงในวันที่ 8 ตุลาคม นั้น จะเห็นชัดเจนที่สุดบริเวณกลางมหาสมุทรแปซิฟิก สำหรับช่วงเวลาในการสังเกตดวงจันทร์ ในพื้นที่ๆท่านอาศัยอยู่ในแต่ละพื้นที่สามารถดูได้จากที่นี่ครับ Interactive Visualization of Lunar Eclipse
    และจาก Total Lunar Eclipse of Oct. 8, 2014: Sky Maps and Guides
     
  10. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟส อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    ระหว่างวันที่ 7-8 ตุลาคม นี้จะเป็นวันสำคัญทางดาราศาสตร์อีกวันหนึ่ง เกี่ยวกับโลก โดยมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ โลกและดวงจันทร์ และ ระหว่าง โลก ดวงจันทร์ และ ดาวศุุกร์ ในแนวเส้นครงและ ในเวลาที่ไล่เลี่ยกัน เราสามารถใช้วันสำคัญเหล่านี้สังเกตดูธรรมชาติรอบๆตัว ที่จะเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์กันครับ

    สำหรับปรากฏการณ์จันทรเต็มดวงในวันที่ 8 ตุลาคม นั้น จะเห็นชัดเจนที่สุดบริเวณกลางมหาสมุทรแปซิฟิก สำหรับช่วงเวลาในการสังเกตดวงจันทร์ ในพื้นที่ๆท่านอาศัยอยู่ในแต่ละพื้นที่สามารถดูได้จากที่นี่ครับ Interactive Visualization of Lunar Eclipse
    และจาก Total Lunar Eclipse of Oct. 8, 2014: Sky Maps and Guides
     
  11. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 9 ตุลาคม เวลา 1:58 UT เกิดปฏิกริยา X-ray ในระดับ M1 ที่ดวงอาทิตย์ และ พายุสนามแม่เหล็กในระดับ 3 ที่โลก โดยพายุสนามแม่เหล็กนั้นคาดว่ามีเหตุหลักมาจากปฏิกริยาดวงอาทิตย์ในวันที่ 7 ตุลาคม ที่ผ่านมาที่มีทิศทางในแนวเดียวกับโลก ในช่วงเดียวกันนี้ยังพบว่าเป็นช่วงที่ปริมาณจุดดับลดลงต่ำสุดในรอบ 8 สัปดาห์

    ส่วนเหตุการณ์บนโลกนั้นพบแผ่นดินไหวขนาด 7.1 ริตเตอร์ บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก ( Earthquake - Magnitude 7.1 - SOUTHERN EAST PACIFIC RISE - 2014 October 09, 02:14:32 UTC ) ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากโลกมีแผ่นดินไหวมากกว่าปกติเริ่มตั้งแต่ปลายของวันที่ 7 ตุลาคม และเป็นวันที่เป็นช่วงที่มีปรากฏการณ์ดาวเรียงตัวดังที่รายงานให้ทุกท่านทราบก่อนหน้านี้

    สำหรับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงมากกว่าปกติในช่วงนี้ ได้แก่พายุก่อตัวบริเวณมหาสมุทรอินเดีย และ ทอร์นาโดก่อตัวในรัฐ Indiana สหรัฐอเมริกา RSOE EDIS - Tornado in USA on Thursday, 09 October, 2014 at 03:27 (03:27 AM) UTC. EDIS CODE: TO-20141009-45570-USA
    และยังมีรายงานพายุใต้ฝุ่นขนาดใหญกำลังเคลื่อนตัวเข้าใกล้ประเทศญี่ปุ่น
    Super Typhoon Vongfong Takes Aim at U.S. Pacific Bases - NBC News

    ทุกท่านที่สนใจความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์นอกโลก กับเหตุการณ์บนโลกในช่วงนี้ สามารถติดตามสถานการณ์ได้ถึงวันที่ 12 ตุลาคมครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมของปฏิกริยาดวงอาทิตย์ในช่วงนี้มีดังนี้
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ Super Typhoon Vongfong Takes Aim at U.S. Pacific Bases - NBC News
    - ปริมาณ X-ray ที่ดวงอาทิตย์ที่ตรวจจับได้จากนอกโลก 3-day Estimated Planetary Kp-index Monitor
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ในวันที่ 7 ตุลาคม http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=721080769
    - ภาพถ่ายที่ผิวดวงอาทิตย์วันที่ 9 ตุลาคม http://www.solarham.net/pictures/update/oct9_2014.jpg
     
  12. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟส อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 10 ตุลาคม เวลา 20:58 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์เป็นมุมกว่างทางทิศตะวันตก โดยมีเปลวพลังงานขนาดใหญ่ออกมา โดยมีพลังงานบางส่วนมาที่โลก และ ส่งรังสี X-ray ออกมาในระดับ C3 จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางเข้ามาในแนววงโคจรของโลกในวันที่ 13 ตุลาคม เวลา 18 UT +/- 7 ชั่วโมง ทุกท่านที่สนใจการเปลี่ยนแปลงบนโลกที่จะสัมพันธ์กับเหตุการณ์ครั้งนี้ โปรดติดตามได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 14 ตุลาคม ครับ

    สำหรับบนโลกภายในช่วง 24 ชั่วโมงหลังจากเกิดเหตุการณ์นี้ เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 ริตเตอร์ เวลา 2:35 UT ที่ประเทศญี่ป่น Earthquake - Magnitude 6.3 - HOKKAIDO, JAPAN REGION - 2014 October 11, 02:35:45 UTC

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details
    - ปฏิกริยาที่ผิวดวงอาทิตย์ที่สังเกตเห็น รัง X-ray ที่มากกว่าปกติ http://sdowww.lmsal.com/sdomedia/h2...1540-20141010T1855_AIA_131-193-171_S20W51.mov
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=700507926
    - วิดิโอภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/10/10/ahead_20141010_cor2_512.mpg
     
  13. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟส อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 16-18 ตุลาคม จะเป็นวันสำคัญทางดาราศาสตร์อีกวันหนึ่ง คือมีการเรียงตัวระหว่าง ดาว ศุกร์ พุธ และ โลก เป็นเส้นตรง นอกจากนั้นยังเป็นช่วงแรม 8 ค่ำ โดย ที่ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ จะเรียงตัวในแนวตั้งฉาก จึงเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมต่อการสังเกตการณ์ถึงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุภายนอกโลก กับความเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลกมากเป็นพิเศษ โดยทุกท่านที่สนใจสามารถ สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นที่ดวงอาทิตย์และโลกเป็นพิเศษ สำหรับบนโลกนั้น ให้สังเกตปฏิกริยาใต้ผิวดินหรือสภาพอากาศ โดยติดตามข่าวสารจากสื่อมวลชนต่างๆจากทั่วโลก หรือสังเกตสิ่งต่างที่อยู่รอบๆตัว รวมถึงสภาพจิตใจด้วยตัวท่านเอง ซึ่งผมจะรายงานข่าวสารบางส่วนให้ทุกท่านทราบในช่วงวันดังกล่าวอีกทีหนึ่งครับ
    วันที่ 16-18 ตุลาคม จะเป็นวันสำคัญทางดาราศาสตร์อีกวันหนึ่ง คือมีการเรียงตัวระหว่าง ดาว ศุกร์ พุธ และ โลก เป็นเส้นตรง นอกจากนั้นยังเป็นช่วงแรม 8 ค่ำ โดย ที่ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ จะเรียงตัวในแนวตั้งฉาก จึงเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมต่อการสังเกตการณ์ถึงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุภายนอกโลก กับความเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลกมากเป็นพิเศษ โดยทุกท่านที่สนใจสามารถ สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นที่ดวงอาทิตย์และโลกเป็นพิเศษ สำหรับบนโลกนั้น ให้สังเกตปฏิกริยาใต้ผิวดินหรือสภาพอากาศ โดยติดตามข่าวสารจากสื่อมวลชนต่างๆจากทั่วโลก หรือสังเกตสิ่งต่างที่อยู่รอบๆตัว รวมถึงสภาพจิตใจด้วยตัวท่านเอง ซึ่งผมจะรายงานข่าวสารบางส่วนให้ทุกท่านทราบในช่วงวันดังกล่าวอีกทีหนึ่งครับ
     
  14. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟส อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    ในกรณีศึกษาแผ่นดินไหวขนาด 7.3 ที่เกิดขึ้นในวันที่ 14 ตุลาคม เวลา 3:51 UTC นั้น (Earthquake - Magnitude 7.3 - NEAR COAST OF NICARAGUA - 2014 October 14, 03:51:36 UTC) เราสามารถพบความเชื่อมโยงกับเหตุการณ์นอกโลกได้ไม่ยากนัก ซึ่งอยู่ในเชิงของตำแหน่งดาว และปฏิกริยาดวงอาทิตย์ที่ลดลงอยู่ในช่วงต่ำสุด โดยในวันที่ 12-13 ตุลาคม นั้น เป็นช่วงที่ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ลดลงต่ำสุดในรอบ 13 สัปดาห์ และเกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันตกในทิศทางไม่ตรงกับโลก และส่งรังสี X-ray ออกมาในระดับ C1 เป็นสิ่งบอกเหตุ ( CACTUS CME Details )

    นอกจากนั้นแล้ว ในวันที่ 13-14 ตุลาคม ยังนั้นเป็นช่วงที่มีการเรียงตัวของดาวเคราะห์จำนวนมากที่สุดในช่วงนี้ ได้แก่ระหว่าง ดวงอาทิตย์ พุธ ศุกร์ โลก และ ดาวยูเรนัส (ตามรูปที่แนบมา) โดยการเรียงตัวที่เป็นเส้นตรงที่สุดในแนวดาวเคราะห์วงในจะเกิดขึ้นอีกครั้งในระหว่างวันที่ 16-17 ตุลาคมที่จะถึงนี้

    สำหรับผู้ที่สนใจคาดการณ์แผ่นดินไหวนั้นโดยใช้ปฏิกริยาดวงอาทิตย์นั้น เราไม่สามารถใช้ระดับความเข้มของรังสี X-ray ที่เกิดจากปฏิกริยาดวงอาทิตย์ เป็นตัววัดขนาดความรุนแรงของแผ่นดินไหวเพียงอย่างเดียวได้ เนื่องจากแผ่นดินไหวจะเกิดมากเป็นพิเศษในช่วงที่ดวงอาทิตย์มีปริมาณจุดดับเปลี่ยนแปลงทั้ง ลดลงต่ำสุด และขึ้นสูงสุด

    โดยในช่วงที่ปริมาณจุดดับลดลงต่ำสุดนั้น ปริมาณรังสี X-ray จะอยู่ในระดับต่ำเช่นกัน ดังนั้นบรรทัดฐานของการใช้ความเข้ม X-ray ที่ดวงอาทิตย์ในการแจ้งเตือนของภัยธรรมชาติบนโลกที่มีประสิทธิภาพ - โดยเฉพาะในช่วงที่ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์อยู่ในระดับต่ำนั้น ควรปรับให้อยู่ในระดับ > C1 (Spaceweather Glossary: The Classification of X-ray Solar Flares) ครับ
     
  15. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟส อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 14 ตุลาคม เวลาประมาณ 19 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์เป็นมุมกว้างรอบทิศทาง โดยมีทิศหลักออกไปทางทิศตะวันออก และมีพลังงานบางส่วนมาทางโลก ซึ่งในช่วงนี้เองเป็นช่วงที่ปริมาณจุดดับได้เพิ่มขึ้นอย่างฉับพลัน และส่งรังสี X-ray ออกมาในระดับ M1 จากที่ปริมาณจุดดับได้ลดลงต่ำที่สุดในรอบ 13 สัปดาห์ ในขณะเดี่ยวกันที่โลกได้เกิดพายุสนามแม่เหล็กระดับ 5 อย่างฉับพลัน จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานบางส่วนจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 17 ตุลาคม เวลา 0 UT +/- 7 ชั่วโมง สำหรับทุกท่านที่สนใจในความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ครั้งนี้กับการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลก โปรดติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดได้ ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 18 ตุลาคม ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - วิดิโอภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details
    - ข้อมูลความแปรปรวนของสนามแม่เหล็กโลก 3-day Estimated Planetary Kp-index Monitor
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=701797000
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
    - วิดิโอภายถ่ายที่ผิวดวงอาทิตย์ ในระยะใกล้ http://sdowww.lmsal.com/sdomedia/h2...1816-20141014T2000_AIA_131-193-171_S12E88.mov
     
  16. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟส อ.ก้องภพ อยู่เย็นครับ

    วันที่ 19-20 ตุลาคม เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์มากกว่าปกติ โดยส่งรังสี X-ray ออกมาสูงสุดในระดับ X1 และพบจุดดับบนดวงอาทิตย์ขยายตัวอย่างฉับพลัน นอกจากนั้นในช่วงระหว่างวันที่ 23-24 ตุลาคม นี้ ยังเป็นช่วงที่มีความสำคัญทางดาราศาสตร์อีกครั้ง นั่นคือมีการเรียงตัวของดาวเคราะห์ ได้แต่ ดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์ และ ดาวศุกร์ เป็นเส้นตรง

    ส่วนในวันที่ 23 ตุลาคม ตอนกลางคืนยังเป็นวันจันทรุปราคา ซึ่งจะสามารถสังเกตได้ชัดเจนที่สุดสำหรับผู้ที่อาศัยทางทวีปอเมริกาเหนือ ทุกท่านที่สนใจโปรดติดตามการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลกที่จะสัมพันธ์กับเหตุการณ์ดังกล่าวได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 25 ตุลาคมครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - วิดิโอที่ผิวดวงอาทิตย์ เห็นการขยายตัวของจุดดับในวันที่ 19-20 ตุลาคม http://spaceweather.com/images2014/20oct14/sunspot_anim.gif?PHPSESSID=jvcgc9dpafkm604nd0bn4se1d6
    - ปริมาณจุดดับที่ผิวดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
    - ภาพถ่าย X-ray ที่ผิวดวงอาทิตย์ในวันที่ 20 ตุลาคม http://www.solarham.net/pictures/archive/oct20_2014_m4.5.jpg
    - วิดิโอจำลองปรากฏการ์จันทรุปราคา และข้อมูลเวลาที่จะเกิดปรากฏการณ์นี้ตามตำแหน่งที่ท่านอาศัยอยู่ 23 ตุลาคม 2014 Partial Solar Eclipse
     
  17. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟส อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 24 ตุลาคม เวลา 21:40 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์ในรูปแบบของรังสี X-ray ระดับ X3 ซึ่งเป็นระดับที่สูงสุดในรอบปี และยังคงเกิดขึ้นในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้นยังพบปริมาณจุดดับเพิ่มขึ้นสูงสุดในรอบ 3 สัปดาห์ ในขณะที่กล้องถ่ายภาพมุมกว้างนอกโลกไม่สามารถตรวจพบเปลวพลาสม่าที่หลุดออกมาจากผิวดวงอาทิตย์ได้ชัดเจนนักในช่วงนี้ จากการคำนวณโดยประมาณพบว่าคลืนพลังงานบางส่วนจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 27 ตุลาคม เวลา 0 UT +/- 7 ชั่วโมง ทุกท่านที่สนใจสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลกที่จะสัมพันธ์กับเหตุการณ์นี้ได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 28 ตุลาคม ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - วิดิโอภาพถ่ายดวงอาทิตย์บักทึกเหตุการณ์ในครั้งนี้ https://www.youtube.com/watch?v=VP2sqs71pxk
    - ปริมาณจุดดับที่ผิวดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
    - ปริมาณ X-ray ที่ดวงอาทิตย์ในช่วงเวลาสามวัน 3-day GOES X-ray Flux Monitor
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ http://iswa.gsfc.nasa.gov/IswaSyste...mp=2038-01-23+00:44:00&window=-1&cygnetId=261
     
  18. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟส อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 29 ตุลาคม เวลา 23:58 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์มากกว่าปกติ โดยส่งพลังงานออกมาด้านเดียวกับโลกทางทิศตะวันออก เหตุการณ์ครั้งนี้มาพร้อมกับรังสี X-ray ในระดับ M3 ซึ่งน้อยกว่าช่วงวันที่ 24-25 พย ที่ผ่านมา จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 2 พฤศจิกายน เวลา 6 UT +/- 7 ชั่วโมง ท่านที่สนใจ สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติที่จะสัมพันธ์กันได้ตั้งแต่วันที่ 30 ถึงวันที่ 3 พฤศจิกายน ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details
    - ปริมาณรังสี X-ray ที่ตรวจวัดได้จากนอกโลก 3-day GOES X-ray Flux Monitor
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์จากเหตุการณ์ครั้งนี้ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=740263936
    - ปริมาณจุดดับที่ผิวดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
     
  19. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟส อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    ข่าวเกี่ยวกับความเข้าใจคุณสมบัติส่วนหนึ่งของจักรวาลโดยใช้ทฤษฏีทางไฟฟ้าครับ

    ทฤษฏีจักรวาลในปัจจุบันนั้น อ้างอิงแต่แรงโน้มถ่วงเป็นหลัก ซึ่งแรงโน้มถ่วงนั้นเป็นแรงเพียงด้านเดียวคือมีเพียงแรงดูดไม่มีแรงผลัก ขาดความสมดุลย์ในตัวมันเอง จึงเป็นเรื่องธรรมดาที่ทฤษฏีนี้จะไม่สามารถอธิบายสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นในจักรวาลได้ทั้งหมด ไม่ว่าจะพยายามด้วยวิธีใด เพราะทฤษฏีนี้ไม่ตรงต่อสัจธรรม จึงต้องการอาศัยการนิยามบางอย่างเพื่อมาเติมเต็มตัวมันเอง โดยการใช้สมมุติอย่างหนึ่งที่เรียกว่าวัตถุมืด ซึ่งมีความซับซ้อนและนักวิทยาศาสตร์ปัจจุบันไม่สามารถค้นพบมันได้

    การแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องนั้น ต้องแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ คือการนำเสนอทฤษฏีที่มีความสมดุลย์ทางธรรมชาติ และตรงต่อสัจธรรม

    ทฤษฏีทางไฟฟ้าจึงเป็นทฤษฏีทางเลือกหนึ่ง ที่เหมาะสมในการอธิบายปราฏการณ์ธรรมชาติ เพราะทฤษฏีไฟฟ้า ว่าด้วยความสมดุลย์ เป็นที่ตั้ง คือมีทั้งแรงดูดและแรงผลัก จึงเป็นเรื่องธรรมดาที่ ปริศนาต่างๆในจักรวาลจะถูกไขออกในรูปแบบที่คนส่วนใหญ่สามารถเข้าใจได้ และตรงต่อสัจธรรม
     
  20. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟส อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 1 พฤศจิกายน เวลา 5 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์ขนาดใหญ่ เป็นมุมกว้างมีทางทิศทางหลักทางทิศตะวันออก ด้านเดียวกับโลก และต่อเนื่องถึงเวลา 15:48 UT เหตุการณ์ครั้งนี้ เกิดขึ้นหลังจากมีการขยายตัวของจุดดับอย่างฉับพลันในวันที่ 30 พฤศจิกายน และส่งรังสี X-ray ออกมาสูงสุดในระดับ C2
    วันที่ 30 พฤศจิกายน นั้นยังเป็นวันสำคัญทางดาราศาสตร์เกี่ยวกับดวงอาทิตย์ คือมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวศุกร์ และดาวพฤหัส ในแนวตั้งฉาก และการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวอังคาร และ ดาวพฤหัส ในแนวเส้นตรง
    จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงในแนววงโคจรของโลกในวันที่ 3 พฤศจิกายน เวลา 0 UT +/- 7 ชั่วโมง

    ส่วนในช่วง 24 ชั่วโมงแรกที่มีปฏิกริยาดวงอาทิตย์นั้น บนโลกได้เกิดแผ่นดินไหวมากกว่าปกติ ขนาด 7.1 ในเวลา 18:57 UT Earthquake - Magnitude 7.1 - FIJI REGION - 2014 November 01, 18:57:22 UTC ท่านที่สนใจสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลกที่สัมพันธ์กันได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 4 พฤศจิายนครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - วิดิโอภาพถ่ายการระเบิดที่ผิวดวงอาทิตย์ http://spaceweather.com/images2014/...0304.mp4?PHPSESSID=ro5csva4ph2ckfec423a9alae4
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ในครั้งนี้ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=742220776
    - ปริมาณจุดดับที่ผิวดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
    - วิดิโอภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details
    CACTus Diagostics
    - วิดิโอภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/11/01/ahead_20141101_cor2_512.mpg
     

แชร์หน้านี้

Loading...