การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย HONGTAY, 10 เมษายน 2007.

  1. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • ผลอากาศหนาวเย็นระลอกใหม่-ทำชาวศรีสะเกษแห่เข้า รพ.อื้อ[​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย ผู้จัดการออนไลน์ [ 05-02-2551 | 13:46 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> ศูนย์ข่าวนครราชสีมา- ผลจากอากาศหนาวเย็นระลอกใหม่ทำให้ประชาชน ชาวศรีสะเกษ โดยเฉพาะที่อาศัย อยู่ตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ป่วยเป็นโรคไข้หวัดแห่เข้ารักษาที่ รพ.เป็นจำนวนมาก แพทย์เตือนดูแลรักษาสุขภาพ ทำร่างกายให้อบอุ่นอยู่เสมอ พร้อมหวั่นโรคไข้เลือดออกปะปนมากับโรคไข้หวัด
    วันนี้ (5 ก.พ.) ผู้สื่อข่าวรายงานจากจังหวัดศรีสะเกษ ว่า จากการที่ขณะนี้สภาพอากาศ ในเขตพื้นที่ จ.ศรีสะเกษ หนาวเย็นติดต่อกันมานานหลายวัน ได้ส่งกระทบทำให้ บรรดาประชาชนชาวศรีสะเกษ ที่อาศัยอยู่ตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา ทั้งเด็ก และผู้ใหญ่ ป่วยเป็นโรคทางเดินหายใจและไข้หวัด พากันเข้ามารักษาที่ โรงพยาบาลกันทรลักษ์ และตามโรงพยาบาลต่างๆ ในพื้นที่ จ.ศรีสะเกษ กันเป็นจำนวนมาก เฉลี่ยวันละประมาณ 700-800 ราย โดยส่วนมากแล้ว เด็ก และคนชรา ป่วยเป็นโรคไข้หวัด เนื่องจากสุขภาพร่างกายไม่แข็งแรง และอบอุ่นเพียงพอ
    นพ.ประวิ อ่ำพันธุ์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ เปิดเผยว่า ขอฝากเตือนไปยังประชาชน ในช่วงที่อากาศหนาวเย็นหวนกลับมาระลอกใหม่นี้ ขอให้ประชาชนดูแลรักษาสุขภาพให้ดี ทำร่างกายให้อบอุ่น และให้ผู้ปกครอง ดูแลบุตรหลานของตัวเองอย่างใกล้ชิด ควรให้บุตรหลานสวมใส่เสื้อผ้า ที่ทำให้ร่างกายอบอุ่นอยู่เสมอ เพราะขณะนี้มีผู้ป่วยเป็นโรคไข้หวัด เข้ามารักษาตามโรงพยาบาลต่างๆ เป็นจำนวนมาก
    “หากพบว่าบุตรหลาน หรือตัวเองป่วยควรไปพบแพทย์ เพื่อทำการตรวจรักษา และเจาะเลือดตรวจด้วย เนื่องจากเกรงว่าอาจจะติดเชื้อโรคไข้เลือดออกด้วยก็ได้ ทั้งนี้เพื่อเป็นการป้องกันไว้ก่อนและจะได้ทำการรักษาได้ทันท่วงที ที่สำคัญ อย่าหาซื้อยารับประทานเอง เพราะโรคอาจจะเกิดการดื้อยา และเป็นอันตราย ถึงขั้นเสียชีวิตได้” นพ.ประวิ กล่าว
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="1%"> </td> <td colspan="2">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td colspan="3">
    • อากาศวิปริตโรครุมชาวหนองคาย[​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย ผู้จัดการออนไลน์ [ 05-02-2551 | 13:41 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> หนองคาย- สภาพอากาศที่แปรปรวนเปลี่ยนแปลง ทำให้ชาวหนองคายป่วย ด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ และอุจจาระร่วงเพิ่มมากขึ้น
    นายแพทย์อิทธิพล สูงแข็ง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดหนองคาย กล่าวว่า จาก สภาพอากาศในขณะนี้ที่จังหวัดหนองคายนั้น มีการเปลี่ยนแปลงมีทั้งฝน หนาว และร้อน สลับกัน ทำให้ประชาชนชาวหนองคายปรับตัวไม่ทัน เจ็บป่วยด้วยโรค หลายชนิด ซึ่งข้อมูลจากสำนักงานสาธารณสุข จ.หนองคาย ช่วงเดือนมกราคม 2551 เป็นต้นมา พบว่า มีผู้ป่วยชาวหนองคาย เป็นอุจจาระร่วงมากถึง 458 ราย แต่ยังโชคดี ที่เป็นอุจจาระร่วงประเภทไม่รุนแรง สาเหตุสำคัญเกิดจากการรับประทานอาหาร
    โดยเฉพาะอาหารที่มีผลกระทบกับสภาพอากาศทำให้อาหารเสียเร็วขึ้น เมื่อประชาชน รับประทานเข้าไป จึงทำให้เกิดอุจจาระร่วงได้ง่าย นอกจากนี้ยังพบว่า มีผู้ป่วยด้วย โรคอีสุกอีใส 58 ราย ป่วยเป็นไข้ 56 ราย รองลงมาคือโรคตาแดง 19 ราย ปอดบวม 5 ราย โรคเลปโตสไปโรซีส หรือฉี่หนู จำนวน 4 ราย
    ดังนั้น ในช่วงนี้ประชาชนต้องระมัดระวัง ดูแลใส่ใจสุขภาพของตนเอง โดยเฉพาะ เรื่องการรับประทานอาหาร ให้สะอาด ถูกสุขอนามัย ล้างมือก่อนและหลัง รับประทานอาหารทุกครั้ง เพื่อป้องกันโรคอุจจาระร่วง และปรับตัวให้ทันกับ สภาพอากาศ หนาวห่มผ้า ร้อนก็หาวิธีคลายร้อน ส่วนเกษตรกรจะต้องระวัง เมื่อเสร็จ จากทำงานในทุ่งนา หรือที่ต้องลุยน้ำย่ำโคลนต้องอาบน้ำล้างตัวให้สะอาด เพื่อป้องกันโรคฉี่หนู
    อย่างไรก็ตาม ได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอาสาสมัครสาธารณสุข เฝ้าติดตาม และให้คำแนะนำการป้องกันตนเอง จากโรคต่างๆ ในช่วงที่อากาศเปลี่ยนแปลงนี้อย่างต่อเนื่อง
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td width="1%"> </td> <td colspan="2">
    </td></tr></tbody></table>
     
  2. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • รวมสภาพอากาศแปรปรวนทั่วโลก [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย ช่องเจ็ดสี [ 07-02-2551 | 08:15 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> สภาพอากาศแปรปรวนในหลายประเทศทั่วโลก เริ่มกันที่สหรัฐฯ ในขณะที่ ชาวอเมริกันส่วนใหญ่ กำลังรอลุ้นผลการเลือกตั้งเบื้องต้นครั้งใหญ่ หรือ ที่เรียกว่า ซูเปอร์ทิวสเดย์ นั้น พื้นที่ทางตอนใต้ของสหรัฐฯ เผชิญกับภัยธรรมชาติ อย่างไม่คาดฝัน เมื่อเกิดเหตุพายุทอร์นาโด กว่า 50 ลูก พัดเข้าถล่ม บ้านเรือน โรงเรียน สถานที่ราชการ และสิ่งปลูกสร้างต่างๆ พังราบเป็นหน้ากลอง เบื้องต้น มีรายงานผู้เสียชีวิตแล้ว อย่างน้อย 52 ราย และบาดเจ็บอีกนับร้อย ล่าสุด ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู บุช ได้สั่งการให้ผู้ว่าการรัฐต่างๆ ที่เผชิญกับภัยพิบัติ ครั้งนี้ เร่งส่งความช่วยเหลือ ให้แก่ประชาชนผู้ประสบภัยอย่างเร่งด่วนแล้ว
    ส่วนในเปรู ได้เกิดเหตุก้อนหินขนาดใหญ่หล่นจากเนินเขา ลงมาทับรถโดยสาร อันเนื่องมาจากเกิดฝนตกหนัก ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตทันที 7 ราย และบาดเจ็บอีก 26 ราย ส่วนพื้นที่อื่นยังคงมีน้ำท่วมขังและดินถล่ม สร้างความเสียหายเป็นบริเวณกว้าง ซึ่งจนถึงขณะนี้ ทางการต้องอพยพชาวบ้านนับพันออกจากพื้นที่เสี่ยงภัย
    ที่เอลกวาดอร์ ภูเขาไฟ"ตันกูราฮัว"ได้เกิดปะทุขึ้น พ่นควันไฟ เถ้าถ่าน ออกมาเป็นระยะทางไกลกว่า 10 กิโลเมตร ทางการเตรียมอพยพชาวบ้านกว่าพันคน ที่อยู่ตามแนวเชิงเขาออกจากพื้นที่เพื่อความปลอดภัยแล้ว
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  3. Digital

    Digital เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    306
    ค่าพลัง:
    +612
    สังเกตุจากเราอยู่ (อิลินอยส์) หมอกลงหนาแน่นมากๆ ติดต่อกันไม่มีความโปร่งเลยตั้งแต่อาฑิตย์ที่๓ จันทร์ อังคารเช้า ฟ้าเปิดเอาตอนสายๆ วันอังคาร

    หมอกลงหนาแน่น (ทึบ)อย่างที่ผ่านมาแบบติดต่อกันหลายวัน แทบจะมองไม่เห็นรถคันข้างหน้า อย่างนี้ไม่เคยประสบมาก่อนเลย

    พุธ พฤหัส ก็ยัง cloudy ค่ะ
     
  4. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • ภาวะโลกร้อนส่งผลกระทบต่อผลผลิตกาแฟในยูกันดา [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย สำนักข่าวไทย [ 09-02-2551 | 11:29:44 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> ซานจี 9 ก.พ.- ภาวะโลกร้อนสร้างความเสียหายให้กับผลผลิตกาแฟในยูกันดา ทั้งที่เป็นสินค้าส่งออกอันดับหนึ่ง สร้างรายได้เข้าประเทศมากกว่าครึ่งหนึ่งของทั้งหมด
    ภาวะโลกร้อนทำให้ยูกันดามีแดดแรงขึ้น ฝนตกน้อยลง ส่งผลให้เมล็ดกาแฟ ที่ได้มา ไม่มีคุณภาพ เหี่ยวแห้ง และไม่เหมาะกับการส่งออก กระทรวงอุตุนิยมวิทยา ของยูกันดา เตือนให้ระวังว่า ผลผลิตกาแฟอาจได้รับความเสียหายไปทั่วประเทศ หากอากาศยังคงร้อนขึ้นเรื่อยๆ ส่วนเคนยาและแทนซาเนีย ประเทศเพื่อนบ้าน ก็อาจได้รับผลกระทบในธุรกิจปลูกกาแฟเช่นกัน
    กาแฟอาราบิก้าที่เพาะปลูกในยูกันดา และประเทศอื่น ในแถบแอฟริกาตะวันออก กำลังเป็นที่นิยมมากขึ้นในตลาดโลก แม้กระทั่ง สตาร์บัคส์ ร้านกาแฟยี่ห้อดังในสหรัฐ ยังหันมาสั่งซื้อเมล็ดกาแฟจากไร่ที่ยูกันดา แต่ความเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศ ก็ทำให้ยูกันดาเก็บเกี่ยวผลผลิตกาแฟได้ไม่เต็มที่เหมือนแต่ก่อน.
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  5. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,696
    ค่าพลัง:
    +51,932
    *** น้ำ ****

    ปริมาณน้ำ ที่สิ่งศักดิ์สิทธิ์จัดสรร ให้กับโลก...ตามสัดส่วนที่ขาดหายไป<O:p</O:p
    เพื่อ...ปรับให้โลกมีความสมบูรณ์เหมือนครั้งโบราณกาล<O:p
    ในทุกอณูของทุกสรรพสิ่งบนโลก....จะมีน้ำเพิ่มมากขึ้น<O:p
    อณูของหิน...ก็มีน้ำเพิ่มขึ้น<O:p
    อณูของเหล็ก....ก็มีน้ำเพิ่มขึ้น<O:p
    อณูของทุกอย่าง...ก็มีน้ำเพิ่มขึ้น<O:p
    ต่อไปนี้....โลกกำลังปรับตัวมากขึ้น<O:p
    ฝน ลูกเห็บ หิมะ....จะตกมากขึ้น<O:p
    ระดับน้ำทะเล...จะสูงมากขึ้น<O:p
    สิ่งที่ไม่เคยเห็น....สิ่งแปลกๆ....เราก็จะได้เห็นกัน<O:p
    พายุใหญ่จะเพิ่มมากขึ้น....เกิดบ่อยขึ้น<O:p
    แผ่นดิน...จะเปลี่ยนแปลงมากขึ้น
    <O:p</O:p
    ต่อไป...ผู้ที่รอดพ้นภัย...จะสมบูรณ์ยิ่ง<O:p</O:p
    โลกจะสมบูรณ์ไปทุกอย่าง<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ภัยที่จะเกิดขึ้น...จึงมีสาเหตุมาจาก...น้ำ<O:p</O:p
    ที่มาจากแหล่งน้ำของจักรวาล...คือ ทางช้างเผือก<O:p</O:p
    ที่เป็นน้ำแข็ง ลอยมาตามลมจักรวาล...<O:p</O:p
    ที่จัดสรรโดยสิ่งศักดิ์สิทธิ์ คือ โลกุตตระธรรม
    <O:p</O:p

    สาเหตุต่างๆ ...ไม่ใช่ ...โลกร้อนขึ้น<O:p</O:p
    แต่...สาเหตุ คือ น้ำมากขึ้น โลกจะเย็นลง<O:p</O:p
    มนุษย์ ไม่สังเกตกันเอง...น้ำลงมาที่ไซบีเรีย !!!!!!!<O:p</O:p
    นี่คือ....การจัดสรรให้โลกสมบูรณ์ โดยสิ่งศักดิ์สิทธิ์<O:p</O:p
    ที่คอยดูแล จักรวาล<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    - " หนุมาน ผู้นำสาร "<O:p</O:p
     
  6. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    มลภาวะเป็นเหตุฝนตกหนัก "วันทำงาน" มากกว่า "วันหยุด" <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">8 กุมภาพันธ์ 2551 10:05 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">งานวิจัยสหรัฐฯ บ่งชี้
    มลภาวะทางอากาศเป็นสาเหตุ
    การก่อตัวของเมฆและกลายเป็นฝน</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">มลภาวะจากการเผาไหม้ของรถยนต
    ์เป็นปัจจัยหนึ่งที่นักวิจัยพบว่าเป็นสาเหตุ
    การก่อตัวของเมฆและฝนตกในวันทำงาน
    มากกว่าวันหยุด</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> หลายคนคงแอบบ่นในใจทุกครั้งที่ฝนตกในวันทำงาน โดยเฉพาะช่วงที่ต้องเดินทางไป-กลับ ต้องเผชิญอุปสรรคและปัญหารถติดจนน่าหงุดหงิดใจ ทั้งนี้ "ไลฟ์ไซน์" ได้นำเสนองานวิจัยที่ศึกษาในสหรัฐฯ พบว่าฝนตกในช่วงกลางสัปดาห์มากกว่าสุดสัปดาห์ ทั้งนี้เพราะมลภาวะอากาศที่เกิดจากการจราจรและกิจกรรมรายวัน

    การศึกษาดังกล่าวนำโดยธอมัส เบลล์ (Thomas Bell ) นักวิทยาศาสตร์ด้านบรรยากาศของศูนย์การบินอวกาศกอดดาร์ด (Goddard Space Flight Center) องค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) พร้อมคณะ ซึ่งพิจารณาข้อมูลที่ดาวเทียมปฏิบัติการคาดการณ์ฝนตกในเขตร้อน (Tropical Rainfall Measuring Mission ) ของนาซารวบรวมไว้ตั้งแต่ปี 2541-2548 ซึ่งจะได้เปรียบข้อมูลที่รวบรวมจากเกจวัดบนพื้นดินที่มีความแปรปรวนมากกว่า

    ทีมวิจัยพบว่าฝนตกเฉลี่ยระหว่างวันอังคารและพฤหัสบดีมากกว่าช่วงวันเสาร์ถึงวันจันทร์ โดยวันที่อากาศแจ่มใสที่สุดของสัปดาห์คือวันเสาร์ ส่วนวันที่ฝนตกมากที่สุดคือช่วงบ่ายวันอังคาร ซึ่งมีปริมาณฝนมากกว่าปริมาณเฉลี่ยเกือบ 2 เท่า
    อีกทั้งเมื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างแนวโน้มของฝนตกกับข้อมูลภาวะทางอากาศที่บันทึกโดยสำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐฯ (U.S. Environmental Protection Agency) ซึ่งทีมวิจัยได้ศึกษาเจาะจงเฉพาะอนุภาคเล็กๆ ที่ล่องลอยในอากาศและสัมพันธ์กับมลภาวะ แล้วพบว่าระหว่างปี 2541-2548 นั้นมลภาวะทางอากาศมีแนวโน้มสูงสุดในช่วงกลางสัปดาห์

    "หากทั้ง 2 ปัจจัยเกิดขึ้นในเวลาเดียวกันก็หมายความว่าจะเป็นด้วยสาเหตุอื่นไม่ได้ แต่ทราบกันดีว่าอนุภาคเล็กๆ มีผลกระทบต่อการกระทำของเมฆอย่างมาก และสิ่งที่ประจักษ์ชัดนี้เป็นข้อพิสูจน์ที่หนักแน่นในการเชื่อมโยงระหว่างมลภาวะและฝนตกหนัก" เบลล์กล่าว

    เรียกได้ว่าอนุภาคเล็กๆ จากมลภาวะในอากาศเป็น "หัวเชื้อ" (Seeding) ที่ทำให้เมฆโตขึ้น ขณะที่น้ำและน้ำแข็งเกาะติดกับอนุภาค หยดน้ำก็ก่อตัวเพิ่มขึ้น แต่นักวิจัยบางคนก็คิดว่าการเพิ่มขึ้นของมลภาวะนั้นขัดขวางการเกิดฝนโดยทำให้น้ำรอบๆ อนุภาคกระจายออกซึ่งป้องกันการเติบโตของเมฆไม่ให้มากพอที่จะกลายเป็นฝน อย่างไรก็ดีมีการศึกษาอื่นบ่งชี้ว่าบางปัจจัยสามารถเอาชนะผลกระทบจากการกระเจิงนี้ได้ โดยทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐฯ นั้นบางเงื่อนไขที่ทำให้เกิดพายุนั้นก็สำคัญกว่าผลการปะทะเนื่องจากการกระเจิง

    เบลล์เผยว่างานวิจัยชิ้นนี้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารจีโอฟิสิคัล รีเสิร์ช-แอทโมสเฟียร์ส (Geophysical Research-Atmospheres) ฉบับวันที่ 31 ม.ค.51 ซึ่งทำให้เกิดความเข้าใจใหม่ถึงผลกระทบของมลภาวะต่อสภาพอากาศ ซึ่งวันหนึ่งอาจช่วยในการปรับปรุงการพยากรณ์ฝนตกได้แม่นยำขึ้น
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  7. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกเตือน ปรากฏการณ์ลานิญาจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง จนถึงกลางปี หรือนานกว่านั้น

    โดย สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์ [ 12-02-2551 | 09:21 น. ]



    องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกเตือนว่า ปรากฏการณ์ลานิญา ซึ่งก่อตัวขึ้นในแถบ ทวีปอเมริกา แอฟริกาและเอเชีย มีกำลังแรงขึ้น และอาจจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง จนถึงกลางปี หรือนานกว่านั้น ซึ่งจะมีผลกระทบต่อสภาพอากาศของโลก โดยเฉพาะฝนตกหนักถี่ขึ้น ในบริเวณที่เกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติดังกล่าว แต่ไม่ได้คาดการณ์อย่างเฉพาะเจาะจง ถึงเขตแปซิฟิกหรือพื้นที่อื่น ๆ ของโลก อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมา การเกิดของลานิญา ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิ ผิวน้ำทะเลบริเวณตอนกลาง และตะวันออกของแปซิฟิก เขตศูนย์สูตรมีค่าต่ำกว่าปกติ มักจะทำให้เกิดภาวะแห้งแล้งกว่าปกติ น้ำท่วมหนัก และพายุที่รุนแรงขึ้น ในหลายพื้นที่ต่าง ๆ กันทั่วโลก นอกจากนี้ ยังเชื่อกันว่า พายุทอร์นาโดหลายลูก ที่เกิดขึ้นในสหรัฐ เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา และน้ำท่วมในแอฟริกาเมื่อเร็ว ๆ นี้ยังมีสาเหตุมาจากปรากฏการณ์ลานิญา ด้วย
     
  8. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • ยูเอ็นชี้ปรากฏการณ์ลานีญาเป็นสาเหตุบางส่วนของวิกฤติหิมะในจีน[​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย สำนักข่าวไทย [ 12-02-2551 | 14:15:26 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> เจนีวา 12 ก.พ. - สำนักงานพยากรณ์อากาศโลกแห่งสหประชาชาติ (ดับเบิลยูเอ็มโอ) รายงานว่า วิกฤติหิมะของจีนตั้งแต่ต้นปีนี้ มีสาเหตุจากปรากฏการณ์ลานีญา เพียงบางส่วน
    สำนักข่าวซินหัวของทางการจีน รายงานอ้างรายงานของดับเบิลยูเอ็มโอ วานนี้ ว่า นอกจากปรากฏการณ์ลานีญา ซึ่งเกิดจากอุณหภูมิผิวน้ำทะเล บริเวณตอนกลาง และตะวันออกของภูมิภาคแปซิฟิก ใกล้เส้นศูนย์สูตรมีค่าต่ำกว่าปกติแล้ว วิกฤติหิมะ ในภาคกลาง ภาคใต้ และภาคตะวันออกของจีน ตั้งแต่เมื่อวันที่ 10 ม.ค.ที่ผ่านมา ยังเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ ด้วย รวมถึงสภาพอากาศที่หนาวเย็นลงอย่างเฉียบพลัน ในภาคเหนือและภาคตะวันตกของจีน
    ดับเบิลยูเอ็มโอชี้ว่า ปรากฏการณ์ลานีญารอบล่าสุดนี้ เริ่มขึ้นตั้งแต่ไตรมาสที่ 3 ของปีที่แล้ว และมีกำลังแรงขึ้นในระยะ 3 เดือน ที่ผ่านมา พร้อม ๆ กับอุณหภูมิบนผิว น้ำทะเลที่ลดลงต่ำกว่าอุณหภูมิเฉลี่ย 1.5-2.0 องศาเซลเซียส ครอบคลุมพื้นที่กว้าง ทางตอนกลาง และตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก และว่า วงจรลานีญารอบล่าสุดนี้ อาจยาวนานถึงกลางปีนี้ หรืออาจเนิ่นนานออกไปถึงไตรมาสที่ 3 ของปีนี้
    ทั้งนี้ ปรากฏการณ์ลานีญาจะตรงกันข้ามกับปรากฏการณ์เอลนีโญ ซึ่งเกิดจาก อุณหภูมิผิวน้ำทะเล ในภูมิภาคแปซิฟิก บริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตร สูงกว่าอุณหภูมิปกติ ก่อให้เกิดปัญหาภัยแล้งรุนแรง.
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  9. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ที่ประชุมแก้โลกร้อนเห็นชอบควบคุมปริมาณปล่อยก๊าซเรือนกระจก <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">13 กุมภาพันธ์ 2551 17:37 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> ผู้แทนทั้งภาครัฐ และเอกชน ร่วมประชุมกันที่สำนักงานใหญ่แห่งสหประชาชาติในนครนิวยอร์กเป็นวันที่ 2 เมื่อวานนี้ ซึ่งเป็นวันสุดท้ายของการประชุมกำหนดกรอบความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาโลกร้อน เพื่อติดตามความคืบหน้าของการปฏิบัติตามผลการประชุมครั้งก่อน ที่เกาะบาหลีของอินโดนีเซียเมื่อเดือนธันวาคมปีที่แล้ว ซึ่งที่ประชุมให้ความเห็นชอบร่างข้อตกลงฉบับใหม่ที่มุ่งควบคุมปริมาณการปล่อยก๊าซปฏิกิริยา
    เรือนกระจกให้อยู่ในระดับที่กำหนดก่อนสิ้นปีหน้า
     
  10. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    วิกฤตภาวะโลกร้อน : ภัยเสี่ยงต่อคนเอเชียนับล้าน <table align="center" border="0" cellpadding="3" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr bgcolor="#ffffcc"><td valign="center"> </td></tr> <tr><td align="center" valign="top"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="95%"><tbody><tr><td valign="top"> <table align="center" bgcolor="#f5f5f5" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td>[​IMG]</td></tr><tr><td align="center">ภาพประกอบจากอินเตอร์เน็ต</td></tr></tbody></table>
    </td></tr></tbody></table></td></tr><tr><td align="center" valign="top"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="95%"><tbody><tr><td valign="top"> รายงานฉบับล่าสุดชื่อ “Up in Smoke: Asia and the Pacific” ซึ่งจัดทำโดยองค์กรพัฒนาเอกชนด้านการพัฒนาและสิ่งแวดล้อมหลายองค์กรทั่วโลกระบุว่า

    ภาวะโลกร้อนจะบั่นทอนความก้าวหน้าทางสังคมและเศรษฐกิจทั่วเอเชียซึ่งเป็นทวีปที่มีประชากรมากกว่า 4 พันล้านคนหรือร้อยละ 60 ของประชากรโลก ในรายงานที่จัดทำขึ้นโดยองค์กรพัฒนาเอกชนด้านการพัฒนาและสิ่งแวดล้อม 35 องค์กร ซึ่งรวมถึง อ็อกซ์แฟม (Oxfam) และ กรีนพีซ (Greenpeace) ระบุว่า เห็นพ้องกันมากขึ้นถึงความท้าทายอันใหญ่หลวงที่เอเชียเผชิญอยู่ อย่างไรก็ตาม รายงานระบุถึง “เหตุผลแห่งความหวัง” ว่า ขณะนี้ เรามีความรู้เพียงพอเกี่ยวกับสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รู้ถึงว่าจะทำอย่างไรกับกับปัญหา และผู้คนในเอเชียต้องปรับตัวอย่างไร แต่สิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับเรื่องนี้ก็คือการลงมือทำ

    เพียงไม่กี่วันก่อนที่รายงานเรื่อง “Asia - Up in Smoke” จะเผยแพร่

    ประเทศที่มีความล่อแหลมมากที่สุดในแถบภูมิภาคนี้ก็โดนพายุไซโคลนถล่ม “บังกลาเทศซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรยากจนมากถึงหลายล้านคนอาศัยในพื้นที่การเกษตรและตามชายฝั่งได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดจากฝีมือมนุษย์ พายุไซโคลนได้ส่งผลกระทบอย่างหนักต่อผู้คนเหล่านี้ที่ต้องพึ่งพาผืนดินและผืนน้ำในการดำรงชีวิต อ็อกซ์แฟมจึงขอให้รัฐบาลช่วยบรรเทาและปรับปรุงสถานการณ์นี้อย่างเข้มงวดทั้งในปัจจุบันและอนาคต” เบิร์ท มาร์เทน แห่ง อ็อกซ์แฟม สากลกล่าว

    รายงาน Asia - Up in Smoke ออกเผยแพร่หลังจากที่ IPCC หรือคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้สรุปรายงานสังเคราะห์การประเมินฉบับที่ 4

    ที่เมืองวาเลนเซีย สเปน ซึ่ง IPCC ชี้ชัดว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้เกิดขึ้นแล้วและเตือนถึงภาวะโลกร้อนที่เกิดจากฝีมือมนุษย์นี้ว่าสามารถนำไปสู่ผลกระทบฉับพลันและไม่สามารถเรียกกลับคืนมาได้้

    “เราไม่ควรเอาอนาคตของโลกเข้าไปเสี่ยง เป็นความเสี่ยงที่สูงเกินไปและกีดกันคนยากจนและกลุ่มคนที่ตกอยู่ในภาวะเสี่ยงออกไป” นายธารา บัวคำศรี กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้กล่าว “เรารู้ว่าถึงเวลาที่ต้องลงมือทำ การตัดสินใจในการประชุมที่บาหลีจึงต้องสนับสนุนจุดมุ่งหมายของ IPCC”

    ในขณะที่ผู้นำจากทั่วโลกกำลังเตรียมการประชุมของสหประชาชาติที่กำลังจะมีขึ้นในเดือนหน้าที่บาหลี เพื่อหารือถึงวิธีการรับมือกับภาวะโลกร้อน รายงาน Asia - Up in Smoke ได้ระบุไว้ว่า ลักษณะอากาศทั่วทั้งภูมิภาคเอเชียในศตวรรษนี้จะอบอุ่น มีฝนและมรสุมน้อยลงในเขตเกษตรกรรม แต่กลับมีพายุไซโคลนที่รุนแรงมากขึ้น

    ประชากรเอเชียมากกว่าครึ่งหนึ่งที่อาศัยใกล้ชายฝั่งจะประสบกับปัญหาน้ำทะเลที่เพิ่มสูงขึ้น

    ภูมิภาคเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของเกษตรกรรายย่อยถึงร้อยละ 87 ของเกษตรกรรายย่อย 400 ล้านรายทั่วโลก พวกเขาจะได้รับผลกระทบอย่างหนักจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเนื่องจากต้องพึ่งพาฝนตามฤดูกาล อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องซาเซลเซียสในช่วงกลางคืนของฤดูเพาะปลูกจะทำให้ผลผลิตข้าวของภูมิภาคเอเชียลดลง 10 เปอร์เซ็นต์ ส่วนข้าวสาลีจะลดลง 32 เปอร์เซ็นต์ภายใน พ.ศ. 2593

    การขยายการเพาะปลูกพืชเชื้อเพลิงชีวภาพอย่างรวดเร็วทำให้เกิดการตัดไม้ทำลายป่ามากขึ้นและทำให้ภาวะโลกร้อนยิ่งรุนแรงขึ้น รวมทั้งยังส่งผลกระทบต่อชีวิตของคนท้องถิ่นมากขึ้นด้วย

    ประชากรบนเกาะขนาดเล็ก เช่น วานัวตู คิริบาติ และตูวาลูในมหาสมุทรแปซิฟิกอยู่ในความเสี่ยงที่น้ำทะเลจะท่วมถึง

    ในบังกลาเทศที่ประชากร 70 เปอร์เซ็นต์มีอาชีพเกษตรกรรมจะประสบปัญหาอุณหภูมิและปริมาณน้ำฝนที่ผันแปรจนทำให้ผลผลิตทางการเกษตรลดลง

    ในประเทศอินเดียพึ่งเกิดน้ำท่วมซึ่งกระทบต่อคน 28 ล้านคน นอกจากนี้ยังมีปัญหาความแห้งแล้งในบางรัฐของอินเดีย ซึ่งถ้าหากเรายังไม่คิดจะเริ่มลงมือทำ เราจะสูญเสียผลผลิตทางอาหารไปถึง 30 เปอร์เซ็นต์ของทั้งประเทศ

    ในทางตอนเหนือของจีนปัญหาความแห้งแล้งทำให้สูญเสียผลผลิตด้านการเกษตร หากยังไม่มีการแก้ปัญหาโลกร้อน ในปลายศตวรรษนี้ประเทศจีนจะสูญเสียผลผลิตหลักไป 37 เปอร์เซ็นต์ซึ่งผลผลิตเหล่านั้นรวมถึงข้าวสาลี ข้าว และข้าวโพด

    ในรายงานยังมีการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศและประชากรที่มีฐานะยากจนในประเทศบังกลาเทศ เอเชียกลาง จีน อินเดีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ติมอร์ตะวันออก แม่น้ำโขงตอนล่าง มาเลเซีย เนปาล ปากีสถาน และ หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก

    ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีมาตรการจากทางรัฐบาลท้องถิ่นรวมทั้งความร่วมมือจากประชาชนในการลดการปล่อยคาร์บอนและจัดการกับการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศโดยเน้นที่ผลกระทบที่การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศเกิดขึ้นกับสุขภาพของคน พลังงาน การอพยพ คนเมือง ผู้หญิง ผลผลิต น้ำและความแห้งแล้ง ทะเล ชายฝั่ง ภัยพิบัติ ความหลากหลายทางชีวภาพ และ สิ่งแวดล้อม

    โดยเฉพาะในประเทศที่พัฒนาแล้วควรใช้ระบบพลังงานหมุนเวียนและกระจายสู่ภูมิภาคเอเชีย Up In Smoke เสนอให้ทั่วโลกลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อคงอุณหภูมิของโลกไว้ไม่ให้เกิน 2 องศาเซลเซียสอินเดียเพียงประเทศเดียวมีศักยภาพที่จะผลิตกระแสไฟฟ้าถึง 60 เปอร์เซ็นต์ภายในปี พ.ศ. 2593 ด้วยการใช้พลังงานหมุนเวียน ประเทศที่เจริญแล้วควรหยุดใช้กฎข้อบังคับด้านทรัพย์สินทางปัญญาและให้ประเทศที่กำลังพัฒนาใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

    ทั่วโลกต้องประเมินค่าที่ประเทศยากจนต้องสูญเสียไปกับการปรับตัวจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและให้เงินทุนช่วยเหลือ

    รายงานยังระบุว่าประเทศที่พัฒนาแล้วให้เงินอุดหนุนแก่อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลถึง 73 พันล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปีในช่วงปลายปี 2533 นอกจากนี้ยังต้องมีการวางแผนที่จะรับมือกับปัญหาอย่างรอบคอบ จัดการและสนับสนุนผู้ประสบกับหายนะที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

    อาเซียนและสมาชิกประเทศอื่นๆอย่างจีนและเกาหลีใต้มีการประชุมที่สิงคโปร์ในวันที่ 19 ถึง 21 พฤศจิกายนนี้

    ซึ่งประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและความมั่นคงด้านพลังงานเป็นวาระสำคัญของการประชุม “การประชุมครั้งสำคัญที่จะกำหนดอนาคตโลกเกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียนเรานี่เอง หากอาเซียนต้องการจะดำเนินการให้สอดคล้องกับความต้องการของภูมิภาค อาเซียนต้องสนับสนุน “พันธะกรณีแห่งบาหลี (Bali Mandate) ในการขยายให้พิธีสารเกียวโตออกไปในช่วงที่สอง (second commitment period) และลดปริมาณการปล่อยคาร์บอนอย่างจริงจัง” ธารากล่าว นอกจากนี้ กรีนพีซยังเรียกร้องอาเซียนตั้งเป้าหมายการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนและประสิทธิภาพทางพลังงานให้ชัดเจนสำหรับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้้

    </td></tr></tbody></table></td></tr><tr><td align="center" valign="top"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="95%"><tbody><tr><td valign="top"> <table align="center" bgcolor="#f5f5f5" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td>[​IMG]</td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  11. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="2">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td colspan="3">
    • โลกร้อนอาจทำให้ฉลามย้ายไปอยู่ในทวีปแอนตาร์กติกา[​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย สำนักข่าวไทย [ 16-02-2551 | 12:02:37 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> บอสตัน, แมสซาชูเซตส์, 16 ก.พ.-นักชีววิทยาเตือนว่า ภาวะโลกร้อน อาจทำให้ฉลามที่ดุร้ายย้ายถิ่น ไปอยู่ในน่านน้ำแถบทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นการคุกคามต่อสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลที่ได้รับการปกป้อง ภายใต้สภาพอากาศอันเย็นจัดมานานหลายล้านปี และเรียกร้องให้ประชาคมระหว่างประเทศหามาตรการควบคุมก๊าซเรือนกระจก ที่เป็นต้นเหตุของภาวะโลกร้อน และป้องกันภัยพิบัติต่อระบบนิเวศน์
    นักชีววิทยาที่เข้าร่วมการประชุมประจำปีสมาคมชาวอเมริกัน เพื่อความก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์ เตือนว่า การย้ายถิ่นกลับสู่ทวีปแอนตาร์กติกาของฉลาม เป็นข้อพิสูจน์ถึงความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศน์ใต้น้ำ แต่สภาพแวดล้อมใต้น้ำ ในทวีปแอนตาร์กติกา ขณะนี้ยังหนาวเย็นเกินไปสำหรับฉลาม และปลาชนิดอื่นที่มีเปลือก และจำพวกปลาหมึกที่จะไปอาศัยอยู่ แม้สภาพน้ำทะเลในทวีปดังกล่าวมีความอ่อนนุ่ม และมีการพัดพาอย่างช้า ๆ เหมือนกับสภาพมหาสมุทรในสมัยโบราณ
    อย่างไรก็ตาม ภาวะโลกร้อนทำให้อุณหภูมิสูงขึ้น 1-2 องศาในระยะ 50 ปีที่ผ่านมา และน้ำอาจกลายเป็นปัญหา สำหรับการดำรงชีวิตของฉลามภายในอีก 100 ปีข้างหน้า และถ้าฉลามย้ายไปอยู่ในทวีปดังกล่าว จะทำให้มีการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์ ในทวีปดังกล่าวอย่างสมบูรณ์
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  12. ชนินทร

    ชนินทร พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,725
    ค่าพลัง:
    +6,384
    ขอขอบคุณ และร่วมอนุโมทนากับทุกๆ ท่านที่สู้อุตส่าห์ เสียสละเวลา และสิ่งอื่นๆ อีกมากมาย... มาช่วยกันระวังภัย และนำสัญญาณอันตรายต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาคอยเตือนพวกเราไม่ให้ตั้งอยู่ในความประมาท มาโดยตลอดค่ะ...

    ขอบพระคุณค่ะ
     
  13. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ยิ่งสำรวจยิ่งพบ สิ่งมีชีวิตประหลาดที่แอนตาร์กติกา <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">24 กุมภาพันธ์ 2551 16:31 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> <td> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">หน้าตาเหมือนเพรียงหัว หอม (tunicates) สีขาวใสบอบบางเหมือนแก้ว พบอยู่ใต้แอนตาร์กติกาลึกลงไป 220 เมตร และลึกลงไปที่ 1,000 เมตรบริเวณขั้วโลกเป็นทะเลน้ำแข็ง ก็จะพบสิ่งมีชีวิตหน้าตาแปลกๆ อีกมากมาย (ภาพ Australian Antarctic Division)</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ฟองน้ำทะเล, กัลปังหา และปะการังแบบเส้นเกาะกันอยู่ที่พื้นทะเลลึกลงไป 400 เมตร (Australian Antarctic Division)</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">กัลปังหา สีสันสดใส พร้อมด้วยไบรโอโซนหรือเสื่อทะเล และฟองน้ำที่ความลึก 600 เมตร ใต้มหาสมุทรแอนตาร์กติกา (ภาพ Australian Antarctic Division)</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ภาพซ้ายคือหนอนยักษ์ที่ก้นทะเล ส่วนขวากัลปังหาและเสื่อทะเล (ภาพ Australian Antarctic Division /AP)</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ปลาคอดทางยาว (Grenadier fish) ปลาน้ำลึกกำลังแหวกว่ายเหนือฟองน้ำแก้วใต้แอนตาร์กติกา (ภาพ Australian Antarctic Division /AP)</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> เอพี/เทเลกราฟ - นักวิทยาศาสตร์สำรวจทะเลน้ำแข็ง ในมหาสมุทรแอนตาร์กติกา พบสิ่งมีชีวิตหน้าตาประหลาดมากมาย ทั้งแมงมุมทะเลยักษ์และหนอนเบิ้มต่างอาศัยอยู่ในห้วงทะเลมืดลึกและหนาวเย็น

    ผู้เชี่ยวชาญทางสัตว์น้ำทั้งจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศสและญี่ปุ่นเข้าร่วมโครงการนานาชาติเพื่อสำมะโนประชากรสัตว์ทะเลใน โลกซีกใต้ที่ไกลออกไป โดยเก็บตัวอย่างสิ่งมีชีวิตต่างๆ ที่อยู่ในห้วงทะเลลึก 6,500 ฟุต และส่วนใหญ่ก็ล้วนเป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่เคยพบเห็นมาก่อน

    สัตว์ใต้ทะเลบางชนิดเติบโตมาด้วยรูปลักษณะที่ใหญ่ผิดปกติ นับเป็นปรากฎการณ์ที่เรียกว่า รูปร่างใหญ่กว่าปกติ หรือไจแอนทิซึม (gigantism) ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ยังไม่ค่อยเข้าใจเท่าใดนัก

    "ไจแอนทิซึมนับเป็นเรื่องปกติสำหรับทะเลแอนตาร์กติกา" คำบอกเล่าของมาร์ติน ริดเดิล (Martin Riddle) นักวิทยาศาสตร์แผนกแอนตาร์กติกาของออสเตรเลีย (Australian Antarctic Division) ผู้นำการสำรวจทะเลขั้วโลกใต้

    ทั้งนี้ทีมสำรวจของพวกเขาเก็บตัวอย่างหนอนขนาดใหญ่ สัตว์จำพวกกุ้งปูที่ใหญ่กว่าปกติ และยังพบแมงมุมทะเลขนาดเท่าจานข้าว

    นอกจากสัตว์น้ำหน้าตาประหลาดหลากชนิดแล้ว นักวิทยาศาสตร์ยังพบสัตว์ที่กินแพลงตอนเป็นอาหารเป็นเหมือนแก้วใส อยู่เต็มก้นทะเล

    ตัวอย่าง ของสิ่งมีชีวิตหน้าตาแปลกๆ เหล่านี้ถูกส่งต่อไปยังมหาวิทยาลัยและพิพิธภัณฑ์ต่างๆ ทั่วโลก เพื่อช่วยกันระบุสายพันธุ์ ลำดับอนุกรมวิธานจากตัวอย่างเนื้อเยื่อ และการวิเคราะห์ทางรหัสพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ)

    "ไม่ใช่สิ่งมีชีวิตทุกตัวที่เราเก็บได้ จะสามารถระบุชนิดได้ และแน่นอนว่าจะต้องมีสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ที่เราค้นพบระหว่างการเดินทางมาก มาย" เกรมแฮม โฮซี (Graham Hosie) ผู้นำโครงการสำรวจประชากรสัตว์น้ำอธิบาย

    โครงการสำรวจครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของความร่วมมือระดับนานาชาติใน ความพยายามที่จะทำแผนที่รูปแบบสิ่งมีชีวิตใต้มหาสมุทรแอนตาร์กติกา ซึ่งรู้จักกันในนาม "มหาสมุทรตอนใต้" (Southern Ocean) และต้องการศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศที่มีต่อสิ่งแวดล้อม ภายใต้ท้องทะเล

    เรือที่ใช้ในการสำรวจทะเลใต้นี้มีถึง 3 ลำด้วยกัน ได้แก่ ออโรรา ออสตราลิส (Aurora Australis) ของออสเตรเลีย, ลาสโตลาบ (L'Astrolabe) ของฝรั่งเศส และยูมิตากะ มารุ (Umitaka Maru) ของญี่ปุ่น เพิ่งกลับมาจากการสำรวจที่ยาวนานถึง 2 เดือน

    เรือสำรวจของฝรั่งเศสและญี่ปุ่นต่างเดินทางเก็บตัวอย่างในตอนกลางและ ตอนเหนือของแอนตาร์กติกา ส่วนออสเตรเลียลงสำรวจห้วงน้ำลึกด้วยกล้องควบคุมระยะไกล

    การเดินทางสำรวจครั้งนี้เพื่อเก็บข้อมูลประชากรสัตว์น้ำใต้แอนตาร์ กติกาตามโครงการความร่วมมือสำมะโนประชากรสัตว์น้ำในแอนตาร์กติกาตะวันออก (Collaborative East Antarctic Marine Census) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการทำแผนที่และความหลากหลายทางทะเลครั้งใหญ่ของโลกเรา โดยมีแผนการสำรวจ 10-15 ปี พร้อมจุดประสงค์ที่สำคัญยิ่งคือผลกระทบของสภาพการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศต่อ สภาพแวดล้อมใต้ทะเล
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  14. Nakamura

    Nakamura Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กันยายน 2005
    โพสต์:
    2,002
    ค่าพลัง:
    +17,625
    วิกฤตขั้วโลกใต้*<!--<a href="javascript:void(window.open('popup_h.php?current_page=1&pro=1','','width=817, height=510'));">--><!--[​IMG]--><!--*******อันนี้ที่ใช้อยู่*******[​IMG]--><!-- ที่ลิงค์ไปสู่คลิป(ในกรณีที่ข่าวนั้นมีคลิป) -->
    [​IMG]
    Mon 18/02/2008 17:50 น. (52)

    นักสำรวจขั้วโลกชาวเบลเยี่ยม ยืนยันว่า ทวีปแอนตาร์กติกากำลังประสบวิกฤติน้ำแข็งละลายและสัตว์อพยพ อันเป็นผลจากภาวะโลกร้อน

    นายดิ๊กซี่ แดนเซอร์คอร์ หัวหน้าทีมสำรวจขั้วโลกใต้ ได้เดินทางไปสำรวจแอนตาร์กติกาเป็นครั้งที่ 5 เขาได้เลียนแบบการเดินทางของนายแอนเดรียน เดอ เจอร์ลาสช์เมื่อ 110 ปีก่อน ซึ่งเคยเยือนแอนตาร์กติกาถึง 20 ครั้ง นายแดนเซอร์คอร์ได้เปิดเผยภาพหลักฐานล่าสุดของสภาพที่เปลี่ยนแปลงไปของแอนตาร์กติกา โดยเทียบกับสภาพที่นายเจอร์ลาสช์ได้ไปเห็นและบันทึกไว้

    ไม่ว่าจะเป็นธารน้ำแข็งหดหายไป ทะเลโดยรอบไม่มีน้ำแข็งปกคลุมเหมือนก่อน และสัตว์ท้องถิ่นก็กำลังอพยพไปถิ่นอื่น เพราะขาดแคลนอาหาร ทั้งหมดนี้เป็นผลจากภาวะโลกร้อน หรือ โกลบอล วอร์มมิ่ง

    เกิดฝนตกที่ขั้วโลกใต้มากขึ้น ทำให้ผิวหนังของเพนกวินบางลง พวกมันเริ่มอพยพลงไปทางใต้มากขึ้น ซึ่งลูกเพนกวินจำนวนมากไม่อาจจะรอดชีวิตระหว่างการเดินทางไกลนี้ได้

    นายแดนเซอร์คอร์กล่าวว่า สิ่งน่ากลัวที่สุดสำหรับทวีปแอนตาร์กติกา คือเกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยอาจเป็นผลจากมนุษย์หรือไม่ก็สภาพอากาศ

    ภาพหลักฐานที่นายแดนเซอร์คอร์ได้มานั้นจะผ่านไปให้นักวิทยาศาสตร์กลุ่มอื่นๆ ได้นำไปศึกษาวิจัยต่อไป ทั้งนี้ทีมสำรวจของเขาออกเดินทางจากเบลเยี่ยมเมื่อวันที่ 17 กันยายน ปีที่แล้ว เรือของพวกเขาแล่นฝ่าพายุและเผชิญกับปัญหามากมายระหว่างการเดินทาง แต่สิ่งที่พวกเขาได้รับมานั้นก็คุ้มค่ากับสิ่งที่ได้ทุ่มเทไป เพื่อให้สังคมได้เกิดแรงบันดาลใจและหาทางออกให้กับปัญหาที่เกิดขึ้นที่ขั้วโลกใต้

    ทั้งนี้ เบลเยี่ยมกำลังสร้างสถานีวิจัยถาวรแห่งแรกบนทวีปแอนตาร์กติกา โดยจะใช้ชื่อว่า สถานีวิจัย"พรินเซส เอลิซาเบธ".

    http://www.astv-tv.com/news1/viewdata.php?data_id=1002958&numcate=7
     
  15. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    เปิดเว็บเก็บข้อมูลโรงไฟฟ้าทั่วโลก-แอบมองชาติไหนปล่อยคาร์บอนมากสุด? <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> <td> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">เอ็นจีโอสหรัฐฯ เปิดตัวฐานข้อมูลปริมาณการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของโรงไฟฟ้าทั่วโลก ดังจะเห็นจากหน้าแรกของเว็บไซต์ www.carma.org แต่น่าเสียดายที่ยังไม่มีการรวบรวมข้อมูลในส่วนของประเทศไทยด้วย </td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">โรงไฟฟ้าถ่านหิน ผู้ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่บรรยากาศจำนวนมาก (ภาพจาก msnbcmedia3.msn.com)</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ตามฐานข้อมูลนี้ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ดูจะเป็นพระเอกของโรงไฟฟ้าที่เป็นมิตรกับสภาพอากาศโลก (ภาพจาก wikimedia.org)</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> เอพี – เอ็นจีโอสหรัฐฯ เปิดเว็บไซต์ฐานข้อมูลการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากโรงไฟฟ้าทั่วโลก ให้เข้าไปคลิกสำรวจให้เห็นกันแบบจะจะ แม้ภาพรวมสหรัฐฯ จะเป็นผู้ปล่อยก๊าซตัวร้ายมากที่สุดในโลก แต่บริษัทผลิตไฟฟ้าจากจีนกลับชิงตำแหน่งองค์กรที่ทำร้ายชั้นบรรยากาศมากสุด

    ปัญหาโลกร้อนกำลังสร้างความกังวลให้กับเรามากขึ้นทุกที แต่เราจะรู้ได้อย่างไรว่า ใครเป็นตัวการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่ชั้นบรรยากาศมากที่สุด ซึ่งต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายนี้อย่างเลี่ยงไม่ได้ โดยเซ็นเตอร์ฟอร์โกลบอลดีเวลอปเม็นต์ (Center for Global Development) ในสหรัฐฯ ได้เปิดเว็บไซต์ฐานข้อมูลการปล่อยก๊าซดังกล่าวจากโรงไฟฟ้าทั่วโลกขึ้น

    โครงการฐานข้อมูลที่องค์กรจัดทำขึ้นชื่อว่า “CARMA” (Carbon Monitoring for Action) รวบรวมผ่านเว็บไซต์ carma.org โดยออนไลน์แบบปฏิสัมพันธ์ผนวกกับกูเกิลแมพที่จัดสรรให้ทั้งแผนที่ และรหัสสีแบ่งประเภท เปิดให้ผู้คนทั่วโลกเข้าเยี่ยมชมได้ฟรี

    ทั้งนี้ข้อมูลสำคัญคือการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากโรงไฟฟ้าทั่ว โลกขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศรวมปีละกว่า 10,000 ล้านตัน โดยหนึ่งในสี่ของจำนวนนั้นมาจากสหรัฐฯ นั่นเอง

    ผู้จัดทำฐานข้อมูลนี้ได้ขนานนามว่าเป็น “สถานที่ที่ดีที่สุดสำหรับพวกถ้ำมองโรงไฟฟ้า” ที่ซึ่งมีข้อมูลมากล้นให้ค้นหา

    เว็บไซต์ดังกล่าวได้รวบ รวมข้อมูลเกี่ยวกับห้างร้านเอกชนด้านการบริการไฟฟ้าสาธารณะไว้แล้ว 4,000 แห่ง และโรงไฟฟ้าอีก 50,000 แห่งซึ่งเป็นผู้ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แหล่งใหญ่ของโลก รวมไปถึงส่วนที่ปลีกย่อยและแทบจะปล่อยก๊าซดังกล่าวสู่ชั้นบรรยากาศน้อยที่สุด ตามส่วนบริการไฟฟ้าและห้างร้านเอกชนด้านไฟฟ้าต่างๆ ด้วย

    “เราพยายามทำให้สมบูรณ์แบบมากที่สุด และชั่งน้ำหนักของข้อมูลต่างๆ ให้สมดุล เพราะฐานข้อมูลนี้ถือเป็นเว็บไซต์เปิดที่ใครๆ ก็เข้าถึงได้” เดวิด วีเลอร์ (David Wheeler) ผอ.โครงการเว็บไซต์เผย โดยระบบกรองข้อมูลทำให้ผู้เข้าชมสามารถสำรวจตรวจหาได้ว่า โรงไฟฟ้าแห่งหนตำบลใดปลดปล่อยก๊าซดังกล่าวมากน้อยแค่ไหน ไม่ว่าจะเป็นห้างร้านเอกชนหรือโรงไฟฟ้าส่วนตัว

    ในเว็บไซต์มีข้อมูลที่น่าสนใจมากมาย อาทิ ข้อมูลจากกำลังผลิตไฟฟ้าของออสเตรียเลียทำให้พบว่าชาวออสซีแต่ละคนจะปลด ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์คนละ 11 ตัน/ปี นับว่าสูงที่สุดของโลก เทียบกับชาวอเมริกัน 9 ตัน และชาวจีนคนละ 2 ตันต่อปี

    ทั้งนี้ หากเข้าชมเว็บไซต์ดังกล่าว หน้าแรกจะแสดงให้เห็นถึงข้อมูล ผู้ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่ชั้นบรรยากาศอันดับต้นๆ ของโลก ซึ่งสามารถเสาะหาข้อมูลลึกไปถึงโรงไฟฟ้าใกล้บ้านของผู้ชมฐานข้อมูลก็ย่อมได้ โดยมีรหัสสีที่แสดงถึงปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนกำกับด้วย เริ่มจากสีเขียวคือผู้ที่ปล่อยน้อยสุด ไล่ไปถึงสีน้ำเงิน สีเหลือง สีส้ม และท้ายสุดคือสีแดงที่หมายถึงปลดปล่อยมากที่สุด

    ยิ่งเครื่องหมายบนหน้าจอคอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่มากขึ้นเท่าไร ก็หมายถึงมีปริมาณการปลดปล่อยมากขึ้นเท่านั้น โดยสัญลักษณ์ สีแดงขนาดใหญ่จะหมายถึงโรงไฟฟ้าที่ผลิตกระแสไฟฟ้าจำนวนมาก ส่วนสีเขียวหมายถึงที่ที่มีการปลดปล่อยจำนวนน้อย ซึ่งมักจะเป็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

    อย่างไรก็ดี สหรัฐฯ ยังคงครองแชมป์ผู้ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุดของโลกคือ 2.79 พันล้านตันต่อปี รองลงมาคือจีน 2.66 พันล้านตันซึ่งติดอันดับ 3 ใน 5 ชาติที่ปล่อยก๊าซก่อภาวะเรือกกระจกมากที่สุด ซึ่งคาดว่าจะทำลายสถิติแซงหน้าสหรัฐฯ ในไม่ช้า

    ขณะที่บริษัทเอกชนอย่าง “หัวเหนิง พาวเวอร์ อินเตอร์เนชันแนล” (Huaneng Power International) ของจีนซึ่งให้บริการผลิตไฟฟ้าปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุดในโลกถึง 292 ล้านตันต่อปี มากกว่า บ.เซาเทิร์น คอมพานี (Southern Company) และ บ.อเมริกัน อิเล็กทริก พาวเวอร์ 2 ยักษ์ใหญ่ผู้ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่ชั้นบรรยากาศมากที่สุดของสหรัฐฯ แห่งละประมาณ 170 ตันต่อปี ในอันดับ 6 และ 7 ของโลกแบบไม่เห็นฝุ่น

    อย่างไรก็ดี จุดที่น่าสนใจที่สุดของฐานข้อมูลนี้คือ จุดที่เรียกว่า “ขุดให้ลึกไปอีก” (digging deeper) ที่แสดงถึงโรงไฟฟ้าหรือบริษัทห้างร้านในพื้นที่นั้นๆ โดยโอไฮโอวัลเลย์ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และรัฐเท็กซัสมีการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จำนวนมาก สะท้อนถึงปริมาณการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล

    ในเวลาเดียวกันชายฝั่งทะเลตะวันตก ซึ่งมีการใช้พลังงานน้ำและนิวเคลียร์เป็นหลักจะเป็นไปในทิศตรงข้าม โดยเฉพาะโรงไฟฟ้าของรัฐเท็กซัสที่ผลิตก๊าซดังกล่าวมากที่สุดกว่ารัฐใดๆ ที่ 290 ล้านตันต่อปี เมื่อเทียบกับรัฐเวอร์มอนต์ที่อยู่ในตำแหน่งรั้งท้ายเพียง 437,000 ตันต่อปีเท่านั้น

    ข้อมูล ที่เห็นได้ชัดเจนเหล่านี้จะเป็นตัวผสานทำให้ประเทศร่ำรวยและประเทศกำลัง พัฒนาหันมาทำงานร่วมกันเพื่อเอาชนะวิกฤติสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงได้” วีเลอร์ นักเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมผู้ช่ำชองว่า โดยฐานข้อมูลที่พร้อมมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้งานนี้จะเป็นตัวส่งเสริมให้ไม่ เฉพาะแต่ปัจเจกบุคคลในสหรัฐฯ เท่านั้นที่จะเข้ามาหาข้อมูลกัน
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  16. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    เค้าลางสงครามชักใกล้เข้ามา เหตุอุณหภูมิโลกอุ่น ขึ้นเป็นปัจจัย


    การศึกษาเรื่องใหม่ทำให้พบเค้าลางว่า อุณหภูมิโลกที่อุ่นขึ้น อาจทำให้เกิดสงครามขึ้นได้ เหมือนกับสถานการณ์ ใดๆในโลก
    การศึกษาได้ชี้ว่า ความแปรปรวนของดินฟ้าอากาศทั้งในปัจจุบันและอนาคต อาจทำให้เกิดสงครามโลกและความไม่สงบในโลกขึ้นได้
    อาจารย์ปีเตอร์ เรค แห่งสถาบันเทคโนโลยีจอร์เจีย ของสหรัฐฯกับนักวิจัยในฮ่องกง จีน และอังกฤษ ได้ร่วมกันศึกษาสถิติเก่าของราคาอาหาร ระดับประชากรและความขัดแย้ง ย้อนหลังไปในประวัติศาสตร์ ถึงปี พ.ศ.1943 เทียบกับข้อมูลสถิติของระดับอุณหภูมิระยะยาว “เราได้พบว่า คำบอกเล่าในเรื่องความแปรปรวนของดินฟ้าอากาศ จนเป็นเหตุให้เกิดการรบพุ่ง สามารถเข้ากันเป็นแบบแผนกว้างๆได้”
    “เราได้แบบจำลองพื้นฐานว่า ความปรวนแปรของอุณหภูมิ ทำให้กระทบกระเทือนการผลิต พืชพันธุ์ อันทำให้เกิดผลขึ้น 3 อย่าง ราคาอาหารแพงขึ้น อัตราเสี่ยงของการอดตายสูงขึ้น และความตึงเครียดทางสังคมเขม็งเกลียวขึ้น ล้วนแต่อาจนำไปสู่การขัดแย้งอย่างรุนแรง”
    ถึงแม้คณะนักวิจัยจะยอมรับว่า ความแปรแปลี่ยนของอุณหภูมิไม่ใช่สาเหตุทำให้เกิดสงคราม ขึ้นอย่างเดียว แต่ก็เชื่อแน่ว่ามันทำให้ ภาวการณ์ทรุดหนักลง
    นอกจากนั้นเรื่องที่ห่วงใยกันอยู่ไม่ใช่เรื่องอากาศหนาวเย็นลง หากแต่เป็นเพราะอบอุ่นขึ้น แต่นักวิจัยก็เห็นว่าอุณหภูมิที่อุ่นขึ้น ก็ทำให้เกิดความขัดสนของอาหารในระยะยาวขึ้นได้ ไม่แพ้อากาศที่เย็นลงเช่นกัน.


    http://www.thairath.com/news.php?section=technology&content=69528
     
  17. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    แผนที่จำลองภาวะโลกร้อน

    องค์การนาซ่า (NASA) ได้สร้างแผนที่แอนิเมชันจำลองการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกในช่วงตั้งแต่ปีค.ศ.1891 ถึง 2006 แผนที่แอนิเมชันจำลองนี้เป็นไฟล์ .mp4 ซึ่งสามารถชมได้จาก Quick Time player แต่ละเฟรมในแผนที่แอนิเมชันได้แสดงการเพิ่มขึ้นแต่ละปีของอุณหภูมิที่ผิดปกติจากอุณหภูมิเฉลี่ยในช่วงสิบปี โดยเริ่มจากแผนที่อุณหภูมิเฉลี่ยผิดปกติในช่วงสิบปีประวัติศาสตร์ (1891-1900) และจบด้วยแผนที่อุณหภูมิเฉลี่ยผิดปกติในช่วงสิบปีปัจจุบัน (1997-2006) ซึ่งแผนที่แอนิเมชันนี้ช่วยให้เข้าใจถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของภาวะโลกร้อนตลอดช่วงระยะเวลาดังกล่าว
    [​IMG]
    เฟรมแรกของแผนที่แอนนิเมชันแสดงภาวะโลกร้อนโดย NASA

    [​IMG]
    เฟรมสุดท้ายของแผนที่แอนนิเมชันแสดงภาวะโลกร้อนโดย NASA​
     
  18. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <TABLE class=mxtable cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top height=120>
    นักวิชาการชี้โลกร้อน"ฝนตกอากาศแปรปรวน"

    นักวิชาการชี้ฝนตกอากาศแปรปรวน เป็นผลจากภาวะโลกร้อน ทุกประเทศได้รับผลกระทบหมด กรมอุตุนิยมวิทยาคาดร้อนนี้อุณหภูมิไม่ทะลุ 40 องศา


    จากสภาพอากาศเย็นและฝนตกที่เกิดขึ้นในระยะนี้ ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อำนวยการศูนย์เครือข่ายงานวิเคราะห์วิจัยและฝึกอบรมการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (START) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า เกิดจากมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนแผ่กระจายลงมา หากนับจากปลายปี 2550 ครั้งนี้ถือเป็นครั้งที่ 4 ที่มวลอากาศเย็นจากจีนส่งผลถึงในพื้นที่ โดยฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ เช่น เมืองลาวก่าย ประเทศเวียดนาม และที่เมืองซำเหนือ ประเทศลาว เกิดปรากฏการณ์หมอกแข็ง หรือหินน้ำค้างแข็งซึ่งมีลักษณะคล้ายหิมะตกเกิดขึ้น แต่ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากเทือกเขาหิมาลัย จะมีแค่ฝนตกและอุณหภูมิลดลงบ้างเท่านั้น โอกาสเกิดแบบที่เวียดนาม หรือซำเหนือมีน้อย
    "หลักการทางวิทยาศาสตร์นั้น โอกาสที่จะเกิดเรื่องดังกล่าวมีน้อยมาก ในที่นี้หมายความว่า โอกาสที่จะเกิดก็มี แต่เป็นความแปรปรวนทางภูมิอากาศ ไม่ใช่ความวิกฤติ เพราะความแปรปรวนทางอากาศนั้นมีโอกาสเกิดขึ้นได้ทุกที่" ดร.อานนท์ กล่าว
    ดร.อานนท์ กล่าวว่า สภาพอากาศแปรปรวนนี้เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ อย่างไรก็ตาม ขณะนี้มีข้อมูลอื่นมาประกอบทำให้มั่นใจว่า ทั่วโลกได้รับผลกระทบจากภาวะโลกร้อน มากกว่าความแปรปรวนของอากาศ นั่นคือ สถิติพายุ เช่น ก่อนหน้านี้คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ไอพีซีซี) เคยระบุว่า สถิติการลดลงของพายุขนาดเล็ก และการเพิ่มขึ้นของพายุขนาดใหญ่ เป็นตัวแปรสำคัญที่บอกว่า เราได้รับผลกระทบจากภาวะโลกร้อนแล้ว
    ผู้เชี่ยวชาญด้านโลกร้อน กล่าวอีกว่า ล่าสุดมีการบันทึกสถิติการเกิดพายุ พบว่าในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา พายุขนาดเล็กในอ่าวไทยเกิดขึ้น 60 ลูกต่อ 30 ปี แต่ปัจจุบัน ลดเหลือ 40 ลูกต่อ 30 ปี ส่วนพายุขนาดใหญ่ เช่น ไต้ฝุ่น และไซโคลน มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น จากเดิมที่เคยเกิดขึ้น 3 ลูก ในเวลา 30 ปี เพิ่มขึ้นเป็น 7 ลูก ในเวลา 30 ปี แต่ทั้งหมดนี้ยังไม่ได้ศึกษาในเชิงลึก เป็นแค่ข้อสังเกตเบื้องต้นที่ค่อนข้างมีอิทธิพลเท่านั้น จะต้องใช้เวลาวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงลึกมากยิ่งขึ้น
    ด้านนายสมชาย ใบม่วง ผู้อำนวยการสำนักพยากรณ์อากาศ กรมอุตุนิยม กล่าวว่า ฝนที่ตกช่วงนี้เป็นเพราะมวลเย็นเริ่มถอยออกไปแล้ว และอากาศร้อนชื้นจากทะเลจีนใต้พัดเข้ามาทำให้เกิดฝนตกขึ้นบ้าง รวมทั้งจะมีหมอกในตอนเช้า โดยเฉพาะพื้นที่ที่อยู่ใกล้ทะเล เช่น กทม.จันทบุรี จะมีโอกาสเกิดลักษณะแบบนี้ต่อไปอีกสัก 3-4 วัน ส่วนการคาดหมายลักษณะอากาศช่วงฤดูร้อนของประเทศไทย ระหว่างเดือนมีนาคมถึงกลางเดือนพฤษภาคมนี้ พบว่า ช่วงต้นเดือนมีนาคม ความกดอากาศสูงจากจีนยังคงแผ่ปกคลุมประเทศไทยตอนบนในช่วงสั้นๆ ทำให้บริเวณดังกล่าวยังมีอากาศหนาวเย็นในตอนเช้า โดยเฉพาะภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากนั้นจะมีหย่อมความกดอากาศต่ำเนื่องจากความร้อนปกคลุมประเทศตอนบน ทำให้มีอากาศร้อนเกือบทั่วประเทศกับร้อนจัดในบางพื้นที่ โดยเฉพาะภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคกลาง แต่ระยะปลายเดือนเมษายน-พฤษภาคม ลักษณะอากาศจะแปรปรวนและมีฝนตกต่อเนื่อง
    อย่างไรก็ตาม ภาพรวมคาดว่าอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยปีนี้จะต่ำกว่าค่าปกติเล็กน้อยทุกภาค แต่ปริมาณฝนที่ตกในช่วงร้อนจะสูงกว่าค่าปกติ “ขณะนี้ทั่วโลกโดยเฉพาะอเมริกา จีน รวมทั้งเวียดนาม เจอสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนหนักมาก โดยเฉพาะเวียดนามที่มีหิมะตก ส่วนของไทยได้รับผลกระทบเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ไม่มีโอกาสเกิดหิมะ ได้มากสุดเป็นแค่แม่คะนิ้ง แต่ก็ทำให้ปีนี้อากาศหนาวเย็นกว่าหลายปีที่ผ่านมา และหนาวยาวมาจน ถึงกลางเดือนมีนาคม โดยเฉพาะภาคอีสานและภาคเหนือ ซึ่งอาจเป็นสัญญาณหนึ่งที่แสดงว่าสภาวะโลกร้อนกระทบต่อภูมิอากาศรวมของทั้งโลกขึ้นแล้ว คาดการณ์ว่าปีนี้ไทยจะไม่ร้อนจัดมาก เหมือนปีที่แล้วที่เกิน 40 องศาเซลเซียส แต่ปีนี้คาดว่าอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งประเทศราว 35-37 องศาเซลเซียส" นายสมชาย กล่าว
    (คอลัมน์:ภูมิภาค)
    </TD><TD width=18 rowSpan=3> </TD></TR><TR><TD align=right>คม-ชัด-ลึก [​IMG] </TD></TR><TR><TD align=right>11 มี.ค. 2551 <!--58.137.128.179--> </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ร้อนอีกแค่ "6 องศา" โลกาก็จะวินาศ</TD><TD vAlign=baseline align=right width=85>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>13 มีนาคม 2551 01:10 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>หลายคนอาจจินตนาการไม่ออกว่าหากโลกของเรามีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาเรื่อยไปจนถึง 6 องศาเซลเซียสจะมีโฉมหน้าเป็นอย่างไร
     
  20. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD colSpan=3>
    • ยูเอ็นเตือนธารน้ำแข็งละลายเร็วน่าวิตก [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD colSpan=3><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="8%"> </TD><TD width="92%">โดย สำนักข่าวไทย [ 16-03-2551 | 14:33:51 น. ]</TD></TR><TR><TD> </TD><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top> </TD><TD vAlign=top colSpan=2><TABLE borderColor=#666666 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="2%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="93%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="7%"> </TD><TD width="93%">ซูริค 16 มี.ค. - ผลการศึกษาโดยสหประชาชาติ (ยูเอ็น) ระบุ ธารน้ำแข็งทั่วโลก กำลังละลายเร็วอย่างน่าวิตก พร้อมเรียกร้องนานาชาติหามาตรการยับยั้ง การละลายโดยด่วน
    ผลการศึกษาโดยสำนักงานติดตามธารน้ำแข็งโลก (ดับเบิลยูจีเอ็มเอส) ซึ่งสนับสนุนโดยโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (ยูเอ็นอีพี) ระบุว่า จากการสำรวจธารน้ำแข็งกว่า 30 แห่งระหว่างปี 2547-48 และ2548-46 พบว่า อัตราการละลายของธารน้ำแข็งโดยเฉลี่ยสูงขึ้นมากกว่า 2 เท่าจากสถิติประวัติการณ์ในรอบหลายสิบปีเมื่อปี 2541
    ผลสำรวจระบุว่า การละลายของธารน้ำแข็งหลายแห่งเริ่มน่าวิตก โดยเฉพาะธารน้ำแข็ง ที่นอร์เวย์ซึ่งละลายไปถึง 3.1 เมตรในปี 2549 เทียบกับที่วัดได้ 0.3 เมตรเมื่อปี 2548 ขณะเดียวกันก็พบธารน้ำแข็งในทวีปยุโรปหลายประเทศที่เริ่มละลายเร็ว อย่างเห็นได้ชัด ทั้งในออสเตรีย ฝรั่งเศส อิตาลี สเปน สวีเดน และสวิตเซอร์แลนด์ อย่างไรก็ดี พบด้วยว่าธารน้ำแข็งร้อยละ 4 ก่อตัวหนาขึ้น
    อีกด้านหนึ่ง นายอาชิม สไตเนอร์ ผู้อำนวยการยูเอ็นอีพีระบุว่า ธารน้ำแข็ง เป็นแหล่งกักเก็บน้ำตามธรรมชาติ ที่มีความสำคัญต่อประชาชนหลายล้านคนทั่วโลก จึงเรียกร้องให้นานาประเทศ หามาตรการลดกาซเรือนกระจกจากเชื้อเพลิงปิโตรเลียม ซึ่งกำลังส่งผลกระทบต่อสภาพอากาศโดยด่วน ก่อนจะสายเกินไป.
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD width="1%"> </TD><TD colSpan=2>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...