วิเคราะห์ เด็กเนปาล นั่งสมาธินานหลายเดือน

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย รักไร้พ่าย, 19 กันยายน 2008.

  1. รักไร้พ่าย

    รักไร้พ่าย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    886
    ค่าพลัง:
    +2,861
    [​IMG]


    นาย ราม พรมจัน เด็กหนุ่มวัย 16 ปี ได้นั่งสมาธิติดต่อกันใต้ต้นโพธิ์
    ไม่กินข้าวกินน้ำนานหลายเดือน ที่เป็นข่าวดังไปทั่วโลก

    มีบางคนบอกว่า เด็กหนุ่มคนนี้ เป็นพระพุทธเจ้าองค์ใหม่
    ซึ่งย่อมไม่ใช่แน่นอน

    ประเด็นอยู่ที่ว่า เด็กหนุ่มคนนี้เขามีปณิธานอะไร
    เห็นเขาบอกว่าจะฝึกอีก 6 ปี

    และเขาฝึกสมาธิได้ถึง ฌาณ 4 แล้วหรือยัง
    หรือเป็นเพียงอุปาจารสมาธิ
    หากเขาบรรลุแล้ว เขาจะมาเทศนาสั่งสอนสัจธรรมให้แก่ผู้คน
    หรือออกธุดงค์อยู่ป่าตามลำพัง

    แล้วเขานับถือพระพุทธ พราหมณ์ หรือลัทธิอื่น

    คนส่วนใหญ่มักตื่นข่าวนี้เพราะมองเป็นปาฏิหารย์เกี่ยวกับการอดข้าว
    อดน้ำได้ ซึ่งต่างจากคนธรรมดา
    แต่คนที่ศึกษาทางธรรมจะมองที่ปณิธานของเขาและกรรมฐานใดที่เขาฝึกมากกว่า
     
  2. zcracher

    zcracher เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    188
    ค่าพลัง:
    +267
    แต่ผมกลับมองว่าเขาคือบุคคลคนนั้น
     
  3. หล่อลากดิน

    หล่อลากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    1,201
    ค่าพลัง:
    +235
    บางทีในสังคมโลกที่วุ่นวายนี่ก็ช่างน่าเบื่อเหมือนกันนะ
    ฉันอยากจะอยู่ของฉันเงียบๆอยู่อย่างสันโดษเดียวดาย
    ก็ไม่วายจะต้องตกเป็นขี้ปากชาวบ้านให้เขาสงกาสัยไป
    ฉันจะเป็นใครก็เรื่องของฉันก็ไม่อยากกินก็แค่นั้นเองจ่ะ
     
  4. karain

    karain เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    638
    ค่าพลัง:
    +707
    ลามะที่ดังๆแต่ก่อนอ่ะหรอครับ

    สู้ๆ
     
  5. วิญญาณนิพพาน

    วิญญาณนิพพาน ทีมงานอาสาฯ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2008
    โพสต์:
    22,646
    กระทู้เรื่องเด่น:
    51
    ค่าพลัง:
    +21,019
    การนั่งสมาธิเเล้วเเผ่เมตตาให้เพื่อนร่วมโลกเป็นสิ่งที่ดีครับ
     
  6. jaroen

    jaroen Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    25
    ค่าพลัง:
    +43
    เขาได้ค้นพบเจอทางที่เขาจักจะก้าวเดินไปแล้ว
    ขออนุโมทนา ให้ท่านได้พบจุดหมายในเร็ววัน

    ******************************

    ไม่มีเขา ไม่มีเรา ไม่มีอะไรเลย
     
  7. cpari

    cpari เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    154
    ค่าพลัง:
    +184
    อย่าลืมว่าทุกอย่างไม่เที่ยง อาจพบแล้ว หรืออาจท่องเที่ยวไปตามจิต หากมั่นคงก็จะพบ ถ้าพบก็ขออนุโมทนา สาธุ ด้วยครับ
     
  8. รักไร้พ่าย

    รักไร้พ่าย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    886
    ค่าพลัง:
    +2,861
    คิดเล่นๆ ว่าหาก เด็กเนปาลท่านนี้ มาเกิดที่เมืองไทย และมาทำแบบนี้ที่เมืองไทย
    จะเกิดไรขึ้น
     
  9. บัวเกี๋ยง

    บัวเกี๋ยง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มกราคม 2008
    โพสต์:
    549
    ค่าพลัง:
    +431
    ดีครับเขาไม่สร้างความเดือดร้อนให้ใคร
     
  10. ณ.วชิรา

    ณ.วชิรา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    256
    ค่าพลัง:
    +422
    เขาได้ทำในสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับเขา และอาจหมายถึงการทำความดีอย่างยิ่งแก่บุคคลอื่น

    ใครเลยจะทรมานตนเพื่อผู้อื่น.....ได้มากมาย

    อย่างไรก็ตาม สิ่งที่เขาทำ จะเป็นการบ่มเพาะเมล็ดพันธุ์แห่งพุทธะในจิตใจของเขา หากเขาประกอบด้วยอริยะสัจจ์ และมรรคมีองค์ 8 เขาจะสำเร็จในสิ่งที่เขาปรารถนา

    ว่าแต่ แล้วตอนนี้ข้าพเจ้าทำอะไรอยู่ แม้เศษเสี้ยวของลามะผู้นี้ ข้าพเจ้ายังไม่สามารถทำได้เลย

    สาธุ อนุโมทนาด้วยนะ ลามะน้อย
     
  11. mainoi

    mainoi เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    732
    ค่าพลัง:
    +133
    ทำอะไรก็ทำเถอะแต่ให้เป็นกรรมดีแล้วจ้า สาธุ สาธุ สาธุ
     
  12. rwoot

    rwoot เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    336
    ค่าพลัง:
    +191
    กายที่เห็นหน่ะใช่มนุษย์...แต่ห้วงคิดสูงส่งเกินคนธรรมดาจะเข้าใจ... www.rwoot.igetweb.com www.rwoot.multiply.com ขอบคุณครับ...
     
  13. มุ่งเต็มใจ

    มุ่งเต็มใจ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    7,755
    ค่าพลัง:
    +23,468
    สาธุ ;aa22 ;aa21
     
  14. Tom-Sung

    Tom-Sung สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    10
    ค่าพลัง:
    +0
    ความคิดของผมเห็นว่า การนั่งสมาธิ เป็นการปฏิบัติสายกลาง
    ทุกศาสนาสามารถปฏิบัติได้ นรกสวรรค์ เป็นของส่วนกลาง ไม่ได้เป็นของศาสนาใดศาสนาหนึ่ง แต่เป็นสิ่งที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าค้นพบ
    การที่จะพยากรณ์ว่าเด็กคนนี้เป็นพระพุทธเจ้าองค์ใหม่นั้น ก็แล้วแต่ว่ามีเชื้อพระพุทธภูมิหรือเปล่า คือ เคยปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้าหรือไม่นั้นเอง และคงต้องบำเพ็ญจนบารมีเต็ม แต่ไม่ใช่องค์ต่อไปแน่นอน ซึ่งการนั่งอย่างเดียวไม่สามารถบรรลุได้ ตั้งตัดกิเลสด้วย
    จากกรณีนี้ ถ้าอิงวิทยาศาสตร์ การเข้าฌาน 4 แค่นี้ระบบในร่างกายจะค่อยๆทำงานแล้ว
    ทำงานช้าลง สังเกตผู้ที่เข้าฌาณ4 จะไม่รู้สึกว่าตัวเองหายใจ เป็นต้น ระบบอื่นๆก็เช่นกัน
    หัวใจก็จะทำงานช้าลง ระบบย่อยอาหารก็จะช้าลงนั้นเอง จึงอยู่ได้นานโดยไม่หิว
    นอกเหนือจากนี้ ข้าพเจ้าไม่ขอแสดงความคิดเห็น อาจจะมีปัจจัยอย่างอื่นก็เป็นได้
     
  15. ปกาสัย

    ปกาสัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +257
    เคยดูจากในรายการเรื่องจริงผ่านจอตอนที่ลามะหนุ่มท่านนั้นออกมาต้อนรับ และเจิมศรีษะให้พรกลุ่มประชาชน ดูใบหน้าลามะมีรอยยิ้มมากมายจนต้องเม้มปากไว้ มีความเบิกบานมากกว่าที่เห็นในหลายๆ ตอน หลังจากเก็บตัวมานานเป็นปี จิตคงตกกระแสก้าวเข้าสู่อณาเขตของพระอริยเจ้าแล้วละครับ ซึ่งเมื่อเข้ากระแส ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จะแสดงออกมา...แต่ไม่รู้ว่าระดับไหนต้องฟังธรรมจึงพอจะคาดการได้

    ขออนุโมทนา สาธุ...
     
  16. ธัมมนัตา

    ธัมมนัตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    1,514
    ค่าพลัง:
    +9,766
    หากไม่ได้กำหนดรู้ ก็ยังเป็นเพียงปุถุชน

    การจะบรรลุธรรมได้นั้น ไม่เพียงแต่มีสมาธิเท่านั้นแต่ต้องมีปัญญาเข้าประกอบด้วยจึงจะสามารถ พิจารณา รูปนาม ได้อย่างถ่องแท้ ละสังโยชน์ได้

    หากไม่ได้มีปัญญากำนดรู้ ก็จะติดสงบอยู่ในฌาณนั้น หากออกจากฌาณสมาธิกิเลสก็อาจก่อตัวอีก

    พูดง่ายๆ คือกำหนดรู้รูปนามขณะปัจจุบันนั้นแล้วละตัวตนเสียได้ก็จะบรรลุธรรม


    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนในโลกนี้
    ไม่ได้สดับ ไม่ได้เห็นพระอริยะ ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยะ ไม่ได้รับแนะนำในธรรมของ พระอริยะ ไม่ได้เห็นสัตบุรุษ ไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ได้รับแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ ย่อมรู้ธาตุดินโดยความเป็นธาตุดิน ครั้นรู้ธาตุดินโดยความเป็นธาตุดินแล้ว ย่อมสำคัญธาตุดิน<O:p</O:p
    ย่อมสำคัญในธาตุดิน ย่อมสำคัญโดยความเป็นธาตุดิน ย่อมสำคัญธาตุดินว่า ของเรา ย่อมยินดี ธาตุดิน ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้ธาตุน้ำโดยความเป็นธาตุน้ำ ครั้นรู้ธาตุน้ำโดยความเป็นธาตุน้ำแล้ว ย่อมสำคัญ<O:p</O:p
    ธาตุน้ำ ย่อมสำคัญในธาตุน้ำ ย่อมสำคัญโดยความเป็นธาตุน้ำ ย่อมสำคัญธาตุน้ำว่า ของเรา<O:p</O:p
    ย่อมยินดีธาตุน้ำ ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้ธาตุไฟโดยความเป็นธาตุไฟ ครั้นรู้ธาตุไฟโดยความเป็นธาตุไฟแล้ว ย่อมสำคัญ<O:p</O:p
    ธาตุไฟ ย่อมสำคัญในธาตุไฟ ย่อมสำคัญโดยความเป็นธาตุไฟ ย่อมสำคัญธาตุไฟว่า ของเรา<O:p</O:p
    ย่อมยินดีธาตุไฟ ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้ธาตุลมโดยความเป็นธาตุลม ครั้นรู้ธาตุลมโดยความเป็นธาตุลมแล้ว ย่อมสำคัญ<O:p</O:p
    ธาตุลม ย่อมสำคัญในธาตุลม ย่อมสำคัญโดยความเป็นธาตุลม ย่อมสำคัญธาตุลมว่า ของเรา<O:p</O:p
    ย่อมยินดีธาตุลม ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้สัตว์โดยความเป็นสัตว์ ครั้นรู้สัตว์โดยความเป็นสัตว์แล้ว ย่อมสำคัญสัตว์<O:p</O:p
    ย่อมสำคัญในสัตว์ ย่อมสำคัญโดยความเป็นสัตว์ ย่อมสำคัญสัตว์ว่า ของเรา ย่อมยินดีสัตว์<O:p</O:p
    ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่าเพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้เทวดาโดยความเป็นเทวดา ครั้นรู้เทวดาโดยความเป็นเทวดาแล้ว ย่อมสำคัญเทวดา<O:p</O:p
    ย่อมสำคัญในเทวดา ย่อมสำคัญโดยความเป็นเทวดา ย่อมสำคัญเทวดาว่าของเรา ย่อมยินดีเทวดา<O:p</O:p
    ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้มารโดยความเป็นมาร ครั้นรู้มารโดยความเป็นมารแล้ว ย่อมสำคัญมาร ย่อมสำคัญ<O:p</O:p
    ในมาร ย่อมสำคัญโดยความเป็นมาร ย่อมสำคัญมารว่า ของเรา ย่อมยินดีมาร ข้อนั้นเพราะ<O:p</O:p
    เหตุอะไร เรากล่าวว่าเพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้..<O:p</O:p
    ย่อมรู้พรหมโดยความเป็นพรหม ครั้นรู้พรหมโดยความเป็นพรหมแล้ว ย่อมสำคัญพรหม<O:p</O:p
    ย่อมสำคัญในพรหม ย่อมสำคัญโดยความเป็นพรหม ย่อมสำคัญพรหมว่า ของเรา ย่อมยินดีพรหม<O:p</O:p
    ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้อาภัสสรพรหมโดยความเป็นอาภัสสรพรหม ครั้นรู้อาภัสสรพรหมโดยความเป็น<O:p</O:p
    อาภัสสรพรหมแล้ว ย่อมสำคัญอาภัสสรพรหม ย่อมสำคัญในอาภัสสรพรหม ย่อมสำคัญโดย<O:p</O:p
    ความเป็นอาภัสสรพรหม ย่อมสำคัญอาภัสสรพรหมว่า ของเรา ย่อมยินดีอาภัสสรพรหม ข้อนั้น<O:p</O:p
    เพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้สุภกิณหพรหมโดยความเป็นสุภกิณหพรหม ครั้นรู้สุภกิณหพรหมโดยความเป็น<O:p</O:p
    สุภกิณหพรหมแล้ว ย่อมสำคัญสุภกิณหพรหม ย่อมสำคัญในสุภกิณหพรหม ย่อมสำคัญโดยความ<O:p</O:p
    เป็นสุภกิณหพรหม ย่อมสำคัญสุภกิณหพรหมว่า ของเรา ย่อมยินดีสุภกิณหพรหม ข้อนั้นเพราะ<O:p
    เหตุอะไร เรากล่าวว่า เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p
    ย่อมรู้เวหัปผลพรหมโดยความเป็นเวหัปผลพรหม ครั้นรู้เวหัปผลพรหมโดยความเป็น<O:pเวหัปผลพรหมแล้ว ย่อมสำคัญเวหัปผลพรหม ย่อมสำคัญในเวหัปผลพรหม ย่อมสำคัญโดยความ<O:p</O:p
    เป็นเวหัปผลพรหม ย่อมสำคัญเวหัปผลพรหมว่า ของเรา ย่อมยินดีเวหัปผลพรหม ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้อสัญญีสัตว์โดยความเป็นอสัญญีสัตว์ ครั้นรู้อสัญญีสัตว์โดยความเป็นอสัญญี<O:p</O:p
    สัตว์แล้ว ย่อมสำคัญอสัญญีสัตว์ ย่อมสำคัญในอสัญญีสัตว์ ย่อมสำคัญโดยความเป็นอสัญญีสัตว์<O:p</O:p
    ย่อมสำคัญอสัญญีสัตว์ว่า ของเรา ย่อมยินดีอสัญญีสัตว์ ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า<O:p</O:p
    เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้อากาสานัญจายตนพรหมโดยความเป็นอากาสานัญจายตนพรหม ครั้นรู้อากาสานัญ<O:p</O:p
    จายตนพรหมโดยความเป็นอากาสานัญจายตนพรหมแล้ว ย่อมสำคัญอากาสานัญจายตนพรหม ย่อม<O:p</O:p
    สำคัญในอากาสานัญจายตนพรหม ย่อมสำคัญโดยความเป็นอากาสานัญจายตนพรหม ย่อมสำคัญ<O:p</O:p
    อากาสานัญจายตนพรหมว่า ของเรา ย่อมยินดีอากาสานัญจายตนพรหม ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร<O:p</O:p
    เรากล่าวว่า เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้วิญญาณัญจายตนพรหมโดยความเป็นวิญญาณัญจายตนพรหม ครั้นรู้วิญญาณัญจาย-ตนพรหมโดยความเป็นวิญญาณัญจายตนพรหมแล้ว ย่อมสำคัญวิญญาณัญจายตนพรหม ย่อมสำคัญในวิญญาณัญจายตนพรหม ย่อมสำคัญโดยความเป็นวิญญาณัญจายตนพรหม ย่อมสำคัญวิญญาณัญจายตนพรหมว่า ของเรา ย่อมยินดีวิญญาณัญจายตนพรหม ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า<O:p</O:p
    เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้อากิญจัญญายตนพรหมโดยความเป็นอากิญจัญญายตนพรหม ครั้นรู้อากิญจัญญาย-<O:p</O:p
    *ตนพรหมโดยความเป็นอากิญจัญญายตนพรหมแล้ว ย่อมสำคัญอากิญจัญญายตนพรหม ย่อมสำคัญ<O:p</O:p
    ในอากิญจัญญายตนพรหม ย่อมสำคัญโดยความเป็นอากิญจัญญายตนพรหม ย่อมสำคัญ<O:p</O:p
    อากิญจัญญายตนพรหมว่า ของเรา ย่อมยินดีอากิญจัญญายตนพรหม ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร<O:p</O:p
    เรากล่าวว่า เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้เนวสัญญานาสัญญายตนพรหมโดยความเป็นเนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ครั้นรู้<O:p</O:p
    เนวสัญญานาสัญญายตนพรหมโดยความเป็นเนวสัญญานาสัญญายตนพรหมแล้ว ย่อมสำคัญเนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ย่อมสำคัญในเนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ย่อมสำคัญโดยความ<O:p</O:p
    เป็นเนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ย่อมสำคัญเนวสัญญานาสัญญายตนพรหมว่า ของเรา ย่อม<O:p</O:p
    ยินดีเนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่าเพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้. ย่อมรู้รูปที่ตนเห็นโดยความเป็นรูปที่เห็น ครั้นรู้รูปที่ตนเห็นโดยความเป็นรูปที่ตนเห็น<O:p</O:p
    แล้ว ย่อมสำคัญรูปที่ตนเห็น ย่อมสำคัญในรูปที่ตนเห็น ย่อมสำคัญโดยความเป็นรูปที่ตนเห็น<O:p</O:p
    ย่อมสำคัญรูปที่ตนเห็นว่า ของเรา ย่อมยินดีรูปที่ตนเห็น ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า<O:p</O:p
    เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้เสียงที่ตนฟังโดยความเป็นเสียงที่ตนฟัง ครั้นรู้เสียงที่ตนฟังโดยความเป็นเสียง<O:p</O:p
    ที่ตนฟังแล้ว ย่อมสำคัญเสียงที่ตนฟัง ย่อมสำคัญในเสียงที่ตนฟัง ย่อมสำคัญโดยความเป็นเสียง<O:p</O:p
    ที่ตนฟัง ย่อมสำคัญเสียงที่ตนฟังว่า ของเรา ย่อมยินดีเสียงที่ตนฟัง ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร<O:p</O:p
    เรากล่าวว่าเพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้..<O:p</O:p
    ย่อมรู้อารมณ์ที่ตนทราบโดยความเป็นอารมณ์ที่ตนทราบ ครั้นรู้อารมณ์ที่ตนทราบโดยความ<O:p</O:p
    เป็นอารมณ์ที่ตนทราบแล้ว ย่อมสำคัญอารมณ์ที่ตนทราบ ย่อมสำคัญในอารมณ์ที่ตนทราบ ย่อม<O:p</O:p
    สำคัญโดยความเป็นอารมณ์ที่ตนทราบ ย่อมสำคัญอารมณ์ที่ตนทราบว่า ของเรา ย่อมยินดีอารมณ์<O:p</O:p
    ที่ตนทราบ ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่าเพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้ธรรมารมณ์ที่ตนรู้แจ้งโดยความเป็นธรรมารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ครั้นรู้ธรรมารมณ์ที่ตน<O:p</O:p
    รู้แจ้งโดยความเป็นธรรมารมณ์ที่ตนรู้แจ้งแล้ว ย่อมสำคัญธรรมารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ย่อมสำคัญใน<O:p</O:p
    ธรรมารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ย่อมสำคัญโดยความเป็นธรรมารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ย่อมสำคัญธรรมารมณ์ที่ตน<O:p</O:p
    รู้แจ้งว่า ของเรา ย่อมยินดีธรรมารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า <O:p</O:p
    เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้ความที่สักกายะเป็นอันเดียวกันโดยความเป็นอันเดียวกัน ครั้นรู้สักกายะเป็น<O:p</O:p
    อันเดียวกันโดยความเป็นอันเดียวกันแล้ว ย่อมสำคัญความที่สักกายะเป็นอันเดียวกัน ย่อม<O:p</O:p
    *สำคัญในความที่สักกายะเป็นอันเดียวกัน ย่อมสำคัญโดยความที่สักกายะเป็นอันเดียวกัน ย่อมสำคัญความที่สักกายะเป็นอันเดียวกันว่า ของเรา ย่อมยินดีความที่สักกายะเป็นอันเดียวกัน ข้อนั้น<O:p</O:p
    เพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้ความที่สักกายะต่างกันโดยความเป็นของต่างกัน ครั้นรู้ความที่สักกายะต่างกันโดย<O:p</O:p
    ความเป็นของต่างกันแล้ว ย่อมสำคัญความที่สักกายะต่างกัน ย่อมสำคัญในความที่สักกายะต่างกัน<O:p</O:p
    ย่อมสำคัญโดยความที่สักกายะต่างกัน ย่อมสำคัญความที่สักกายะต่างกันว่า ของเรา ย่อมยินดี<O:p</O:p
    ความที่สักกายะต่างกัน ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้สักกายะทั้งปวงโดยความเป็นสักกายะทั้งปวง ครั้นรู้สักกายะทั้งปวง โดยความ<O:p</O:p
    เป็นสักกายะทั้งปวงแล้ว ย่อมสำคัญสักกายะทั้งปวง ย่อมสำคัญในสักกายะทั้งปวง ย่อมสำคัญ<O:p</O:p
    โดยความเป็นสักกายะทั้งปวง ย่อมสำคัญสักกายะทั้งปวงว่าของเรา ย่อมยินดีสักกายะทั้งปวง<O:p</O:p
    ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่าเพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระนิพพาน ครั้นรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระนิพพาน<O:p</O:p
    แล้ว ย่อมสำคัญพระนิพพาน ย่อมสำคัญในพระนิพพาน ย่อมสำคัญโดยความเป็นพระนิพพาน<O:p</O:p
    ย่อมสำคัญพระนิพพานว่า ของเรา ย่อมยินดีพระนิพพาน ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า<O:p</O:p
    เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้<O:p</O:p
    กำหนดภูมินัยที่ ๑ ด้วยสามารถปุถุชน.
    กำหนดภูมินัยที่ ๒ ด้วยสามารถเสขบุคคล<O:p</O:p
    [๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ภิกษุใดเป็นเสขบุคคล ยังไม่บรรลุพระอรหัตผล เมื่อ<O:p></O:p
    ปรารถนาธรรมเป็นแดนเกษมจากโยคะซึ่งไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าอยู่ แม้ภิกษุนั้นรู้ธาตุดินโดยความ<O:p</O:p
    เป็นธาตุดิน ครั้นรู้ธาตุดินโดยความเป็นธาตุดินแล้ว อย่าสำคัญธาตุดิน อย่าสำคัญในธาตุดิน<O:p</O:p
    อย่าสำคัญโดยความเป็นธาตุดิน อย่าสำคัญธาตุดินว่า ของเรา อย่ายินดีธาตุดิน ข้อนั้นเพราะเหตุ<O:p</O:p
    อะไร เรากล่าวว่า เพราะเขาควรกำหนดรู้.<O:p</O:p
    ย่อมรู้ธาตุน้ำ ... ธาตุไฟ ... ธาตุลม ... สัตว์ ... เทวดา ... มาร ... พรหม ... อาภัสสรพรหม ...<O:p</O:p
    สุภกิณพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อสัญญีสัตว์ ... อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตนพรหม ... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่ตนฟัง ... อารมณ์ที่ตนทราบ... วิญญาณ ที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่สักกายะเป็นอันเดียวกัน ... ความที่สักกายะต่างกัน ... สักกายะทั้งปวง ...<O:p</O:p
    ย่อมรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระนิพพาน ครั้นรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระนิพพาน<O:p</O:p
    แล้ว อย่าสำคัญพระนิพพาน อย่าสำคัญในพระนิพพาน อย่าสำคัญโดยความเป็นพระนิพพาน<O:p</O:p
    อย่าสำคัญพระนิพพานว่า ของเรา อย่ายินดีพระนิพพาน ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า<O:p</O:p
    เพราะเขาควรกำหนดรู้.<O:p</O:p
    กำหนดภูมินัยที่ ๒ ด้วยสามารถเสขบุคคล.<O:p</O:p
    กำหนดภูมินัยที่ ๓ ด้วยสามารถพระขีณาสพ<O:p</O:p
    [๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ภิกษุใด เป็นพระอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์<O:p</O:p
    เสร็จกิจแล้ว ปลงภาระเสียแล้ว บรรลุถึงประโยชน์ตนแล้ว สิ้นกิเลส เครื่องประกอบสัตว์<O:p</O:p
    ไว้ในภพแล้ว หลุดพ้นด้วยปัญญาอันชอบแล้ว แม้ภิกษุนั้นรู้ธาตุดินโดยความเป็นธาตุดิน ครั้นรู้ธาตุดินโดยความเป็นธาตุดินแล้ว ย่อมไม่สำคัญธาตุดิน ไม่สำคัญในธาตุดิน ไม่สำคัญโดยความ<O:p</O:p
    เป็นธาตุดิน ไม่สำคัญธาตุดินว่าของเรา ไม่ยินดีธาตุดิน ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า<O:p</O:p
    เพราะเธอกำหนดรู้แล้ว.<O:p</O:p
    ย่อมรู้ธาตุน้ำ ... ธาตุไฟ ... ธาตุลม ... สัตว์ ... เทวดา ... มาร ... พรหม ... อาภัสสรพรห<O:p</O:p
    ... สุภกิณพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อสัญญีสัตว์ ... อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตน-<O:p</O:p
    *พรหม ... อากิญจัญญายตนพรหม ... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่ตนฟัง ...อารมณ์ที่ตนทราบ ... วิญญาณที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่สักกายะเป็นอันเดียวกัน ... ความที่สักกายะต่างกัน ... สักกายะทั้งปวง ...<O:p></O:p
    ย่อมรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระนิพพาน ครั้นรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระนิพพาน<O:p</O:p
    แล้ว ย่อมไม่สำคัญพระนิพพาน ย่อมไม่สำคัญในพระนิพพาน ย่อมไม่สำคัญโดยความเป็น<O:p</O:p
    พระนิพพาน ย่อมไม่สำคัญพระนิพพานว่า ของเรา ย่อมไม่ยินดีพระนิพพาน ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร<O:p</O:p
    เรากล่าวว่า เพราะเธอกำหนดรู้แล้ว.<O:p</O:p
    กำหนดภูมินัยที่ ๓ ด้วยสามารถพระขีณาสพ.<O:p</O:p
    กำหนดภูมินัยที่ ๔ ด้วยสามารถพระขีณาสพ<O:p</O:p
    [๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ภิกษุนั้นใด เป็นพระอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์ เสร็จ<O:p</O:p
    กิจแล้ว ปลงภาระแล้ว บรรลุถึงประโยชน์ตนแล้ว สิ้นกิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพแล้ว<O:p</O:p
    พ้นด้วยปัญญาอันชอบแล้ว แม้ภิกษุนั้นรู้ธาตุดินโดยความเป็นธาตุดิน ครั้นรู้ธาตุดินโดยความ<O:p</O:p
    เป็นธาตุดินแล้ว ย่อมไม่สำคัญธาตุดิน ย่อมไม่สำคัญในธาตุดิน ย่อมไม่สำคัญโดยความเป็นธาตุดิน<O:p</O:p
    ย่อมไม่สำคัญธาตุดินว่าของเรา ย่อมไม่ยินดีธาตุดิน ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า เพราะ<O:p</O:p
    ปราศจากราคะ เหตุราคะสิ้นไป.<O:p</O:p
    ย่อมรู้ธาตุน้ำ ... ธาตุไฟ ... ธาตุลม ... สัตว์ ... เทวดา ... มาร ... พรหม ... อาภัสสรพรหม ...<O:p</O:p
    สุภกิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อสัญญีสัตว์ ... อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตนพรหม ... อากิญจัญญายตนพรหม ... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่<O:p</O:p
    ตนฟัง ... อารมณ์ที่ตนทราบ ... วิญญาณที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่สักกายะเป็นอันเดียวกัน ... ความที่<O:p</O:p
    สักกายะต่างกัน ... สักกายะทั้งปวง ...<O:p</O:p
    ย่อมรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระนิพพาน ครั้นรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระนิพพาน<O:p</O:p
    แล้ว ย่อมไม่สำคัญพระนิพพาน ย่อมไม่สำคัญในพระนิพพาน ย่อมไม่สำคัญโดยความเป็น<O:p</O:p
    พระนิพพาน ย่อมไม่สำคัญพระนิพพานว่า ของเรา ย่อมไม่ยินดีพระนิพพาน ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร<O:p</O:p
    เพราะปราศจากราคะ เหตุราคะสิ้นไป.<O:p</O:p
    กำหนดภูมินัยที่ ๔ ด้วยสามารถพระขีณาสพ.<O:p</O:p
    กำหนดภูมินัยที่ ๕ ด้วยสามารถพระขีณาสพ<O:p</O:p
    [๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ภิกษุนั้นใด เป็นพระอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์<O:p</O:p
    เสร็จกิจแล้ว ปลงภาระเสียแล้ว บรรลุถึงประโยชน์ตนแล้ว สิ้นกิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ใน<O:p</O:p
    ภพแล้ว พ้นด้วยปัญญาอันชอบแล้ว แม้ภิกษุนั้นย่อมรู้ยิ่งธาตุดินโดยความเป็นธาตุดิน ครั้นรู้<O:p</O:p
    ธาตุดินโดยความเป็นธาตุดินแล้ว ย่อมไม่สำคัญธาตุดิน ย่อมไม่สำคัญในธาตุดิน ย่อมไม่สำคัญ<O:p</O:p
    โดยความเป็นธาตุดิน ย่อมไม่สำคัญธาตุดินว่า ของเรา ย่อมไม่ยินดีธาตุดิน ข้อนั้นเพราะเหตุ<O:p</O:p
    อะไร เพราะปราศจากโทสะ เหตุโทสะสิ้นไป.<O:p</O:p
    ย่อมรู้ธาตุน้ำ ... ธาตุไฟ ... ธาตุลม ... สัตว์ ... เทวดา ... มาร ... พรหม ... อาภัสสร<O:p</O:p
    พรหม ... สุภกิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อสัญญีสัตว์ ... อากาสานัญจายตนพรหม ...<O:p</O:p
    วิญญาณัญจายตนพรหม ... อากิญจัญญายตนพรหม ... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตน<O:p</O:p
    เห็น ... เสียงที่ตนฟัง ... อารมณ์ที่ตนทราบ ... วิญญาณที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่สักกายะเป็น<O:p</O:p
    อันเดียวกัน ... ความที่สักกายะต่างกัน ... สักกายะทั้งปวง ...<O:p</O:p
    ย่อมรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระนิพพาน ครั้นรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระนิพพาน<O:p</O:p
    แล้ว ย่อมไม่สำคัญพระนิพพาน ย่อมไม่สำคัญในพระนิพพาน ย่อมไม่สำคัญโดยความเป็น<O:p</O:p
    พระนิพพาน ย่อมไม่สำคัญพระนิพพานว่า ของเรา ย่อมไม่ยินดีพระนิพพาน ข้อนั้นเพราะเหตุ<O:p</O:p
    อะไร เพราะปราศจากโทสะ เหตุโทสะสิ้นไป.<O:p</O:p
    กำหนดภูมินัยที่ ๕ ด้วยสามารถพระขีณาสพ<O:p</O:p
    กำหนดภูมินัยที่ ๖ ด้วยสามารถพระขีณาสพ<O:p</O:p
    [๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ภิกษุนั้นใด เป็นพระอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์<O:p</O:p
    เสร็จกิจแล้ว ปลงภาระเสียแล้ว บรรลุถึงประโยชน์ตนแล้ว สิ้นกิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ใน<O:p</O:p
    ภพแล้ว หลุดพ้นด้วยปัญญาอันชอบแล้ว แม้ภิกษุนั้นย่อมรู้ธาตุดินโดยความเป็นธาตุดิน ครั้นรู้<O:p</O:p
    ธาตุดินโดยความเป็นธาตุดินแล้ว ย่อมไม่สำคัญธาตุดิน ย่อมไม่สำคัญในธาตุดิน ย่อมไม่สำคัญ<O:p</O:p
    โดยความเป็นธาตุดิน ย่อมไม่สำคัญธาตุดินว่า ของเรา ย่อมไม่ยินดีธาตุดิน ข้อนั้นเพราะเหตุ<O:p</O:p
    อะไร เพราะปราศจากโมหะ เหตุโมหะสิ้นไป.<O:p</O:p
    ย่อมรู้ธาตุน้ำ ... ธาตุไฟ ... ธาตุลม ... สัตว์ ... เทวดา ... มาร ... พรหม ... อาภัสสร-<O:p></O:p>
    *พรหม ... สุภกิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อสัญญีสัตว์ ... อากาสานัญจายตนพรหม ...<O:p></O:p>
    วิญญาณัญจายตนพรหม ... อากิญจัญญายตนพรหม ... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่<O:p</O:p
    ตนเห็น ... เสียงที่ตนฟัง ... อารมณ์ที่ตนทราบ ... วิญญาณที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่สักกายะเป็น<O:p</O:p
    อันเดียวกัน ... ความที่สักกายะต่างกัน ... สักกายะทั้งปวง ...<O:p</O:p
    ย่อมรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระนิพพาน ครั้นรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระ<O:p</O:p
    *นิพพานแล้ว ย่อมไม่สำคัญพระนิพพาน ย่อมไม่สำคัญในพระนิพพาน ย่อมไม่สำคัญโดยความ<O:p</O:p
    เป็นพระนิพพาน ย่อมไม่สำคัญพระนิพพานว่า ของเรา ย่อมไม่ยินดีพระนิพพาน ข้อนั้นเพราะ<O:p</O:p
    เหตุอะไร เพราะปราศจากโมหะ เหตุโมหะสิ้นไป.<O:p</O:p
    กำหนดภูมินัยที่ ๖ ด้วยสามารถพระขีณาสพ.<O:p</O:p
    กำหนดภูมินัยที่ ๗ ด้วยสามารถพระศาสดา<O:p</O:p
    [๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้พระตภาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงรู้ธาตุดินโดยความ<O:p</O:p
    เป็นธาตุดินจริง ครั้นทรงรู้ยิ่งธาตุดินโดยความเป็นธาตุดินจริงแล้ว ย่อมไม่ทรงสำคัญธาตุดิน<O:p</O:p
    ย่อมไม่ทรงสำคัญในธาตุดิน ย่อมไม่ทรงสำคัญโดยความเป็นธาตุดิน ย่อมไม่ทรงสำคัญธาตุดินว่า<O:p</O:p
    ของเรา ย่อมไม่ทรงยินดีธาตุดิน ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า เพราะธาตุดินนั้นพระตถาคตกำหนดรู้แล้ว.<O:p</O:p
    ย่อมทรงรู้ธาตุน้ำ ... ธาตุไฟ ... ธาตุลม ... สัตว์ ... เทวดา ... มาร ... พรหม ...<O:p></O:p>
    อาภัสสรพรหม ... สุภกิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อสัญญีสัตว์ ... อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตนพรหม ... อากิญจัญญายตนพรหม ... เนวสัญญานาสัญญาตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่ตนฟัง ... อารมณ์ที่ตนทราบ ... วิญญาณที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่สักกายะเป็น<O:p</O:p
    อันเดียวกัน ... ความที่สักกายะต่างกัน ... สักกายะทั้งปวง ...<O:p</O:p
    ทรงรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระนิพพาน ครั้นทรงรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระ<O:p</O:p
    นิพพานแล้ว ย่อมไม่ทรงสำคัญพระนิพพาน ย่อมไม่ทรงสำคัญในพระนิพพาน ย่อมไม่ทรง<O:p</O:p
    สำคัญโดยความเป็นพระนิพพาน ย่อมไม่ทรงสำคัญพระนิพพานว่า ของเราย่อมไม่ทรงยินดี<O:p</O:p
    พระนิพพาน ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่าเพราะพระนิพพานนั้นพระตถาคตทรงกำหนดรู้แล้ว.<O:p</O:p
    กำหนดภูมินัยที่ ๗ ด้วยสามารถพระศาสดา.<O:p</O:p
    กำหนดภูมินัยที่ ๘ ด้วยสามารถพระศาสดา<O:p</O:p
    [๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงรู้ธาตุดินโดยความ<O:p</O:p
    เป็นธาตุดินจริง ครั้นทรงรู้ธาตุดินโดยความเป็นธาตุดินจริงแล้วย่อมไม่ทรงสำคัญธาตุดิน ย่อมไม่<O:p</O:p
    ทรงสำคัญในธาตุดิน ย่อมไม่ทรงสำคัญโดยความเป็นธาตุดิน ย่อมไม่ทรงสำคัญธาตุดินว่า ของเรา<O:p</O:p
    ย่อมไม่ทรงยินดีธาตุดิน ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร? เรากล่าวว่า เพราะทรงทราบว่า ความเพลิดเพลิน<O:p</O:p
    เป็นมูลแห่งทุกข์ เพราะภพจึงมีชาติ สัตว์ผู้เกิดแล้ว ต้องแก่ ต้องตาย เพราะเหตุนั้นแล ภิกษุ<O:p</O:p
    ทั้งหลายเราจึงกล่าวว่า พระตถาคตตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เพราะสิ้นตัณหา สำรอกตัณหา<O:p</O:p
    ดับตัณหา สละตัณหา สละคืนตัณหาเสียได้ โดยประการทั้งปวง<O:p</O:p
    ย่อมทรงรู้ยิ่งธาตุน้ำ ... ธาตุไฟ ... ธาตุลม ... สัตว์ ... เทวดา ... มาร ... พรหม ...<O:p</O:p
    อาภัสสรพรหม ... สุภกิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อสัญญีสัตว์ ... อากาสานัญจายตนพรหม ...<O:p</O:p
    วิญญาณัญจายตนพรหม ... อากิญจัญญายตนพรหม ... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตน<O:p</O:p
    เห็น ... เสียงที่ตนฟัง ... อารมณ์ที่ตนทราบ ... วิญญาณที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่สักกายะเป็นอันเดียว<O:p</O:p
    กัน ... ความที่สักกายะต่างกัน ... สักกายะทั้งปวง ...<O:p</O:p
    ทรงรู้ยิ่งพระนิพพานโดยความเป็นพระนิพพาน ครั้นทรงรู้พระนิพพานโดยความเป็นพระ<O:p</O:p
    นิพพานแล้ว ย่อมไม่ทรงสำคัญพระนิพพาน ย่อมไม่ทรงสำคัญในพระนิพพาน ย่อมไม่ทรงสำคัญ<O:p</O:p
    โดยความเป็นพระนิพพาน ย่อมไม่ทรงสำคัญพระนิพพานว่า ของเรา ย่อมไม่ทรงยินดีพระนิพพาน<O:p</O:p
    ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร? เรากล่าวว่า เพราะทรงทราบว่า ความเพลิดเพลินเป็นมูลแห่งทุกข์ เพราะ<O:p</O:p
    ภพจึงมีชาติ สัตว์ผู้เกิดแล้ว ต้องแก่ ต้องตาย เพราะเหตุนั้นแล ภิกษุทั้งหลาย เราจึงกล่าวว่า<O:p</O:p
    พระตถาคตตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เพราะสิ้นตัณหา สำรอกตัณหา ดับตัณหา สละตัณหาสละคืนตัณหาเสียได้ โดยประการทั้งปวง.<O:p</O:p
    กำหนดภูมินัยที่ ๘ ด้วยสามารถพระศาสดา.<O:p</O:p
    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสมูลปริยายนี้จบแล้ว ภิกษุเหล่านั้นมีความพอใจชื่นชมภาษิตของ<O:p</O:p
    พระผู้มีพระภาค ฉะนี้แล.<O:p</O:p
    จบ มูลปริยายสูตร ที่ ๑<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์<O:p</O:p
    http://84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=12&A=0&Z=237<O:p></O:p>
     
  17. เด็กโชว์พาว

    เด็กโชว์พาว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,081
    ค่าพลัง:
    +470
    อนุโมทนาครับ เมื่อถึงเวลาเราทุกคนก็ต้องเข้าไปค้นหาสัจธรรมที่แท้จริง ที่อยู่ข้างในใจเราทุกคนเหมือนเช่นนั้น อยู่ดีนั่นแหละครับ
     
  18. สราวุธ ลำพูน

    สราวุธ ลำพูน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    178
    ค่าพลัง:
    +302
    เด็กหนุ่ม ท่านนี้ เรียกท่านนะ ผมดูอยู่ ท่านเข้านั่งภาวนา แล้วเกิดไฟลุกท่วมกาย ไหม้เสื้อผ้าสักพักเมื่อท่าน ออกจากสมาธิ ท่านก็ เดินออกจากกองเพลิง แถม มีคนวิ่งตามหา ไม่เจอ ในป่าเบจพรรณ กระผมไม่ขอกล่าวว่าท่านได้เพ่งกสินเป็นอารมณ์ พร้อมกลับย่นระยะทางได้ เพราะความรุ๊ของผม เพียง ม๋าหำห้อย(ทำหน้าเฉ๋ยไม่อายหำ) หนอนเคะกระดาษ คนแบกภาชณะหลังหัก เท่านั้นเองครับ
    ขออภัยที่คำพูดต่ำทราม
     
  19. อรมณีจันทร์

    อรมณีจันทร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    993
    ค่าพลัง:
    +499
    ;welcome2;aa23;aa20


    เราว่าน้องเขาอดข้าว นานๆ เพราะถือปฏิบัติตามพระพุทธเจ้าอ่ะ

    แต่เรื่องอดข้าวนานหลายเดือนโดยไม่ทานอะไรเลย

    เราว่า กายเนื้อ ปรกติคงจะตายไปนานแล้ว...ยังไม่เชื่อนะ
     
  20. Mr.Boy_jakkrit

    Mr.Boy_jakkrit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    2,063
    ค่าพลัง:
    +2,676
    อนุโมทนาครับ..
    แต่กระผมยังยึดหลักทางสายกลางของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์นี้และองค์เดียวอย่างไม่ลังเลสงสัย
    นี่ยังถือว่าจิตคงผมยังเข้มแข็งหนักแน่นอยู่ไม๊ครับ ?
    จะเจออะไรในสมาธิก็ตามต้องไปทางตรงอย่างเดียวและมันมีแค่เดียว คือหลุดพ้นจากทุกข์ให้ได้.!?

    เจริญธรรมครับทุกท่าน
     

แชร์หน้านี้

Loading...