อาเทสนาปาฏิหาริย์ และอนุสาสนีปาฏิหาริย์. พระบรมศาสดา และเหล่าผู้พระสาวก

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย NAMOBUDDHAYA, 11 ตุลาคม 2014.

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้
  1. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    ?temp_hash=e1be6873468efa53ad3f41bfebb54b3a.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  2. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    88588135099_o.jpg?_nc_cat=111&_nc_sid=730e14&_nc_ohc=Fzu1elaPgBUAX_9Uv7A&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  3. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969

    ไฟล์ที่แนบมา:

  4. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    ?temp_hash=cacc481bba67e42509efd66227d77579.jpg

    ?temp_hash=cacc481bba67e42509efd66227d77579.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  5. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    ?temp_hash=86108a4e609dc0112f8657e9bdfbcb56.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  6. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    97208052567_o.jpg?_nc_cat=104&_nc_sid=8024bb&_nc_ohc=871TGCzQamoAX-oAgNb&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  7. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย อิทธิบาท ๔ ประการนี้
    ที่บุคคลเจริญ ทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อถึงฝั่งโน้นจากฝั่งนี้
    อิทธิบาท ๔ ประการ อะไรบ้าง คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้
    ๑. เจริญอิทธิบาทที่ประกอบด้วยฉันทสมาธิปธานสังขาร (สมาธิที่
    เกิดจากฉันทะและความเพียรที่มุ่งมั่น)

    ๒. เจริญอิทธิบาทที่ประกอบด้วยวิริยสมาธิปธานสังขาร (สมาธิที่
    เกิดจากวิริยะและความเพียรที่มุ่งมั่น)
    ๓. เจริญอิทธิบาทที่ประกอบด้วยจิตตสมาธิปธานสังขาร (สมาธิที่
    เกิดจากจิตตะและความเพียรที่มุ่งมั่น)
    ๔. เจริญอิทธิบาทที่ประกอบด้วยวิมังสาสมาธิปธานสังขาร (สมาธิ
    ที่เกิดจากวิมังสาและความเพียรที่มุ่งมั่น)
    ภิกษุทั้งหลาย อิทธิบาท ๔ ประการนี้แลที่บุคคลเจริญ ทำให้มากแล้ว
    ย่อมเป็นไปเพื่อถึงฝั่งโน้นจากฝั่งนี้”
    ............
    อปารสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อให้ถึงฝั่งโน้นจากฝั่งนี้ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๙
    https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=19&siri=255
    #อิทธิบาท #สมาธิ #ฉันทะ #วิริยะ #จิตตะ #วิมังสา
    35274371325_n.jpg?_nc_cat=105&_nc_sid=110474&_nc_ohc=l9kobn-jUWoAX_6Fcyl&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     
  8. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    ?temp_hash=a576fed870830033bea7577316888aa3.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  9. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    qMbkqOmx0hMghr_DXcyVlRibkrmUhdJXNKYmZNoAnQJ8&_nc_ohc=DF05xpLCO2IAX9kERDl&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  10. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    35PQpFhfYqAod4waYjslW5eDh6cbsVpeyvknAh6f7RQV&_nc_ohc=gUy9yswTLMcAX9pmJ07&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  11. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    ?temp_hash=1e617549e58071973bcbce8913890efa.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  12. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    oEJ-FhAF5ewUlMVpoon8d9IH9d8yYP2jKIy9G7yO6c8t&_nc_ohc=PXeTF7Pf4q0AX8Cr-6N&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     
  13. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    ภิกษุทำสมาบัติให้เป็นปทัฏฐานก่อน แล้วเจริญวิปัสสนาได้บรรลุพระอรหัตย่อมไม่ลำบาก เหมือนบุคคลอาศัยเรือหรือแพเป็นต้น ข้ามห้วงน้ำใหญ่ก็ไปถึงฝั่งได้ฉะนั้น

    ส่วนพระสุกขวิปัสสกผู้เจริญวิปัสสนาล้วนๆ พิจารณาปกิณณกสังขาร แล้วได้บรรลุพระอรหัต ย่อมลำบาก เหมือนบุคคลฟันฝ่ากระแสน้ำด้วยกำลังแขนไปถึงฝั่งฉะนั้น
    ***************
    ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมใน อรรถกถาอาเนญชสัปปายสูตร http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=80
    และอาเนญชสัปปายสูตร มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๔ http://84000.org/tipitaka/attha/m_siri.php?B=14&siri=6

    yBSDn8JN04q-yJAMCvK83TkGGtSw9UdklhV2Up9DuLvj&_nc_ohc=fpP-yGUuV4AAX_BYCNI&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     
  14. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    ?temp_hash=848121a965392b7697c7a74c7cc40070.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  15. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    ?temp_hash=399a37430930a4f42856f41bc15a4d1d.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  16. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    ละอายชั่ว กลัวบาป
    *************
    ๑. อหิริกะ (ความไม่อายบาป)
    ๒. อโนตตัปปะ (ความไม่กลัวบาป)

    ๑. หิริ (ความอายบาป)
    ๒. โอตตัปปะ (ความกลัวบาป)

    ข้อความบางตอนใน สังคีติหมวด ๒ สังคีติสูตร ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๑
    http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=11&siri=10

    คำว่า อหิริกํ ได้แก่ความไม่ละอาย ที่ท่านแถลงรายละเอียดไว้อย่างนี้ว่า ความไม่ละอายด้วยสิ่งที่ควรจะละอาย. คำว่า อโนตฺตปฺปํ ได้แก่ อาการที่ไม่หวาดกลัวที่ท่านแถลงรายละเอียดไว้อย่างนี้ว่า ความไม่สะดุ้งกลัวด้วยสิ่งที่ควรจะสะดุ้งกลัว.

    คำว่า หิริ จ โอตฺตปฺปญฺจ ได้แก่ ความละอายและความสะดุ้งกลัว ที่ท่านแถลงรายละเอียดไว้อย่างนี้ว่า ความละอายด้วยสิ่งที่ควรละอาย ความสะดุ้งกลัวด้วยสิ่งที่ควรสะดุ้งกลัว.

    อีกประการหนึ่ง บรรดาธรรม ๒ อย่างนี้ หิริมีสมุฏฐานจากภายใน โอตตัปปะมีสมุฏฐานจากภายนอก หิริมีตนเป็นใหญ่ โอตตัปปะมีโลกเป็นใหญ่. หิริตั้งขึ้นเพราะสภาวะคือความละอายใจ โอตตัปปะตั้งขึ้นเพราะสภาวะคือความกลัว. คำอธิบายโดยละเอียดในเรื่องหิริโอตตัปปะนี้ ได้กล่าวไว้ครบถ้วนแล้วในวิสุทธิมรรค.

    ข้อความบางตอนใน อรรถกถาสังคีติสูตร http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php…

    ศึกษาเพิ่มเติมใน สุตตันติกทุกนิกเขปะ พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๔
    http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php…

    6_79lVZmOlm2BR-F1MKG3vaySkywF2PJA0BeqqLUixCH&_nc_ohc=3f1QCO40TooAX9we9fG&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     
  17. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    H5GDfigq9f30DfbQKMoVfGqZZWYjoo1iCp6Uf2V_T-rn&_nc_ohc=7iDm5aN2_rkAX_EpfYT&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  18. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    ธุระ ๒ อย่างในพระศาสนา
    ***********
    มหาปาละบรรพชาอุปสมบท

    เมื่อน้องชายกำลังร้องไห้อยู่เทียว, เขาไปสู่สำนักพระศาสดาแล้ว ทูลขอบวช ได้บรรพชาอุปสมบทแล้ว อยู่ในสำนักแห่งพระอาจารย์ และอุปัชฌาย์ครบ ๕ พรรษาแล้ว

    ออกพรรษา ปวารณาแล้วเข้าไปเฝ้าพระศาสดา ถวายบังคมแล้ว ทูลถามว่า “พระเจ้าข้า ในพระศาสนานี้มีธุระกี่อย่าง?”

    ธุระ ๒ อย่างในพระศาสนา

    พระศาสดาตรัสตอบว่า “ภิกษุ ธุระมี ๒ อย่าง คือ คันถธุระ (กับ) วิปัสสนาธุระ เท่านั้น.”

    พระมหาปาละทูลถามว่า “พระเจ้าข้า ก็คันถธุระเป็นอย่างไร? วิปัสสนาธุระเป็นอย่างไร?”

    ศ. ธุระนี้ คือ การเรียนนิกายหนึ่งก็ดี สองนิกายก็ดี จบพุทธวจนะคือพระไตรปิฎกก็ดี ตามสมควรแก่ปัญญาของตนแล้วทรงไว้ กล่าวบอกพุทธวจนะนั้น ชื่อว่า คันถธุระ.

    ส่วนการเริ่มตั้งความสิ้นและความเสื่อมไว้ในอัตภาพ ยังวิปัสสนาให้เจริญ ด้วยอำนาจแห่งการติดต่อแล้ว ถือเอาพระอรหัตของภิกษุผู้มีความประพฤติแคล่วคล่อง ยินดียิ่งแล้วในเสนาสนะอันสงัด ชื่อว่า วิปัสสนาธุระ.

    ม. พระเจ้าข้า ข้าพระองค์บวชแล้วแต่เมื่อแก่ ไม่สามารถจะบำเพ็ญคันถธุระให้บริบูรณ์ได้, แต่จักบำเพ็ญวิปัสสนาธุระให้บริบูรณ์, ขอพระองค์ตรัสบอกพระกรรมฐานแก่ข้าพระองค์เถิด.
    …….
    ข้อความบางตอนใน เรื่องพระจักขุปาลเถระ ยมกวรรควรรณนา ขุททกนิกาย อรรถกถาธรรมบท
    http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=11&p=1

    y9kkrdl0dhrtmrhpzlm_ja6hf8opqa2id3iutzku-_nc_ohc-f2vqmkqb06wax_hnpet-_nc_ht-scontent-fcnx3-1-jpg.jpg
     
  19. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    ***************
    ...ส่วนในกายานุปัสสนานี้ ภิกษุผู้บรรลุจตุตถฌานแล้วอย่างนั้น มีความประสงค์ที่จะเจริญกรรมฐาน ด้วยอำนาจการกำหนดและการเปลี่ยนแปลง แล้วบรรลุความหมดจด กระทำฌานนั้นนั่นแล ให้ถึงความชำนิชำนาญ (วสี) ด้วยอาการ ๕ อย่าง กล่าวคือ อาวัชชนะ การรำพึง สมาปัชชนะ การเข้า อธิฏฐานะ การตั้งใจ วุฏฐานะ การออก และ ปัจจเวกขณะ การพิจารณา แล้ว กำหนด รูปและอรูปว่า รูป มีอรูปเป็นหัวหน้า หรืออรูป มีรูปเป็นหัวหน้าแล้ว เริ่มตั้งวิปัสสนา.

    ถามว่า เริ่มตั้งวิปัสสนาอย่างไร ?
    แก้ว่า จริงอยู่ พระโยคีนั้น ครั้นออกจากฌานแล้วกำหนดองค์ฌาน ย่อมเห็นหทัยวัตถุ ซึ่งเป็นที่อาศัยแห่งองค์ฌานเหล่านั้น ย่อมเห็นภูตรูป ซึ่งเป็นที่อาศัยแห่งหทัยวัตถุนั้น และย่อมเห็นกรัชกายแม้ทั้งสิ้น ซึ่งเป็นที่อาศัยแห่งภูตรูปเหล่านั้น. ในลำดับแห่งการเห็นนั้น เธอย่อมกำหนดรูปและอรูปว่า องค์ฌานจัดเป็นอรูป, (หทัย) วัตถุเป็นต้นจัดเป็นรูป.

    อีกอย่างหนึ่ง เธอนั้นครั้นออกจากสมาบัติแล้ว กำหนดภูตรูปทั้ง ๔ ด้วยอำนาจปฐวีธาตุเป็นต้น ในบรรดาส่วนทั้งหลายมีผมเป็นอาทิ และรูปซึ่งอาศัยภูตรูปนั้น ย่อมเห็นวิญญาณ พร้อมทั้งสัมปยุตธรรมซึ่งมีรูปตามที่ตนกำหนดแล้วเป็นอารมณ์ หรือมีรูปวัตถุและทวารตามที่ตนกำหนดแล้วเป็นอารมณ์. ลำดับนั้น เธอย่อมกำหนดว่า ภูตรูปเป็นต้น จัดเป็นรูป, วิญญาณที่มีสัมปยุตธรรม จัดเป็นอรูป.

    อีกอย่างหนึ่ง เธอครั้นออกจากสมาบัติแล้ว ย่อมเห็นว่า กรัชกายและจิตเป็นที่เกิดขึ้นแห่งลมอัสสาสะและปัสสาสะ. เหมือนอย่างว่า เมื่อสูบของช่างทองยังสูบอยู่ ลมย่อมสัญจรไปมา เพราะอาศัยการสูบ และความพยายามอันเกิดจากการสูบนั้นของบุรุษ ฉันใด, ลมหายใจเข้าและหายใจออก ย่อมเข้าออก เพราะอาศัยกายและจิตฉันนั้นเหมือนกันแล. ลำดับนั้น เธอกำหนดลมหายใจเข้าหายใจออกและกายว่า เป็นรูป, กำหนดจิตนั้นและธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตว่า เป็นอรูป.

    ครั้น เธอกำหนดนามรูปด้วยอาการอย่างนั้นแล้ว ย่อมแสวงหาปัจจัยแห่งนามรูปนั้น. และเธอเมื่อแสวงหาอยู่ ก็ได้เห็นปัจจัยมีอวิชชาและตัณหาเป็นต้นนั้นแล้ว ย่อมข้ามความสงสัยปรารภความเป็นไปแห่งนามรูปในกาลทั้ง ๓ เสียได้.

    เธอนั้น ข้ามความสงสัยได้แล้ว ยกไตรลักษณ์ขึ้นด้วยอำนาจพิจารณากลาป ละวิปัสสนูปกิเลส ๑๐ อย่าง มีโอภาสเป็นต้น ซึ่งเกิดขึ้นแล้วในส่วนเบื้องต้น ด้วยอุทยัพพยานุปัสสนา (การพิจารณาเห็นความเกิดและความดับ) กำหนดปฏิปทาญาณที่พ้นจากอุปกิเลสว่า เป็นมรรค ละความเกิดเสีย ถึงภังคานุปัสสนา (การพิจารณาเห็นความดับ) เบื่อหน่ายคลายกำหนัดพ้นไปในสรรพสังขาร ซึ่งปรากฏโดยความเป็นของน่ากลัว ด้วยพิจารณาเห็นความดับติดต่อกันไป ได้บรรลุอริยมรรคทั้ง ๔ ตามลำดับ แล้วตั้งอยู่ในพระอรหัตผล ถึงที่สุดแห่งปัจจเวกขณญาณ ๑๙ อย่าง เป็นอัครทักขิไณยแห่งโลก พร้อมทั้ง
    เทวดา. ก็การเจริญอานาปานัสสติสมาธิ ของภิกษุผู้ประกอบในอานาปานกรรมฐานนั้น ตั้งต้นแต่การนับ จนถึงมรรคผลเป็นที่สุด จบบริบูรณ์เพียงเท่านี้แล.
    ................
    สมันตปาสาทิกา มหาวิภังคอรรถกถา
    วิ.มหา.อ. (ไทย) ๒/๓๗๐-๓๗๑ มหามกุฏ ฯ https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=01.0&i=176&p=2

    Uw1eMXlSW2DzI0erVbSRpvfEMYYK214KpPusEAsZQ2u6&_nc_ohc=djDfrpq3uEIAX9nYmyh&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg



    pLUrTNHXHY2wr1Ge8PSmvGDtXb4mRKv8bTMBOSglI6ft&_nc_ohc=JJAUF3cv-gEAX9GXEA8&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     
  20. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    พระบรมศาสดาตรัสสรรเสริญเสนาสนะอันเงียบสงัดคือป่า เพราะจะทำจิตให้เป็นสมาธิและจะทำจิตให้หลุดพ้นได้
    *************
    พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “นาคิตะ เราไม่ติดยศ และยศก็ไม่ติดเรา ผู้ใดแลไม่ได้ตามความปรารถนา ไม่ได้โดยไม่ยาก ไม่ได้โดยไม่ลำบากซึ่งเนกขัมมสุข ปวิเวกสุข อุปสมสุข สัมโพธสุขที่เราได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ได้โดยไม่ลำบากนี้
    ผู้นั้นชื่อว่ายินดีสุขที่ไม่สะอาด สุขในการนอนหลับ และสุขที่อิงอาศัยลาภสักการะและการสรรเสริญ

    นาคิตะ

    ๑. เราเห็นภิกษุในธรรมวินัยนี้ผู้อยู่ในเสนาสนะใกล้หมู่บ้าน มีสมาธิ นั่งอยู่ เรามีความคิดอย่างนี้ว่า ‘บัดนี้ คนวัดจักรบกวนท่านผู้นี้ หรือสมณุทเทส จักทำให้ท่านเคลื่อนจากสมาธิ’ เพราะเหตุนั้น เราจึงไม่ยินดีการอยู่ในเสนาสนะใกล้บ้านของภิกษุนั้น

    ๒. เราเห็นภิกษุในธรรมวินัยนี้ผู้อยู่ป่าเป็นวัตร นั่งโงกง่วงอยู่ในป่า เรามีความคิดอย่างนี้ว่า ‘บัดนี้ ท่านผู้นี้จักบรรเทาความลำบากคือการหลับนี้ แล้วมนสิการความกำหนดหมายว่าป่าเป็นเอกัคคตารมณ์’ เพราะเหตุนั้น เราจึงยินดีการอยู่ในป่าของภิกษุนั้น

    ๓. เราเห็นภิกษุในธรรมวินัยนี้ผู้อยู่ป่าเป็นวัตร ไม่มีสมาธินั่งอยู่ในป่า เรามีความคิดอย่างนี้ว่า ‘บัดนี้ ท่านผู้นี้จักตั้งจิตที่ไม่เป็นสมาธิให้เป็นสมาธิ หรือจักตามรักษาจิตที่เป็นสมาธิไว้’ เพราะเหตุนั้นเราจึงยินดีการอยู่ในป่าของภิกษุนั้น

    ๔. เราเห็นภิกษุในธรรมวินัยนี้ผู้อยู่ป่าเป็นวัตร มีสมาธินั่งอยู่ในป่า เรามีความคิดอย่างนี้ว่า ‘บัดนี้ ท่านผู้นี้จักเปลื้องจิตที่ยังไม่หลุดพ้นให้หลุดพ้น หรือว่าจักตามรักษาจิตที่หลุดพ้นแล้วไว้ได้’ เพราะเหตุนั้น เราจึงยินดีการอยู่ในป่าของภิกษุนั้น

    ๕. เราเห็นภิกษุในธรรมวินัยนี้ผู้อยู่ในเสนาสนะใกล้บ้าน ได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัชชบริขาร เธอพอใจลาภสักการะและการสรรเสริญนั้น ละทิ้งการหลีกเร้น ละทิ้งเสนาสนะอันเงียบสงัดคือป่าโปร่งและป่าทึบ หรือเข้ามารวมกันอยู่ยังหมู่บ้าน ตำบล และเมืองหลวง’ เพราะเหตุนั้น เราจึงไม่ยินดีการอยู่ในเสนาสนะใกล้หมู่บ้านของภิกษุนั้น

    ๖. เราเห็นภิกษุในธรรมวินัยนี้ผู้อยู่ป่าเป็นวัตร ได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัชชบริขาร เธอสลัดลาภสักการะและการสรรเสริญนั้น ไม่ละทิ้งการหลีกเร้น ไม่ละทิ้งเสนาสนะอันเงียบสงัดคือป่าโปร่งและป่าทึบ’ เพราะเหตุนั้น เราจึงยินดีการอยู่ในป่าของภิกษุนั้น

    อนึ่ง สมัยใด เราเดินทางไกล ไม่เห็นใครข้างหน้าหรือข้างหลัง สมัยนั้น เราย่อมมีความผาสุก โดยที่สุด แม้ด้วยการถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ”
    ………….
    ข้อความบางตอนใน นาคิตสูตร อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๒
    http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=22&siri=293
    ดูเพิ่มใน อรรถกถานาคิตสูตร http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=22&i=313

    หมายเหตุ : พระผู้มีพระภาคตรัสกะท่านพระนาคิตะผู้เป็นอุปัฏฐากในขณะนั้นว่า พระองค์ไม่ทรงติดยศ และยศก็ไม่ติดพระองค์ ผู้ที่ไม่ได้เนกขัมมสุข วิเวกสุข อุปสมสุข สัมโพธสุข ชื่อว่ายินดีสุขที่ไม่สะอาด สุขในการหลับนอน สุขอิงอาศัยลาภสักการะและการสรรเสริญ

    พระองค์ทรงเห็นภิกษุ ๖ จำพวก แต่ละจำพวกมีพฤติกรรมต่างๆ ทรงยินดีบางพวก ไม่ทรงยินดีบางพวก คือ

    ๑. ผู้อยู่ในเสนาสนะใกล้หมู่บ้าน มีสมาธินั่งอยู่ ตรัสว่า ไม่ทรงยินดี เพราะทรงดำริว่า จะมีคนมาทำให้เคลื่อนจากสมาธิ

    ๒. ผู้อยู่ป่าเป็นวัตร นั่งโงกง่วงอยู่ ตรัสว่า ทรงยินดี เพราะทรงดำริว่า ท่านจักบรรเทาความง่วง ทำจิตให้มีอารมณ์เป็นหนึ่งได้

    ๓. ผู้อยู่ป่าเป็นวัตร ไม่มีสมาธินั่งอยู่ในป่า ตรัสว่า ทรงยินดี เพราะทรงดำริว่า ท่านจักทำจิตให้เป็นสมาธิได้

    ๔. ผู้อยู่ป่าเป็นวัตร มีสมาธินั่งอยู่ในป่า ตรัสว่า ทรงยินดี เพราะทรงดำริว่า ท่านจักทำจิตให้หลุดพ้นได้

    ๕. ผู้อยู่ในเสนาสนะใกล้หมู่บ้าน ได้ปัจจัย ๔ ติดใจลาภสักการะและการสรรเสริญ ละทิ้งการหลีกเร้น ละทิ้งเสนาสนะป่า ตรัสว่าไม่ทรงยินดี

    ๖. ผู้อยู่ป่าเป็นวัตร ได้ปัจจัย ๔ สลัดลาภสักการะและสรรเสริญนั้น ไม่ละทิ้งการหลีกเร้น ไม่ละทิ้งเสนาสนะป่า ตรัสว่าทรงยินดี

    5qInZqqg57iPcfEMAwoYoIYjGJnSuloJ1es-0LAM4Svq&_nc_ohc=0Wf3f6LZv88AX8hn6bl&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     
สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้

แชร์หน้านี้

Loading...