***กสินใน 1 วัน / อรูปฌาน4 ใน 1 วัน***

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย GluayNewman, 18 ธันวาคม 2011.

  1. หนูฝ้าย^^

    หนูฝ้าย^^ สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    98
    ค่าพลัง:
    +0
    หลวงปู่เณรคำ สนใจธรรมะตั้งแต่เกิดนะจ๊ะ.. ส่วนหนูก็ชอบธรรมะตั้งแต่คิดเป็นจ้ะ.. ท่านอย่าสงสัยหนูเลย นานๆหนูถึงจะเข้ามาสักครั้ง.. (ส่วนรูปก็แค่สมมติ ไร้สาระจ้ะ.. อิอิ)
     
  2. หนูฝ้าย^^

    หนูฝ้าย^^ สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    98
    ค่าพลัง:
    +0
    ธรรมะท่านเข้าใจง่ายดี หนูชอบอ่านธรรรมะแบบไม่พิสดารน่ะจ๊ะ..อิอิ
     
  3. GluayNewman

    GluayNewman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +747
    ไม่สงสัย แต่ขออนุโมทนาด้วยความปลื้มใจทุกครั้งที่เห็นเยาวชนสนใจธรรมะครับ
    ตนเองก็เข้าสู่แวดวงการปฏิบัติธรรมเมื่ออายุ 23 ปี (21 ปีก่อน)

    คุณฟ้าสว่าง ,,,,วันที่ 5 ไปพบกันไม๊ครับ
     
  4. GluayNewman

    GluayNewman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +747
  5. LoveViolet

    LoveViolet สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    27
    ค่าพลัง:
    +10
    กรรมใดๆที่ดิฉันสำคัญท่านด้วยความเข้าใจผิดไปในเรื่องภูมิธรรม เนื่องด้วยความไม่รู้ของดิฉัน ขอโปรดยกโทษต่อดิฉันด้วยเถิด
     
  6. GluayNewman

    GluayNewman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +747
    ขอวอนอัญเชิญอำนาจคุณพระศรีรัตนตรัย โปรดงดซึ่งโทษภัยใดๆ อันเกิดจากการสำคัญผิด เนื่องจากความไม่รู้ ของคุณ LoveViolet ด้วยเทอญ
     
  7. GluayNewman

    GluayNewman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +747
    สำหรับผู้ที่มีจริตทางสมถะ
    ผมขอแนะนำการฝึกกสิน ที่เป็นสัมมาสมาธิ
    เพื่อความพ้นทุกข์ และรักษาโรคไปด้วยในตัวนะครับ

    (มีผู้ปฏิบัติจำนวนมากยังมีความเข้าใจผิดในการฝึกสมถะ
    ฝึกโดยวิธีเพ่งแบบฤษี ซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า ไม่ใช่ทางพ้นทุกข์
    การเข้าสมาธิแบบนั้นจะเป็นการพยายามไม่รับรู้โลกภายนอก จิตก็จะไม่ได้เรียนรู้ความจริง
    ก็ไม่มีโอกาศเข้าใจ และเข้าถึงความจริง....
    มีคำที่ท่านตรัสว่า "ผู้ที่เข้าสมาธิจนฟ้าผ่าข้างๆ ตัว แล้วไม่รู้สึก...คือเรา"
    นั่นคือในสมัยที่ท่านยังไม่ตรัสรู้ และท่านก็พบว่า นี่ไม่ใช่ทาง)

    สมถยานิก ลองศึกษากสิน แบบนี้ดูนะครับ

    กสิน เพื่อการพ้นทุกข์ และรักษาโรค

    ทุกวันนี้ ผมได้ใช้กสินในการรักษาโรคของผม<wbr>
    ได้ผลดีไม่แพ้จักระ เลยตั้งใจจะสอนด้วย
    อันนี้อยู่ที่ว่า อะไรจะถูกจริตกับเรามากกว่าน่ะค<wbr>รับ
    กสินที่ใช้ เป็นธาตุกสิน คือดิน น้ำ ลม ไฟ ....หรือ เย็น ร้อน อ่อน แข็ง

    หลักการของการรักษาแบบนี้ คือต้องเข้าใจก่อนว่าพื้นฐานของ<wbr>รูปธรรมทุกสิ่งในจักรวาลนี้
    ประกอบขึ้นจากธาตุพื้นฐานทั้ง 4 นี้ ไม่ว่าอะไรก็ตาม รวมทั้งมนุษย์ด้วย
    การที่ธาตุไม่สมดุลย์ แปรปรวน เช่น ร้อนมากเกินไป เราก็เกิดเป็นโรคขึ้นมา

    ดังนั้นที่เราเกิดเวทนาต่างๆ จากโรค ก็แสดงว่าธาตุไม่สมดุลย์แล้ว
    และถ้าทราบลึกไปจริงๆ มันเกิดความไม่สมดุลย์ขึ้นในหน่<wbr>วยที่เล็กที่สุด เช่นระดับเซลล์ หรือเล็กกว่านั้น
    ดังนั้นวิธีการบำบัด หรือรักษาโรคก็คือเข้าไปปรับสมด<wbr>ุลย์ในระดับเล็กที่สุด
    แล้วโรคภัยไข้เจ็บเราก็จะดีขึ้น<wbr> หรือหายไป

    ยกตัวอย่างตัวเอง เวลามึนหัว ผมก็จะตั้งสติ "ดู" ไปที่เวทนานั้น
    ปกติลืมตา หรืออาจจะนั่งหลับตา เพื่อให้การดูนั้นละเอียด ชัดเจนยิ่งขึ้น
    ดูสบายๆ นะครับ อย่าไปตั้งใจมาก มันจะไปเพ่ง
    ดูไปพัก จะเห็นได้เลยว่า จุดที่เกิดเวทนาอยู่ตรงไหน ส่วนไหนของศีรษะ
    แล้วตั้งสติดูๆๆ ต่อไป (เน้น...ไม่ใช่เพ่งนะ) ก็จะเห็นจุดเกิดเหตุที่เล็กลงไป<wbr>เรื่อยๆ
    อันนี้อยู่ที่การฝึกฝนด้วย แรกๆ จุดจะกินวงกว้าง เป็นจุดใหญ่
    เมื่อฝึกนานเข้าๆ จุดจะเล็กลง

    แต่จะเป็นจุดเล็กหรือใหญ่ ก็ให้สังเกตุว่าเวทนานั้น เป็นเวทนามีลักษณะอะไร
    เย็น ร้อน อ่อน แข็ง...ของผม ปกติมักจะเป็นจุดที่ร้อน
    เห็นว่าเป็นจุดร้อนๆ อยู่ตรงไหน ผมก็เอาความเย็นเข้าไปที่ตรงนั้<wbr>น
    เอาสิ่งที่ตรงกันข้ามกัน เย็นกับร้อน อ่อนกับแข็ง
    ถามว่าความเย็นเอามาจากไหน....ต<wbr>อบแบบง่ายๆ เลย นึกเอาครับ
    นึกถึงความเย็นที่เราเคยสัมผัส จากอะไรก็ได้ จากแอร์ จากน้ำแข็ง ฯลฯ
    แล้วก็เอาความเย็นไป "แป่ะ" ตรงนั้น ซักพักมันจะค่อยๆ ดีขึ้น

    ความยากของมัน มี 2 อย่าง การดู โดยไม่เพ่ง กับ การนึกลักษณะของธาตุกสินให้อ<wbr>อก
    การดูแล้วไปเพ่ง เกิดจากความอยาก (หรือโลภะ) จะทำให้สำเร็จให้ได้
    มีความพยายามมากเกินไป ไม่ดูแบบสบายๆ จึงกลายเป็นเพ่งไป
    จะมีผลเสียในภายหลัง
    ส่วนการนึกถึงธาตุกสินต่างๆ ถ้านึกไม่ออก ให้ไปเอา “ตัวอย่าง” มาสัมผัส
    เย็น ก็ไปเอาน้ำแข็งมาจับ หรือไปอยู่ในห้องแอร์ หรือแม้แต่ซื้อลูกอมเมนทอลมาอม
    แล้วก็จำความเย็นตรงนั้นไว้ สร้างความเย็นให้ไปเกิดที่จุดเว<wbr>ทนา แบบนั้น
    ความร้อน ความแข็งคงไม่มีปัญหา หาตัวอย่างไม่ยาก
    ความอ่อนให้ใช้สัมผัสของลมที่ผิ<wbr>วหนังครับ จำเอาความเคลื่อนไหวของลมมาใช้
    ตรงจุดที่แข็งๆ ใช้ความเคลื่อนไหวของลมแก้

    นี่เป็นแบบฝึกหัด กสินเบื้องต้น...
    ทั้งนี้ทั้งนั้น การฝึกต้องรู้สึกตัวไว้ อย่าเผลอไปเพ่ง ไปจ้องจนลืมความรู้สึกตัว
    การลืมตาก็เป็นการรักษาความรู้ส<wbr>ึกตัวที่ดี
    หูต้องได้ยินเสียงไว้ตลอด ผิวกายต้องรู้สึกสัมผัสไว้...ไม<wbr>่งั้นจมลงไปกับการเพ่ง จะกลายเป็นมิจฉาสมาธิ
    จมในอารมณ์ กลายเป็นการปรุงแต่งไป...แบบนี้<wbr> เป็นการเข้าไปในกองทุกข์
    ...สัมมาสมาธิ ต้องมีลักษณะ “เห็นสมาธิ” ไม่ใช่ "เข้าสมาธิ" คือมีความรู้สึกตัวอยู่ตลอด
    ได้แค่ไหน ก็แค่นั้นครับ อย่าไปอยากจะให้สำเร็จให้ได้ ไม่งั้นก็เกิดโลภะอีก
    ค่อยๆ ฝึกไป วันละนิด วันละหน่อย ถ้าเป็นสัมมาสมาธิ จิตจะมีความก้าวหน้าเอง
    ก้าวหน้าช้าๆ แต่มั่นคง

    เรื่องสัมมาสมาธินี้ ผมได้รับการยืนยันจากหลวงพ่อมนต<wbr>รี แล้ว
    (รู้จักท่านไม๊ครับ) ตอนไปส่งการบ้านท่าน...
    การมีสัมมาสมาธิก็เป็นหนทางต่อก<wbr>ารพ้นทุกข์ จึงได้ประโยชน์ 2 ทางเลย พ้นทุกข์ทั้งใจและกาย
    แล้วจะมาแนะนำต่อนะครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 กุมภาพันธ์ 2012
  8. LoveViolet

    LoveViolet สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    27
    ค่าพลัง:
    +10
    ขอขอบคุณสำหรับทุกอย่างค่ะ ดิฉันจะพยายามศึกษาตามแต่จะทำได้ ความต้องการพ้นทุกข์ของดิฉันเกิดขึ้นอยู่นานแล้ว
     
  9. ฟ้าสว่าง

    ฟ้าสว่าง สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    38
    ค่าพลัง:
    +14
    ไปแน่นอนค่ะ แล้วเจอกันนะคะ
     
  10. GluayNewman

    GluayNewman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +747
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]ปัญหาคลาสสิก[/FONT][FONT=&quot] : ปฏิบัติธรรมแสนยาก[/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot]การปฏิบัติธรรมมักมีความเข้าใจผิดอยู่เรื่องนึง[/FONT]
    [FONT=&quot]เช่น ตำราบอกว่า รู้ธรรมะ ต้องรู้ ...ไตรลักษณ์ [/FONT][FONT=&quot]: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา[/FONT]
    [FONT=&quot]ก็มานั่งคิดพิจารณาเอาว่า คนเราเกิดมาต้องตาย ก็ไม่เที่ยงหนอ เป็นอนิจจัง[/FONT]
    [FONT=&quot]ชีวิตนี้ทุกข์จัง เป็น ทุกข์ขัง และก็ ไม่มีอะไรเป็นของเราเลย [/FONT]
    [FONT=&quot]เดี๋ยวมันก็แก่ ตาย ไป ตามธรรมชาติ บังคับบัญชา เป็น อนัตตา[/FONT]
    [FONT=&quot]คิดนึก เอาแบบนี้ พอเข้าใจ ก็นึกๆ เอาว่ารู้ธรรมะแล้ว[/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot]ยังมีอีก ปฏิจจสมุปบาท โพธิปักขยธรรม[/FONT][FONT=&quot] 37 ฯลฯ อีกมากมาย[/FONT]
    [FONT=&quot]ยังต้องทำความเข้าใจ หรือแม้แต่พยายามทำตามตำรา[/FONT]
    [FONT=&quot]เช่น อินทรีย์ [/FONT][FONT=&quot]5 : ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา[/FONT]
    [FONT=&quot]เริ่มที่ศรัทธา เราต้องมีศรัทธา ฟังธรรมๆๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]วิริยะ ทำความเพียร เอ้า เดินจงกรม[/FONT][FONT=&quot]/ สติ ก็มีสติ ระลึกได้[/FONT]
    [FONT=&quot]สมาธิ นั่งสมาธิเข้า [/FONT][FONT=&quot]/ ปัญญา ก็คิดพิจารณาธรรมไป[/FONT]
    [FONT=&quot]ทำอะไรมากมาย จะทำได้อย่างไร ทำวันละข้อหรือ[/FONT]
    [FONT=&quot]หรือนึกได้ ประสบกับอะไรก็ทำอย่างนั้น...[/FONT]
    [FONT=&quot]แล้วธรรมะ มีกี่ข้อ มีกี่ธรรมขันธ์ จะปฏิบัติกันหมดหรือ.....[/FONT]
    [FONT=&quot]อะไรมันจะยากขนาดน้าน...[/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot]ธรรมะที่กล่าวในตำรา ไม่ผิดครับ แต่ส่วนมากเป็น "ผล"[/FONT]
    [FONT=&quot]ต้องเข้าใจตรงนี้ก่อน ไตรลักษณ์ ปฏิจจสมุปบาท โพธิปักขิยธรรม ฯลฯ เป็น "ผล"[/FONT]
    [FONT=&quot]คือผลที่ได้รับ หากปฏิบัติธรรมถูกต้อง[/FONT]
    [FONT=&quot]เช่น ไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกัง อนัตตา เป็นผลจากการปฏิบัติ[/FONT]
    [FONT=&quot]เป็นสิ่งที่จิตจะเห็นได้ว่า มันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตนอย่างไร[/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่ใช่เป็น "เหตุ" เป็นแนวทางปฏิบัติ...[/FONT]
    [FONT=&quot]เป็น "ผล" จากการปฏิบัติ จิตเห็นไตรลักษณ์ แล้วถอดถอนกิเลสเอง[/FONT]
    [FONT=&quot]รวมถึงธรรมะหัวข้ออื่นๆ ด้วย ส่วนมากเป็น "ผล" ทั้งนั้น[/FONT]
    [FONT=&quot]ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา คือคุณสมบัติของจิต[/FONT]
    [FONT=&quot]ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติ หรือทำ "เหตุ" ให้ถูกต้อง[/FONT]
    [FONT=&quot]ธรรมะเหล่านี้จะเกิดขึ้นในจิตเอง แล้วเราก็จะเข้าใจ เข้าถึงธรรมะจริงๆ[/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot]ทีนี่อะไรคือ "เหตุ" เหตุมีอย่างเดียวเลยครับ "สติ"[/FONT]
    [FONT=&quot]ธรรมทั้งหลายจะร้อยข้อ พันข้อ หมื่นข้อ เกิดจากเหตุเดียว คือ สติ[/FONT]
    [FONT=&quot]พอมีสติ สติที่ถูกทาง เรียกว่าสัมมาสติ เห็นจิต เห็นความรู้สึก[/FONT]
    [FONT=&quot]เห็นจนรู้ได้ว่าเวลาไหนมีกิเลส เวลาไหนไม่มีกิเลส[/FONT]
    [FONT=&quot]เห็นเกิดดับ... เริ่มเห็น อนิจจัง นี่ เริ่มเข้าใจธรรมะแล้ว ต้องแบบนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]เห็นมากเข้า สติก็จะเป็นเครื่องระวังกิเลส [/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อกิเลสไม่เกิดกับจิตในบางขณะ จิตก็จะไม่มีอะไรมาห่อหุ้ม มาบดบัง[/FONT]
    [FONT=&quot]จิตกับธรรมชาติจะได้พบกัน ก็จะได้รู้ความจริงตามธรรมชาติ[/FONT]
    [FONT=&quot]ทีละขณะๆ ...จนรู้ความจริงตามธรรมชาติมากยิ่งขึ้น[/FONT]
    [FONT=&quot]กระบวนการจะเป็นไปตามที่ผมเขียนไว้ในบทความ "ทำไมสติทำให้เราหลุดพ้นได้"[/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot]ทีนี้แหละครับ ธรรมะทั้งหลายทั้งปวงในตำรา ถ้าเรากลับไปอ่าน[/FONT]
    [FONT=&quot]จะเข้าใจลึกซึ้งเลย ตรงเป๊ะๆ ตรงกับสภาวะที่เราพบในจิต เมื่อเรามีสติมากขึ้นเรื่อยๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่ใช่เข้าใจแบบคิดๆ พิจารณา หรือ ไปพยายามทำตามคำอธิบายของธรรมนั้นๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]ธรรมะจะกี่ข้อๆ เราจะเข้าใจมากยิ่งขึ้น ลึกซึ้ง ซาบซึ้งขึ้น...[/FONT]
    [FONT=&quot]จะทราบถึงพระปรีชาญาณของพระพุทธองค์ว่าลึกซึ้งเพียงใด[/FONT]
    [FONT=&quot]ทราบได้จากประสบการณ์ การเห็น และมีคุณสมบัติเหล่านั้นเกิดกับจิตจริงๆ [/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะเรามี "ผล" จากการทำ "เหตุ" คือ มีสติ แค่นั้นเอง[/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่ได้ทำอะไรมากกว่านี้แล้ว[/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะฉะนั้น ผู้ที่ยังปฏิบัติธรรมแล้วรู้สึกว่า มันช่างยาก เหลือเกิน[/FONT]
    [FONT=&quot]เกินวิสัย ไม่ไหว ไม่สำเร็จแน่ๆ ชาตินี้ ...ขออธิษฐาน ไปเจอ พระศรีอาร์ยดีกว่า[/FONT]
    [FONT=&quot]หรือว่า..เอ..อีกซัก [/FONT][FONT=&quot]100 ชาติ เราจะบรรลุธรรมไม๊...นั่นแหละ[/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะไม่เข้าใจไงครับ ...ธรรมะ อะไรก็ไม่รู้ มากมายก่ายกอง[/FONT]
    [FONT=&quot]เป็นหมื่นๆ พระธรรมขันธ์.... ที่แท้ก็แค่[/FONT]
    [FONT=&quot]....เจริญสติ.....[/FONT]
    [FONT=&quot]รู้จักเจริญสติให้เป็น อย่าให้เป็นมิจฉาสติ...แค่นั้นเอง....[/FONT]
    [FONT=&quot]ทำเหตุให้ถูก และผลก็จะตามมา เป็นสภาวะธรรมที่มีชื่อตามตำรา อย่างที่บอกน่ะครับ[/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot]แบบนี้หายสงสัยไม๊ครับ ปฏิบัติธรรมจะทำยังไง ต้องทำอะไรบ้าง..[/FONT]
    [FONT=&quot]ต้องศึกษา ต้องฝึกฝนหัวข้อธรรมไหนบ้าง...[/FONT]
    [FONT=&quot]ต้องจุดธูปเทียนไม๊ ต้องนุ่งขาวห่มขาวไม๊ ต้องกินเจไม๊...[/FONT]
    [FONT=&quot]ต้องนั่งสมาธิไม๊ ต้องเดินจงกรมไม๊ วันละกี่ชั่วโมง[/FONT]
    [FONT=&quot]ต้องทำอะไรให้ยากๆ ไม๊......ตอบเองได้หรือยัง[/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    [FONT=&quot]อะไรที่ทำแล้วมีสติ อันนั้นแหละครับ...แต่ต้องเป็นสัมมาสตินะ[/FONT]
     
  11. phudit999

    phudit999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    2,471
    ค่าพลัง:
    +2,396
    ดีแล้วรู้สึกแบบนั้น ก็ดี แต่อย่าเหมาว่า เราพ้นแล้ว เพราะจะทำให้เราประมาท
    การฝึกฌาน เอาแต่พอดีครับ อย่าให้เกินฌาน 2 เพราะ ท่านจะพลาดโอกาศอันงาม อย่า ทำสุดโตง ครับ เอาแค่นี้ล่ะ รับรู้สึงที่เกิดขึ้นภายใน ก่พอ เบื้องต้นแค่นี้น่ะครับ
     
  12. GluayNewman

    GluayNewman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +747
    ขอบคุณครับที่แนะนำ....
    เรื่องญาน 2 ผม ฝึกได้หลังจากที่ฝึกจักระไปประมาณไม่ถึง 2 อาทตย์
    และก็ถึงฌาน 4 ได้ ภายใน 32 วัน

    ทั้งกสิน จักระ อรูปฌาน ฌาน 4 เป็นสมาธิที่ผมเรียนรู้ได้โดยวิธีธรรมชาติมากๆ
    ไม่ได้ตั้งใจฝึกเป็นเรื่องเป็นราว สาเหตุเพราะความป่วยผมเป็นตัวบังคับ
    ถ้าผมไม่ป่วย ผมไม่ได้มีความสนใจจะฝึกฌานเลย ...แม้ทุกวันนี้ ถ้าวันไหนไม่มีอาการป่วย ผมก็ไม่ได้ใส่ใจฝึกสมาธิเลย

    แต่อย่างที่ผมเล่าให้ฟังไปแล้ว หากเดินได้ถูกทางจริงๆ ยังไงๆ สมาธิก็ต้องเกิด
    ผู้ปฏิบัติอาจคิดว่าแค่เจริญสติ จะไม่มีสมาธิ หรือมีสมาธิก็แค่นิดๆ หน่อยๆ แค่ขณิกะ
    แต่นั่นเป็นเพราะเขายังไม่เข้าถึงเส้นทางที่ถูกต้อง เป็นสัมมาสติจริงๆ
    ถ้าเป็นสัมมาสติจริงๆ วันหนึ่งคุณจะเข้าถึงทั้งหมด อย่างน้อยที่สุดปฐมฌานต้องมี
    และก็ต้องเข้าถึงอรูปฌานทั้ง 4 ด้วย หลีกเลี่ยงก็ไม่ได้ด้วย....
    แถมมีเองตามธรรมชาติ ไม่ต้องเพ่งเพียรให้ลำบาก อย่างที่ฝึกๆ กัน

    และถ้าคุณมี "ของเก่า" มันจะคืนกลับมาหมด โดยที่บางทีคุณไม่เคยฝึกมันเลยในช่าตินี้
    จากจิตธรรมดาๆ ที่ไม่มีอะไรเลย ก็กลับมีคุณวิเศษขึ้นมาอย่างน่าประหลาด

    ผมขอบอกความลับตรงนี้ให้ทุกท่านฟังนะครับ
    ครูบาอาจารย์ที่ "ถึง" จริง มีคุณวิเศษทุกท่าน ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เพียงแต่ท่านจะบอกหรือไม่เท่านั้น
    ที่ท่านไม่พูด เพราะไม่รู้จะพูดไปทำไม ถ้าไม่มีประโยชน์ ท่านก็อยู่ของท่านเงียบๆ

    ตำราบอกว่า สุขวิปัสโก = พระอรหันต์ผู้บรรลุธรรมอย่างแห้งแล้ง
    แต่ผมจะให้สังเกตุที่สังโยชน์ 5 ข้อสุดท้าย ที่พระอนาคามีจะต้องละ เพื่อบรรลอรหันต์
    2 ในนั้น คือ "รูปราคะ อรูปราคะ"

    ถ้าพระอริยเจ้า ไม่มีรูปฌาน และ อรูปฌาน ท่านจำเป็นจะต้องละ 2 สิ่งนี้หรือไม่
    ....ลองตรองดู....
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 กุมภาพันธ์ 2012
  13. GluayNewman

    GluayNewman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +747
    ในตำรา ผมมีข้อสังเกตุหลายเรื่อง
    คำว่า สุขวิปัสสโก ก็เป็นหนึ่งในนั้น

    ทำไมถึงแปลว่า ผู้เห็นแจ้งอย่างแห้งแล้ง

    สุขวิปัสสโก คือ สุขะ กับ วิปัสสโก
    วิปัสสโก หมายถึงผู้เจริญวิปัสสนาล้วน โดยใช้สตินำ
    แต่สุขะ ทำไมแปลว่า แห้งแล้ง
    ผมไม่รู้ศัพท์บาลี คำว่า สุขะ แปลว่าแห้งแล้ง ได้ด้วยหรือ

    อย่างที่ผมกล่าวไปแล้ว
    ผู้ที่เข้าถึงทั้ง รูปฌาน และอรูปฌาน สมควรใช้คำว่า แห้งแล้ง หรือครับ
    ...ฝากไว้ให้ตรองกันอีกทีครับ....

     
  14. GluayNewman

    GluayNewman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +747
    ผมกำลังนิมนต์หลวงพ่อมาที่สะพานควาย วันอาทิตย์ที่ 12 กุมภาพันธ์ นี้ครับ
    ท่านบอกว่าใกล้ๆ จะให้คำตอบอีกที...
    ผู้สนใจฟังและปฏิบัติธรรม ติดตามรายละเอียดได้ที่

    กาย เวทนา จิต ธรรม | Facebook
     
  15. GluayNewman

    GluayNewman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +747
    เมื่อเราเจริญสติได้ถูกทางจะมีประโยชน์ต่อชีวิตประจำวันมากๆ ผมขอแจงไว้ตามนี้เลยครับ

    [FONT=&quot]- [/FONT]ชีวิตจะง่ายขึ้น อะไรที่เคยคิดว่าทำยากๆจะรู้สึกว่าง่ายขึ้น
    -
    ไม่ค่อยมีอะไรมารบกวนจิตใจ รู้สึกปลอดโปร่ง
    -
    ไม่ค่อยอยากได้อะไร ความอยากลดลงอัตโนมัติ
    -
    ไม่ค่อยหงุดหงิดกับเรื่องใดๆ
    -
    เรื่องเพศตรงข้ามลดลง กลายเป็นความเมตตามากขึ้น
    -
    ไม่ต้องการความสนุกหรือความสุข เพราะจิตที่บริสุทธิ์มีความอิ่มอยู่ในตัวอยู่แล้ว
    -
    มีความทุกข์น้อยมาก แม้แต่ความทุกข์เล็กๆ น้อยๆ เช่นปวดเมื่อยก็ไม่รบกวนจิตใจ
    -
    ปฏิบัติธรรมง่ายมาก มีสติดี
    -
    มีความเมตตาชอบช่วยเหลือผู้อื่น
    -
    เห็นความรู้สึกที่ปราศจากตัวตนจิตบริสุทธิ์ไม่ยึดมั่นตัวตน
    -
    สบาย ไม่ค่อยเครียด ไม่เหงาแม้จะอยู่คนเดียวก็ตาม
    -
    มีความศรัทธาต่อพุทธศาสนา แบบไม่งมงาย
    -
    ไม่ติดยึดในพิธีกรรมต่างๆ ที่ปฏิบัติแบบไม่มีเหตุผล
    -
    ไม่ค่อยขัดแย้งกับใคร
    -
    ทำงานได้คล่องแคล่ว เบิกบาน
    -
    เป็นที่รักของคนดีๆ
    -
    มีสติปัญญาดีแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
    -
    รู้จักแยกแยะอะไรควร ไม่ควร เวลานี้ควรทำอะไรไม่ทำอะไร
    -
    การพูดจาและกระทำ มีการฉุกคิดก่อน
    -
    เป็นคนไม่เย่อหยิ่งถือตัวถือตน
    -
    มีอารมณ์ดีตลอด
    -
    มีชีวิตที่เรียบง่าย ไม่ทะเยอทะยานแต่ไม่ขี้เกียจ
    -
    ได้รับสิ่งที่ดีที่สุดในชีวิต รู้สึกว่าไม่สียชาติเกิด
    -
    มีชะตากรรมที่ดี เวลาลำบากจะมีบางอย่างเข้ามาช่วย
    -
    เข้าใจในธรรมะที่พระพุทธเจ้าสอนอย่างลึกซึ้ง
    -
    เป็นปัจจัยไปสู่การบรลุธรรมในอนาคต
    -
    ไม่กังวลในเรื่องอนาคตแม้ปัจจุบันจะอยู่ในสถานะการเลวร้าย
    -
    ไม่อาลัยถึงอดีตไม่รู้สึกว่าถ้าย้อนเวลาได้อยากกลับไปแก้ไขอะไร
    -
    ไม่อยากผิดศีลแต่มีปัญญาในการใช้ชีวิต ไม่ถือศลีแบบซื่อบื้อ
    -
    ไม่กลัวตายเพราะรู้ว่าความตายเป็นเรื่องธรรมชาติ
    -
    ในขณะเดียวกันก็รู้สึกว่าชีวิตมีค่าไม่ใช้ชีวิตเหลวแหลก รู้จักถนอม ดูแลตัวเอง
    -
    มีใจเบิกบานได้โดยไม่ต้องพึ่งอะไรไม่ต้องพึ่งอินเตอร์เน็ต แฟน ฯลฯ
    -
    รู้จักใช้ของ ไม่ฟุ่มเฟือย แต่ก็ไม่งกไม่ตระหนี่โดยไม่พิจารณาเหตุผล
    -
    มีเป้าหมายชีวิตที่ชัดเจน คือโลกุตตระ
    -
    เห็นว่าความสุขทางโลกเป็นของไม่น่าสนใจ

    จริงๆ มีประโยชน์มากกว่านี้ บรรยายไม่หมดครับ พอสัเขปให้เป็นแนวทางก็แล้วกันนะครับ
     
  16. GluayNewman

    GluayNewman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +747
    ถ้าติดตามอ่านมาตั้งแต่ต้นจะทราบว่า ผมฝึกเพราะว่าป่วย
    และก็รู้จักได้ด้วยความบังเอิญ ไม่ได้เกิดจากความตั้งใจจะฝึกมันครับ

    แต่เมื่อรู้จักมันแล้ว ทำให้รู้ได้ว่า การเจริญสัมมาสมาธิ ทำอย่างไร
    รู้ได้ว่า สมาธิที่ไม่ได้ประกอบด้วยสติ คือความรู้สึกตัว เป็นสมาธิที่เสี่ยงต่อการติดข้อง ติดในสุข ติดในสงบ และเสี่ยงต่อการปรุงแต่งอัตตาตัวตน ว่าฉันรู้ ฉันเก่ง เป็นอย่างยิ่ง

    ถ้าเราไปเพ่งๆๆ ด้วยความอยากให้จิตสงบ อยากให้มีความสุข แบบนั้น จิตจะไม่ได้เรียนรู้อะไร นอกจากพยายามจะเสพความสงบ ความสุข หรือแม้แต่ต้องการมีฤทธิ์ ก็เป็นกิเลสอีกรูปแบบหนึ่ง ไปทำแบบนั้น ก็คงยังอยู่ในวังวนแห่งวัฏฏะสงสาร ไม่มีที่สิ้นสุด

    การจะพ้นไปจากสิ่งเหล่านี้จริงๆ จะต้องให้จิตได้เรียนรู้ความจริง เรียนใน สภาวะที่บรมครูของเรากล่าวว่า มันเป็นไตรลักษณ์ มันเป็นอย่างไร
    ให้จิตเรียนรู้เอง เข้าใจเอง เข้าถึงเอง
    เรียนแล้ว จิตก็จะเกิดนิพิทา เบื่อหน่ายคลายกำหนัดเอง
    และก็เกิดวิมุติ หลุดพ้นจากพันธนาการเอง...สมตามความหมาย ตรัสรู้ ซึ่งแปลว่า รู้เอง ไม่ใช่เราไปกำหนดให้จิตรู้ แบบนั้น

    การฝึกสัมมาสมาธิ คือ วิธีการหนึ่ง ในการเข้าถึงความจริงในข้อนี้
    โดยเป็นวิธีการที่เหมาะสมกับคนมีจริตทางสมถะนำ
    การเจริญสัมมาสมาธิ ก็เริ่มได้หลายวิธี แยกย่อยไปตามจริตอีก
    บางคนถนัดอานาปา บางคนถนัดกสิน ฯลฯ
    ทั้งหมด ทั้งมวล ก็เป็นไปเพื่อความหลุดพ้น ทั้งสิ้นครับ

    สรุปว่า สัมมาสมาธิ ต้องประกอบด้วยสัมมาสติ เป็นหลัก (และแน่นอน สัมมาอื่นๆ อีก 6 ตาม มรรค มีองค์ 8)
     
  17. apichan

    apichan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    825
    ค่าพลัง:
    +4,424
    วันอาทิตย์นี้ถ้าหลวงพ่อมาได้ที่นั่งจะพอหรือเปล่าครับ :)
     
  18. GluayNewman

    GluayNewman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +747
    วันอาทิตย์ื หลวงพ่อท่านยังไม่แน่ว่าจะมาได้หรือเปล่านะครับ
    พอดีที่วัดสนามในอาจมีประชุม และอาจนิมนต์หลวงพ่อไปร่วมด้วย ตอนบ่ายโมงพอดีเลย
    คอยติดตามข่าวอีกทีนะครับ จะแจ้งอีกที น่าจะรู้ชัดๆ วันเสาร์เลยด้วยซ้ำครับ

    แต่อย่างไรเสวนา ก็จะจัดตามเวลาเดิมนะครับ
     
  19. หนูฝ้าย^^

    หนูฝ้าย^^ สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    98
    ค่าพลัง:
    +0
    เข้ามายกนิ้วให้ค่ะ โมทนาๆ.เข้าใจง่ายดี ไม่สลับซับซ้อน.สาธุๆ
     
  20. GluayNewman

    GluayNewman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    361
    ค่าพลัง:
    +747
    มาฝึกกสินกันต่อนะครับ

    อย่างที่บอกครับ คนเรามีหลายจริต สำหรับคนที่มีจริต หรือมี "ของเก่า" ทางสมถยานิก
    คือฝึกสมาธิได้อย่างรวดเร็ว กสิน ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง
    กสินที่ผมนำมาแนะนำนี้ เกิดจากประสบการณ์ตรง ไม่ใช่ตำรา
    มีประโยชน์ ช่วยให้ความทุกข์ลดลง ทั้งร่างกาย และจิตใจ
    แล้วก็ ไม่ทำให้ติดหลง หลงนิมิต หลงฌาน อันเป็นเครื่องกั้นการเดินทางสู่ความพ้นทุกข์ครับ

    ต่อกันเลย : ความรู้พื้นฐานของธาตุกสิน

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ถ้าเรามองให้ละเอียดลงไปที่ภายในร่างกาย ละเอียดลงไปกว่าจะเป็นอวัยวะ ร่างกายทั้งหมดของเราก็คือเซลล์ หลายๆ เซลล์มาประกอบกัน
    บางกลุ่มก็ประกอบเป็นกระดูก บางกลุ่มก็ประกอบเป็นหัวใจ เป็นอวัยวะต่างๆ ฯลฯ

    และและเซลล์ก็ประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐาน คือ เย็น ร้อน อ่อน แข็ง
    ถ้าเป็นเซลล์กระดูกก็มีความแข็งเยอะหน่อย ถ้าเป็นเซลล์ตับไตก็อาจมีความร้อนเยอะหน่อย ถูกไม๊ครับ
    ทีนี้ ถ้าองค์ประกอบเหล่านั้น เกิดผิดปกติ มีมากไป น้อยไป มันก็จะเกิดเวทนา เป็นความผิดปกติ ตั้งแต่ในระดับเล็กๆ
    เกิดเป็นอาการต่างๆ ปวดเมื่อย เจ็บ และเป็นโรคขึ้นมา

    นั่นคือสมุฏฐานของการเกิดโรคทั้งหมด ทั้งมวล

    เราฝึก ธาตุกสิน ก็เพื่อเป็นการรู้จัก ปรับ และแก้ไข ธาตุพื้นฐาน คือ เย็นร้อน อ่อน แข็ง
    นั่นคือไปปรับแก้ไขสมุฏฐานของการเกิดโรค

    ตรงไหนร้อน ก็เอาความเย็นไปปรับแก้ ตรงไหนแข็ง ตึง บวม ก็เอาความอ่อนไปปรับแก้
    โดยสภาพของจิต เป็นสิ่งที่ไม่มีรูปร่าง เคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงได้อย่างอิสระ
    ถ้าเรารู้จักฝึกมันให้มีพลังอำนาจแล้วมันก็จะเปลี่ยนตัวเองเป็นอะไรก็ได้
    ขึ้นอยู่กับพลังอำนาจของจิต ที่เกิดจากการฝึก แต่สำคัญ จิตต้องสะอาด บริสุทธิ์
    ถ้าถูกห่อหุ้มด้วยกิเลสหยาบๆ อยู่ จิตจะไม่มีพลังอำนาจเลย

    ดังนั้น ถ้าจิตบริสุทธิ์ เราสร้างมันให้กลายเป็นธาตุพื้นฐาน มันก็สามารถทำได้
    พลังอำนาจของความสะอาด บริสุทธิ์ มีมากจนผู้ที่ฝึกฝนอย่างอุกฤษ์ ก็สามารถแสดงฤทธื์ได้
    เพราะเป็นไปตามคุณสมบัติ และกระบวนการตามธรรมชาติ
    แต่ก่อนเราทำไม่ได้.....เพียงแต่เราไม่รู้จักมัน เพราะไม่เคยศึกษา และฝึกฝนเท่านั้นเองครับ


    นี่เอง ธาตุกสิน จึงสามารถเอามารักษาโรคได้
    เพียงแต่เราต้องค่อยๆ ฝึกมันไป ต้องใช้เวลาซักหน่อย
    มันไม่สะอาด บริสุทธิ์ ไม่นิ่ง ไม่อยู่ในอาณัติ จะไปปรับแก้อะไรก็ยาก เราก็ค่อยๆ ฝึกไป ...ได้ก็ช่าง ม่ได้ก็ช่าง
    ให้กระบวนการธรรมชาติเกิดขึ้นเอง ในที่สุก็จะสามารถไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่มากก็น้อย ตามลำดับครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 กุมภาพันธ์ 2012

แชร์หน้านี้

Loading...