การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย HONGTAY, 10 เมษายน 2007.

  1. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table border="0" cellpadding="8" width="760"><tbody><tr><td height="51">ภาวะโลกร้อน


    </td> </tr> <tr> <td height="36">ภาวะโลกร้อน ถูกหยิบยกมาเป็นประเด็นร้อนของนานาชาติในปี 2005 จากผลงานวิจัยภาวะโลกร้อน ของนักวิทยาศาสตร์หลายชิ้น และข้อเท็จจริงของสภาพภูมิอากาศที่เลวร้าย ที่เกิดขึ้นกับโลก อาทิ น้ำแข็งขั้วโลกเหนือละลาย การเกิดพายุเฮอร์ริเคนที่รุ่นแรงหลายลูกในอ่าวเม็กซิโก และความแห้งแล้งบริเวณลุ่มน้ำอะเมซอน เป็นต้น
    สหประชาชาติได้จัดประชุมนานาชาติ ว่าด้วยสภาวะอากาศโลก ที่นครมอนทรีออล ประเทศแคนาดา เมื่อต้นเดือนธันวาคม 2005 ที่ผ่านมา การประชุมครั้งนี้ มีอดีตประธานาธิบดี บิล คลินตัน แห่งสหรัฐอเมริกา กล่าวในที่ประชุมตำหนิ สหรัฐอเมริกา ว่าคิดผิดอย่างสิ้นเชิง ที่ปฏิเสธการให้สัตยาบันในพิธีสารเกียวโต เพราะประธานาธิบดีบุช เชื่อว่า จะทำลายเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา คลินตันกล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงมาใช้พลังงานที่สะอาด จะสร้างงานให้กับคนอเมริกาเป็นล้านๆ ตำแหน่ง

    </td> </tr> <tr> <td height="36"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="754"> <tbody><tr> <td width="213">
    [​IMG]
    </td> <td width="541">[SIZE=+1]“ผมชอบพิธีสารเกียวโต ผมช่วยเขียนมันขึ้น และลงนามด้วย” [/SIZE]ลินตันกล่าว และได้รับเสียงปรบมืออย่างกึกก้อง
    [SIZE=+1]คลินตันยังกล่าวประณามสหรัฐอเมริกา ว่าเป็นประเทศที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนมากที่สุด เพราะมีประชากรเพียง 4% ของโลก แต่ปล่อยก๊าซเรือกระจก ที่เป็นสาเหตุทำให้อุณหภูมิโลกร้อนสูงขึ้นมาก เกือบ 25% ของปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยจากทั่วโลก[/SIZE]
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td height="36">ล่าสุดในเดือนธันวาคม 2005 นักวิทยาศาสตร์ได้เผยแพร่ผลงานวิจัยสองชิ้น ซึ่งยืนยันภาวะโลกร้อนที่น่าเป็นห่วงอย่างยิ่ง
    ผลงานวิจัยชิ้นแรก เป็นของทีมนักวิทยาศาสตร์ยุโรป ซึ่งศึกษาน้ำแข็งใต้พื้นผิวทวีปแอนตาร์กติกา บริเวณไซต์งานที่เรียกว่า Dome Concordia (Dome C)
    การศึกษาเริ่มขึ้นตั้งแต่ปี 1999 ตามโครงการ European Project for Ice Coring in Antarctica (Epica) โดยเจาะพื้นผิวแอนตาร์กติกา ลึกถึง 3,270 เมตร เพื่อศึกษาย้อนอดีตกลับไปในช่วงเวลาเกือบ 900,000 ปี
    ฟองก๊าซซึ่งถูกเก็บกักในน้ำแข็ง จะให้ข้อมูลของก๊าซและการผสมผสานของก๊าซ ในบรรยากาศในช่วงเวลานั้น และข้อมูลของอุณหภูมิด้วย
    </td> </tr> <tr> <td height="36"><table align="center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="754"> <tbody><tr> <td width="381">
    [​IMG]
    </td> <td width="373">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td height="48" valign="top">
    โดมคอนคอร์เดีย แอนตาร์กติกา​
    </td> <td>
    ฟองก๊าซจะถูกเก็บกักในน้ำแข็ง
    ซึ่งจะบอกข้อมูลก๊าซ และอุณหภูมิในอดีต​
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td height="36">สิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ทีมนี้ค้นพบก็คือ ระดับก๊าซเรือนกระจก คือ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และมีเทน ในบรรยากาศปัจจุบัน สูงกว่าช่วงเวลาใดๆ ในระยะเวลา 650,000 ปีที่ผ่านมา และเป็นสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ทีมนี้บอกว่า ไม่อาจจะยอมรับได้
    ศาสตราจารย์ โธมัส สตอคเกอร์ จากมหาวิทยาลัยเบิร์น สวิตเซอร์แลนด์ หัวหน้าโครงการอีพิกา กล่าวถึงการค้นพบครั้งนี้ว่า
    [SIZE=+1]“เราพบว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ใในปัจจุบันสูงกว่าช่วงเวลาใดๆ ที่ผ่านมาราว 30% และมีเทนราว 130% และเป็นอัตราการเพิ่มขึ้นที่รับไม่ได้ โดยเฉพาะก๊าซคาร์บอนออกไซด์มีอัตราเพิ่มขึ้นเร็วกว่า 200 เท่าของช่วงเวลาใดๆ ในระยะเวลา 650,000 ปี”[/SIZE]
    งานวิจัยอีกชิ้นหนึ่งเป็นผลงานของนักวิจัยจาก UK Met Office และมหาวิทยาลัยอีสแองเกลีย สหราชอาณาจักร นักวิจัยทีมนี้พบว่า ปี 2005 เป็นปีที่ซีกโลกเหนือร้อนมากที่สุด นับตั้งแต่มีการบันทึกกันมา และยังเป็นครั้งที่สอง ที่โลกร้อนที่สุด นับตั้งแต่ปี 1986 เป็นต้นมาอีกด้วย
    </td> </tr> <tr> <td height="36">
    <table align="center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="754"> <tbody><tr> <td>
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td height="27">
    ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิในซีกโลกเหนือ ปี 2005 เปรียบเทียบกับปี 1960 - 1990​
    </td> </tr> </tbody></table> ​
    </td> </tr> <tr> <td height="36">ข้อมูลบ่งชี้ว่า ระดับอุณหภูมิที่สูงขึ้นโดยเฉลี่ย ในซีกโลกเหนือเท่ากับ 0.65 เซลเซียส สูงกว่าอุณหภูมิเฉลี่ยระหว่างปี 1961-1990 และอุณหภูมิพื้นผิวทะเล ในมหาสมุทรแอตแลนติก ก็สูงที่สุดนับตั้งแต่ปี 1880 ด้วย ส่วนอุณหภูมิของโลกทั้งใบ สูงขึ้นเท่ากับ 0.48 เซลเซียส สูงที่สุดเป็นครั้งที่สองนับตั้งแต่ปี 1998 เป็นต้นมา
    โลกร้อนขึ้นแน่ๆ แต่การคำนวณอุณหภูมิ มีความน่าเชื่อถือเพียงใด เรื่องนี้ เดวิด ไวเนอร์ หนึ่งในทีมงานบอกว่า ไม่มีวิธีการใดที่จะคำนวณอุณหภูมิได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์ อย่างไรก็ตาม เขาเชื่อว่า การคำนวณของทีมงาน จะผิดพลาดได้ไม่เกินบวกลบ 1 องศาเซลเซียส ไวเนอร์ยังบอกว่า แนวโน้มในระยะยาว ค่อนข้างชัดเจนว่า อุณหภูมิของโลกจะสูงขึ้น และเร็วขึ้นกว่าทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งชี้ว่าเป็นฝีมือของมนุษย์ที่ทำให้โลกร้อนขึ้น
    [SIZE=+1]“มันเป็นเรื่องฟิสิกส์ง่ายๆ เมื่อมีก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศมากขึ้นจากการปลดปล่อยของโลก ผลที่ตามมาก็คือ อุณหภูมิที่สูงขึ้น”[/SIZE] ไวเนอร์กล่าว
    ข้อมูลภาวะโลกร้อนที่น่าตกใจก็คือ นับตั้งแต่ปี 1860 เป็นต้นมา 8 ใน 10 ของปีที่ร้อนที่สุดเกิดขึ้นในทศวรรษที่แล้ว
    ผู้เชี่ยวชาญเชื่อว่า ตราบใดที่สหรัฐอเมริกา ไม่ร่วมกับนานาชาติ ในการลดก๊าซเรือนกระจก ก็ยากที่จะแก้ไขปัญหาโลกร้อนได้
    บิล คลินตัน พูดไว้น่าจับใจ เขาบอกว่า ขณะนี้ไม่มีข้อเคลือบแคลงใดๆ ว่าสภาวะการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ กำลังขยายตัวออกไป เพราะการกระทำของมนุษย์ และว่าโลกนี้เป็นความมหัศจรรย์ทางชีวเคมี ดังนั้น การทำลายองค์ประกอบของความมหัศจรรรย์ จึงเป็นอันตรายอย่างยิ่งในอนาคต
    [SIZE=+1]“ถือว่าเราบ้าเอามากๆ ถ้าหากมามัวนั่งเล่นเกมอยู่ กับอนาคตของลูกหลานของตัวเอง” คลินตันกล่าว[/SIZE]

    </td> </tr> <tr> <td height="36"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="754"> <tbody><tr> <td width="77"> </td> <td width="677"> </td> </tr> <tr> <td>ที่มา: </td> <td>คอลัมน์ [SIZE=+1]ไลฟ์&เทค[/SIZE] หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน ฉบับวันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม 2548 หน้า 19</td> </tr> <tr> <td> </td> <td>โดย บัณฑิต คงอินทร์</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  2. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table cellpadding="0" cellspacing="5" width="98%"><tbody><tr bgcolor="#f6f6f6"><td style="border-top: 1px solid rgb(232, 232, 232); border-bottom: 1px solid rgb(232, 232, 232);" height="25" width="90%">แผนที่อากาศผิวพื้น </td> </tr> <tr> <td width="100%"> <table border="0" cellpadding="3" cellspacing="0"><tbody><tr><td rowspan="13" class="II" valign="top">[​IMG] 23 เมย 50 07:00 น.
    [​IMG]</td></tr><tr><td align="center" valign="top" width="120">[​IMG] 23 เมย 50 01:00 น.</td></tr><tr><td align="center" valign="top" width="120">[​IMG] 22 เมย 50 19:00 น.</td></tr><tr><td align="center" valign="top" width="120">[​IMG] 22 เมย 50 13:00 น.</td></tr><tr><td align="center" valign="top" width="120">[​IMG] 22 เมย 50 07:00 น.</td></tr><tr><td align="center" valign="top" width="120">[​IMG] 22 เมย 50 01:00 น.</td></tr><tr><td align="center" valign="top" width="120">[​IMG] 21 เมย 50 19:00 น.</td></tr><tr><td align="center" valign="top" width="120">[​IMG] 21 เมย 50 13:00 น.</td></tr><tr><td align="center" valign="top" width="120">[​IMG] 21 เมย 50 07:00 น.</td></tr><tr><td align="center" valign="top" width="120">[​IMG] 21 เมย 50 01:00 น.</td></tr><tr><td align="center" valign="top" width="120">[​IMG] 20 เมย 50 19:00 น.</td></tr><tr><td align="center" valign="top" width="120">[​IMG] 20 เมย 50 13:00 น.</td></tr><tr><td> </td></tr></tbody></table> </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" width="98%"><tbody><tr><td align="center" valign="top" width="50%"> <table cellpadding="0" cellspacing="5" width="98%"> <tbody><tr bgcolor="#f6f6f6"> <td style="border-top: 1px solid rgb(232, 232, 232); border-bottom: 1px solid rgb(232, 232, 232);" height="25" width="90%"> แผนที่ลมชั้นบน ระดับ 600 meters </td> </tr> <tr> <td width="100%"> <table border="0" cellpadding="3" cellspacing="0"><tbody><tr><td rowspan="4" class="II" valign="top">[​IMG] 23 เมย 50
    [​IMG]</td></tr><tr><td align="center" valign="top" width="100">[​IMG] 22 เมย 50 </td></tr><tr><td align="center" valign="top" width="100">[​IMG] 21 เมย 50 </td></tr><tr><td height="120"> </td></tr></tbody></table> </td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="5" width="98%"> <tbody><tr bgcolor="#f6f6f6"> <td style="border-top: 1px solid rgb(232, 232, 232); border-bottom: 1px solid rgb(232, 232, 232);" height="25" width="90%"> แผนที่ลมชั้นบน ระดับ 850 hPa </td> </tr> <tr> <td width="100%"> <table border="0" cellpadding="3" cellspacing="0"><tbody><tr><td rowspan="4" class="II" valign="top">[​IMG] 22 เมย 50
    [​IMG]</td></tr><tr><td align="center" valign="top" width="100">[​IMG] 22 เมย 50 </td></tr><tr><td align="center" valign="top" width="100">[​IMG] 21 เมย 50 </td></tr><tr><td height="150">
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>

    http://www.tmd.go.th/weather_map.php

     
  3. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="567"><tbody><tr><td valign="top">ผอ.หวั่นอากาศร้อนต่อเนื่อง-อาจเกิดไฟป่าระลอก 2</td> </tr> <tr> <td valign="top">23 เมษายน 2550 12:49 น.</td> </tr> <tr> <td class="Text_Story" valign="top"><!-- [​IMG] ผอ.ควบคุมและปฏิบัติการไฟป่าฯ เตรียมรับมือหากอากาศร้อนต่อเนื่องนานกว่า 2 สัปดาห์ คาดจะเกิดไฟป่าระลอกสอง ด้านชาวบ้านในพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ร่วมกับอำเภอ-กำนัน-ผู้ใหญ่บ้าน ตั้ง “กองทุนไฟป่า” นำรายได้จัดหาอาหารให้กับอาสาสมัครที่เข้าร่วมทำการดับไฟ
    (23เม.ย.) นายอนันต์ สอนง่าย หัวหน้าอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เปิดเผยว่า หลังจากที่เกิดไฟป่าขึ้นเป็นพื้นที่กว้างในหลายอำเภอของจังหวัดเชียงใหม่จนส่งผลให้ประสบกับปัญหาหมอกควันจนถึงขั้นวิกฤติในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายนที่ผ่านมานั้น
    อย่างไรก็ตาม จนถึงขณะนี้สถานการณ์ไฟป่าในพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ไม่มีการเผาป่าเพิ่ม แต่ในระยะนี้กลับพบว่าอากาศในภาคเหนือมีอุณภูมิสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งอาจจะทำให้เกิดไฟป่าจากภาวะอากาศร้อนขึ้นได้ ดังนั้นทางอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์จึงประสานไปยังนายอำเภอจอมทอง เพื่อเตรียมรับมือหากมีไฟป่าเกิดขึ้นในพื้นที่เป็นรอบที่ 2 ของปีนี้
    “หลังจากเกิดไฟป่าขึ้นในจังหวัดเชียงใหม่จนทำให้เกิดปัญหาหมอกควันจนเข้าขั้นวิกฤติ ชาวบ้านมีความตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นอย่างมาก ทำให้ชาวบ้านร่วมกับอำเภอและกำนัน,ผู้ใหญ่บ้านในพื้นที่ มีการตั้งกองทุนไฟป่าขึ้นโดยจะนำเม็ดเงินที่ได้รับบริจาคและเงินที่ชาวบ้านสมทบมาใช้ในการจัดหาอาหารให้กับอาสาสมัครที่เข้าร่วมทำการดับไฟหากมีไฟป่าเกิดขึ้นในพื้นที่”นายอนันต์กล่าว
    ด้านนายสุรพล ลีลาวโรภาส ผู้อำนวยการส่วนควบคุมและปฏิบัติการไฟป่า สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 กล่าวว่า สถานการณ์ไฟป่าในขณะนี้นั้นยังคงไม่พบไฟป่าเกิดขึ้นในพื้นที่จังวัดเชียใหม่ ที่ผ่านมาทางกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืชร่วมกับกองทัพบกได้ทำ “โครงการ7วันปลอดควันพิษ”ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ระหว่างวันที่ 11-17 เมษยามที่ผ่านมา พบว่าการบุกรุกเผาป่าของชาวบ้านลดลง
    ทั้งนี้การเฝ้าระวังการเกิดไฟป่านั้นเป็นที่น่าจับตามองว่า หากสถานการณ์ภาวะอากาศร้อนยังมีอย่างต่อเนื่องอีกสัก 2 สัปดาห์ อาจจะทำให้ให้มีโอกาสเกิดไฟป่าระลอกที่ 2 ขึ้นในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่และลำพูน เนื่องจากเป็นพื้นส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ป่าเต็งรังพื้นที่กว้าง โดยชุดปฏิบัติการไฟป่าก็จะมีการจัดชุดลาดตระเวนเฝ้าระวังตลอด 24ชั่วโมง
    กระนั้น การปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยต่างๆของส่วนควบคุมและปฏิบัติการไฟป่า ยังคงความเข้มงวดเช่นเดียวกับในช่วงที่จังหวัดเชียงใหม่ประสบกับปัญหาสภภาวะหมอกควันที่ปกคลุมอยู่เช่นเดิม แต่ก็เชื่อว่าหากมีไฟป่าเกิดขึ้นจริงความรุนแรงจะน้อยกว่าที่ผ่านมาเพราะในพื้นที่มีลมพัดตลอดเวลา อีกทั้งอาจจะเกิดฝนตกในพื้นที่เนื่องจากมีความกดอากาศสูงจากประเทศจีนแปกคลุมมายังประเทศไทยในระยะอันใกล้นี้

    --> ผอ.ควบคุมและปฏิบัติการไฟป่าฯ เตรียมรับมือหากอากาศร้อนต่อเนื่องนานกว่า 2 สัปดาห์ คาดจะเกิดไฟป่าระลอกสอง ด้านชาวบ้านในพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ร่วมกับอำเภอ-กำนัน-ผู้ใหญ่บ้าน ตั้ง “กองทุนไฟป่า” นำรายได้จัดหาอาหารให้กับอาสาสมัครที่เข้าร่วมทำการดับไฟ
    (23เม.ย.) นายอนันต์ สอนง่าย หัวหน้าอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เปิดเผยว่า หลังจากที่เกิดไฟป่าขึ้นเป็นพื้นที่กว้างในหลายอำเภอของจังหวัดเชียงใหม่จนส่งผลให้ประสบกับปัญหาหมอกควันจนถึงขั้นวิกฤติในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายนที่ผ่านมานั้น
    อย่างไรก็ตาม จนถึงขณะนี้สถานการณ์ไฟป่าในพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ไม่มีการเผาป่าเพิ่ม แต่ในระยะนี้กลับพบว่าอากาศในภาคเหนือมีอุณภูมิสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งอาจจะทำให้เกิดไฟป่าจากภาวะอากาศร้อนขึ้นได้ ดังนั้นทางอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์จึงประสานไปยังนายอำเภอจอมทอง เพื่อเตรียมรับมือหากมีไฟป่าเกิดขึ้นในพื้นที่เป็นรอบที่ 2 ของปีนี้
    “หลังจากเกิดไฟป่าขึ้นในจังหวัดเชียงใหม่จนทำให้เกิดปัญหาหมอกควันจนเข้าขั้นวิกฤติ ชาวบ้านมีความตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นอย่างมาก ทำให้ชาวบ้านร่วมกับอำเภอและกำนัน,ผู้ใหญ่บ้านในพื้นที่ มีการตั้งกองทุนไฟป่าขึ้นโดยจะนำเม็ดเงินที่ได้รับบริจาคและเงินที่ชาวบ้านสมทบมาใช้ในการจัดหาอาหารให้กับอาสาสมัครที่เข้าร่วมทำการดับไฟหากมีไฟป่าเกิดขึ้นในพื้นที่”นายอนันต์กล่าว
    ด้านนายสุรพล ลีลาวโรภาส ผู้อำนวยการส่วนควบคุมและปฏิบัติการไฟป่า สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 กล่าวว่า สถานการณ์ไฟป่าในขณะนี้นั้นยังคงไม่พบไฟป่าเกิดขึ้นในพื้นที่จังวัดเชียใหม่ ที่ผ่านมาทางกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืชร่วมกับกองทัพบกได้ทำ “โครงการ7วันปลอดควันพิษ”ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ระหว่างวันที่ 11-17 เมษยามที่ผ่านมา พบว่าการบุกรุกเผาป่าของชาวบ้านลดลง
    ทั้งนี้การเฝ้าระวังการเกิดไฟป่านั้นเป็นที่น่าจับตามองว่า หากสถานการณ์ภาวะอากาศร้อนยังมีอย่างต่อเนื่องอีกสัก 2 สัปดาห์ อาจจะทำให้ให้มีโอกาสเกิดไฟป่าระลอกที่ 2 ขึ้นในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่และลำพูน เนื่องจากเป็นพื้นส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ป่าเต็งรังพื้นที่กว้าง โดยชุดปฏิบัติการไฟป่าก็จะมีการจัดชุดลาดตระเวนเฝ้าระวังตลอด 24ชั่วโมง
    กระนั้น การปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยต่างๆของส่วนควบคุมและปฏิบัติการไฟป่า ยังคงความเข้มงวดเช่นเดียวกับในช่วงที่จังหวัดเชียงใหม่ประสบกับปัญหาสภภาวะหมอกควันที่ปกคลุมอยู่เช่นเดิม แต่ก็เชื่อว่าหากมีไฟป่าเกิดขึ้นจริงความรุนแรงจะน้อยกว่าที่ผ่านมาเพราะในพื้นที่มีลมพัดตลอดเวลา อีกทั้งอาจจะเกิดฝนตกในพื้นที่เนื่องจากมีความกดอากาศสูงจากประเทศจีนแปกคลุมมายังประเทศไทยในระยะอันใกล้นี้




    http://www.komchadluek.net/

    </td></tr></tbody></table>
     
  4. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ฉบับที่สองระบุปัญหาภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงจะส่งผลกระทบต่อผู้คนนับพันล้านในทุกทวีปอ

    ฉบับที่สองระบุปัญหาภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงจะส่งผลกระทบต่อผู้คนนับพันล้านในทุกทวีปอย่างหนีไม่พ้น โดยผู้ที่ต้องแบกรับภาระหนักที่สุดคือบรรดาประเทศยากจน อีกทั้งยังอาจทำให้สิ่งมีชีวิตเกือบ 1 ใน 3 เสี่ยงสูญพันธุ์ถาวร แนะยืดอายุพีธีสารเกียวโตเพื่อบรรเทาปัญหา พร้อมเผยรายงานฉบับต่อไปเดือนหน้าในกรุงเทพฯ คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยความเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ หรือ “ไอพีซีซี” (Intergovernmental Panel on Climate Change : IPCC) ที่ตั้งขึ้นโดยองค์การสหประชาชาติ (ยูเอ็น) แถลงเปิดเผยรายงานการคาดการณ์ฉบับสำคัญ ซึ่งได้ผ่านความเห็นชอบแล้วจากสมาชิกกว่า 100 ประเทศ ในวันที่ 6 เม.ย. หลังจากที่ถกเถียงกันมาราธอนอย่างดุเดือดจากผู้ร่วมประชุมนาน 24 ชั่วโมงเกี่ยวกับเนื้อหาของร่างรายงานดังกล่าว ณ กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยี่ยม
    ไอพีซีซีชี้ว่า ก๊าซเรือนกระจก จะส่งผลกระทบต่อระบบลมฟ้าอากาศของโลก ทำให้รูปแบบการเกิดฝนเปลี่ยนแปลง และยังทำให้พายุมีกำลังความรุนแรงมากขึ้น อีกทั้งยังก่อให้เกิดความเสี่ยงที่จะจะเกิด ปัญหา ภัยแล้ง น้ำท่วม และแหล่งน้ำเหือดแห้ง
    [​IMG]
    ภาพแผนที่โลก แสดงบริเวณที่ได้รับผลกระทบ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศยากจน (The New York Times)

    ราเชนทรา ปาจาอุรี (Rajendra Pachauri) ประธานไอพีซีซีแถลงว่า กลุ่มคนยากจนจะเป็นผู้ที่ตกอยู่ในภาวะเสี่ยงมากที่สุด และยังจะได้รับผลกระทบรุนแรงที่สุดจากผลกระทบของ ภาวะโลกร้อน ฉะนั้น ปัญหานี้จึงเป็นความรับผิดชอบร่วมกันระดับโลก
    ผลกระทบสำคั้ญที่จะเกิดขึ้นจากปัญหาดังกล่าวไอพีซีซี คาดการณ์ว่า สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์มากถึง 30% จะตกอยู่ในภาวะเสี่ยงสูญพันธุ์ หากว่าอุณหภูมิทั่วโลกปรับตัวสูงขึ้นประมาณ 1.5-2.5 องศาเซลเซียส, ประชาชนในทวีปแอฟริการาว 75-250 ล้านคนจะต้องเผชิญกับการขาดน้ำภายในปี 2020 และไม่เกินปีเดียวกันนี้พื้นที่การเกษตรในแอฟริกาที่ต้องอาศัยน้ำฝนในการเพาะปลูก ผลผลิตจะลดลงถึง 50%
    ส่วนประเทศทางตอนเหนือก็จะไม่มีธารน้ำแข็งและหิมะปกคลุมอีกต่อไป ส่งผลให้หลายๆ ประเทศที่อาศัยแหล่งน้ำจากธารน้ำแข็งละลายมีปริมาณน้ำลดลง และจะไม่มีทวีปไหนสามารถรอดพ้นจากผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได้ ถึงแม้ว่าอุณหภูมิในทวีปนั้นจะเพิ่มสูงขึ้นเพียงเล็กน้อยก็ตาม
    “มีความเป็นไปได้เหลือเกินที่ทุกภูมิภาคจะต้องประสบกับปัญหาผลประโยชน์ต้องเสื่อมเสียลงไป หรือไม่ก็ต้นทุนต้องเพิ่มขึ้นมา จากการที่ระดับอุณหภูมิมีปรับตัวสูงขึ้นมากกว่า 2-3 องศาเมื่อเทียบกับในช่วงปี 1990” เป็นเนื้อหาตอนหนึ่งใน “บทสรุปสำหรับผู้กำหนดนโยบาย” ในรายงานของไอพีซีซี คราวนี้
    แหล่งข่าวเปิดเผยว่า การประชุมตลอดช่วงสัปดาห์นี้ สมาชิกของไอพีซีซีได้มีการถกเถียงกันอย่างหนักถึงเนื้อหาในร่างบทสรุปนี้เอง อีกทั้งกำหนดการเผยแพร่บทสรุปดังกล่าวยังถูกเลื่อนออกไป หลังจากที่สหรัฐฯ จีน และซาอุดีอาระเบียพากันคัดค้านการใช้ถ้อยคำ “รุนแรง” ในบทสรุป จนถึงขั้นตัวแทนคนหนึ่งออกมากล่าวหาว่า การประชุมที่ควรเป็นการหารือของบรรดานักวิทยาศาสตร์คราวนี้ กำลังถูกการเมืองแทรกแซง
    บทสรุปดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของรายงานฉบับเต็มซึ่งมีจำนวนรวมทั้งสิ้น 1,400 หน้า ที่ได้คาดการณ์เอาไว้ว่า ผู้คนเป็นจำนวนหลายพันล้านคนจะต้องเผชิญกับภาวะขาดแคลนน้ำ และคนอีกกว่าหลายร้อยล้านคนจะต้องประสบกับภาวะหิวโหย โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูมิภาคที่มีแต่ชาติยากจน ซึ่งมีส่วนน้อยที่สุดในการก่อมลพิษจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิลอันเป็นสาเหตุให้อุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น
    ผู้แทนที่เข้าประชุมหลายคนเผยว่า ด้วยการยืนกรานของสหรัฐฯ ร่างบทสรุปฉบับนี้จึงถูกตัดทอนย่อหน้าที่ระบุว่า อเมริกาเหนือ “ได้รับการคาดหมายว่าจะประสบความเสียหายอย่างสาหัส ในด้านเศรษฐกิจของท้องถิ่น ตลอดจนความแตกสลายแห่งระบบนิเวศอันพอเพียงในตนเอง และความแตกสลายทางสังคมและวัฒนธรรม” นอกจากนั้นยังมีการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ อีก จากการยืนกรานของซาอุดีอาระเบีย และจีน
    อย่างไรก็ตาม แหล่งข่าวซึ่งเห็นดีเห็นงามกับการตัดข้อความ “รุนแรง” จากบทสรุป กล่าวแก้ต่างว่าถึงอย่างไรข้อมูลทั้งหมดก็ยังคงอยู่ในรายงานตัวหลัก และมันยังคงเป็นสารที่ทรงพลังเข้มแข็งมาก
    ทว่ารายงานฉบับนี้จะช่วยชี้แนะทางด้านนโยบายแก่รัฐบาลต่างๆ ในหลายเรื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นการขยายเวลาของพิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) ของยูเอ็นที่ตั้งขึ้นเพื่อลดปริมาณการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก สู่ชั้นบรรยากาศและกำลังจะหมดอายุลงในปี 2012
    รายงานที่เผยแพร่ในคราวนี้ เป็นส่วนที่สองในการประเมินหลักฐานต่างๆ ว่าด้วยความเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของไอพีซีซีในปีนี้ ซึ่งเป็นการประเมินครั้งแรกในรอบ 6 ปีที่ผ่านมา
    ในส่วนแรกของรายงานซึ่งเผยแพร่ไปตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์นั้น ไอพีซีซีบอกว่า อุณหภูมิของโลกได้เพิ่มขึ้น 0.74 องศาเซลเซียสแล้ว ในรอบร้อยปีที่ผ่านมา และส่วนใหญ่เป็นฝีมือของมนุษย์ ส่วนรายงานฉบับที่สามที่มีเนื้อหาระบุถึงปริมาณ ก๊าซเรือนกระจก ที่เพิ่มขึ้น ความเข้มข้น และวิกฤติของอุณหภูมิ และตามด้วยรายงานฉบับสุดท้ายอันเป็นผลสรุปของการค้นพบและคาดการณ์ทุกอย่างจะเปิดเผยในเดือน พ.ย. เป็นการส่งท้ายปี
    ทั้งนี้ คณะทำงานเพื่อพิจารณารายงานฉบับที่สามของไอพีซีซีนี้ มีกำหนดการประชุมระหว่างวันที่ 30 เม.ย. - 3 พ.ค. ณ ศูนย์การประชุมสหประชาชาติ ถนนราชดำเนิน กรุงเทพฯ และมีกำหนดจะเปิดเผยรายงานในวันที่ 4 พ.ค.ที่เดียวกัน
    Credit : http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9500000040515
     
  5. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    เหลือเวลาอีกเพียงน้อยนิดเท่านั้นที่จะหลบเลี่ยงสภาวะ อุณหภูมิ เพิ่มสูงอันจะก่อความเสียหายได้ ร่างรายงานขององค์การสหประชาชาติซึ่งมีกำหนดออกเผยแพร่ที่กรุงเทพฯ ในวันที่ 4 พ.ค. ชี้ว่า ภาวะโลกร้อน กำลังทำให้อุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นเกิน 2 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับยุคก่อนอุตสาหกรรม ซึ่งสหภาพยุโรปเห็นว่าเป็นระดับอุณหภูมิที่จะก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ “อย่างน่าอันตราย”
    รายงานนี้ถือเป็นส่วนที่ 3 ของคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยความเปลี่ยนแปลงของ ภูมิอากาศ (The Intergovernmental Panel on Climate Change : IPCC) ที่ออกมาในปี 2007 เนื้อหาของรายงานส่วนนี้เน้นหนักไปที่เหตุการณ์จำลอง 2 เหตุการณ์ โดยบอกว่า การจำกัดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก อาจมีค่าใช้จ่ายเท่ากับ 0.2% หรือ 0.6% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (จีดีพี)ทั่วโลก ในปี 2030
    บางตัวอย่างชี้ให้เห็นว่า มาตรการต่างๆ เป็นต้นว่า การเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น น้ำมันและถ่านหิน อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อาจช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจโลกได้เล็กน้อยด้วยซ้ำไป
    สำหรับสถานการณ์จำลองแบบเข้มงวดที่สุด ซึ่งรัฐบาลต่างๆจะต้องแน่ใจว่าการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก ทั่วโลกจะเริ่มลดลงภายในเวลา 15 ปี จะต้องเสียค่าใช้จ่าย 3% ของจีดีพีโลกภายในปี 2030
    ข้อสรุปของรายงานฉบับนี้สอดคล้องกับรายงานเมื่อปีที่แล้วของนิโคลัส สเติร์น (Nicholas Stern) อดีตหัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ของธนาคารโลก ที่ประเมินว่า ค่าใช้จ่ายในการลงมือชะลอ ภาวะโลกร้อน ในตอนนี้ อยู่ที่ประมาณ 1% ของจีดีพีโลก เทียบกับตัวเลขที่สูงถึง 5-20% ในอนาคต ถ้าพวกเรายังไม่รีบลงมือ
    วิธีการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก ที่ทำได้ง่าย ตามที่เสนอไว้ในร่างรายงานฉบับนี้ ได้แก่ การใช้พลังงานฟอสซิลให้มีประสิทธิภาพมากกว่านี้, เปลี่ยนมาใช้พลังงานรูปแบบอื่น เช่น พลังงานลม แสงอาทิตย์ หรือ พลังงานนิวเคลียร์ ตลอดจน จัดการ การ ปลูกป่า และการทำเกษตรกรรมให้ดีกว่านี้
    ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจนอกเหนือจากการประหยัดพลังงานก็คือ สุขภาพ จะดีขึ้นเนื่องจาก มลพิษ น้อยลง, ภาค เกษตรกรรม เสียหายจาก ฝนกรด น้อยลง และมี ความมั่นคง ด้าน พลังงาน เพิ่มมากขึ้น เพราะมีการลดการนำเข้า พลังงาน
    เหตุการณ์จำลองในการยอมเสียจีดีพีแค่ 0.2% ในปี 2030 เพื่อแก้ ปัญหาโลกร้อน จะรักษาระดับ ก๊าซเรือนกระจก ในชั้นบรรยากาศในปี 2030 ให้อยู่ที่ 650 ส่วนต่อล้านส่วน (ppm) ซึ่งสูงกว่าระดับปัจจุบันซึ่งอยู่ที่ 430 ppm
    “การประมาณแบบเจาะจงที่สุด” ชี้ให้เห็นว่า นั่นอาจทำให้ อุณหภูมิ เพิ่มสูงขึ้น 3.2-4.0 องศาเซลเซียส จากระดับก่อนยุคอุตสาหกรรม ทั้งนี้ ยิ่งมีมาตรการที่รัดกุมและลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก ได้มาก ก็ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
    โดยในกรณีที่มีมาตรการเข้มงวดที่สุด ซึ่งจะเสียค่าใช้จ่าย 3% ของจีดีพี จะสามารถจำกัดปริมาณ ก๊าซเรือนกระจก ลงไปอยู่ที่ 445-535 ppm ภายในปี 2030 ซึ่งน่าจะทำให้อุณหภูมิเพิ่มขึ้น 2-2.4 องศาเซลเซียส
    ด้าน บันคีมุน เลขาธิการใหญ่ยูเอ็น กล่าวกับ นสพ.ไฟแนนเชียลไทมส์ว่า ยูเอ็นกำลังพิจารณาให้จัดการประชุมระดับสูงเรื่อง การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภายในปีนี้ ซึ่งอาจนำไปสู่การประชุมระดับผู้นำสุดยอดได้ในปี 2009
    การประชุมระดับสูง ซึ่งน่าจะมีรัฐมนตรีและผู้แทนระดับท็อปเข้าร่วม เป็น “หนทางที่ปฏิบัติได้และเป็นไปได้จริง”มากที่สุด บันกล่าว
    การประชุมนี้ ซึ่งน่าจะเกิดขึ้นใกล้ๆกับการประชุมสมัชชาใหญ่สหประชาชาติที่นิวยอร์กในเดือนกันยายน “อาจได้แนวทางปฏิบัติชัดเจนเพื่อประชุมในเดือนธันวาคมที่บาหลีก็เป็นได้” บันกล่าว ซึ่งการประชุมที่บาหลีนั้นเป็นการประชุมของยูเอ็นเกี่ยวกับเรื่อง การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
    หากการประชุมระดับสูงในเดือน ก.ย.ประสบความสำเร็จ “จะต้องมีการพูดคุยเกี่ยวกับการประชุมระดับผู้นำสุดยอดในภายหลัง” บันกล่าวกับไฟแนนเชียลไทมส์ “อาจเป็นปี 2008 หรือ 2009″


    Credit : http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9500000044188
     
  6. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    นี่คือภาพของเมืองต่างๆครับ เป็นภาพจำลองว่าถ้าหาก ระดับน้ำทะเลสูง ขึ้น ในอีก 50 ปี ซึ่งเป็นผลมาจาก ภาวะโลกร้อน และ น้ำแข็งขั้วโลก ละลาย จะทำให้เกิดน้ำท่วมขนาดไหน
    เริ่มจากแมนฮัตตัน , นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา

    เป็นศูนย์กลางทางธุรกิจที่สำคัญของอเมริกา ไม่ว่าจะเป็นตึกระฟ้า สำนักงานใหญ่บริษัทต่างๆ หรือตลาดหลักทรัพย์ วอลล์ สตรีท [​IMG]
    รัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา
    และภาพเมื่อ ถูกน้ำท่วม คนเป็นล้านจะต้องอพยพออก

    [​IMG]
    ต่อมาคือ ปักกิ่ง ประเทศจีน
    [​IMG]
    เซี่ยงไฮ้
    [​IMG]
    กัลกัตตา อินเดีย
    [​IMG]
    ซานฟรานซิสโก ในอเมริกา
    [​IMG]
    และเนธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นประเทศที่พื้นที่ส่วนมากของประเทศอยู่ต่ำ (มีพื้นที่บางส่วน ต่ำกว่า ระดับน้ำทะเล ด้วยซ้ำ)
    หายไปเกือบครึ่งประเทศ
    [​IMG]
    นี่เป็นแค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น ของพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจำนวนมากบนโลกแห่งนี้ ผู้คนนับร้อยล้านคนจะเดือดร้อนมหาศาลครับ จาก ปัญหาภาวะโลกร้อน
     
  7. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    สภาวะโลกร้อน อาจทำรางรถไฟสายทิเบตพัง


    Apr 13th, 2007



    นาย ชิง ต้า เหอ ผู้อำนวยการสำนักงานอุตุนิยมวิทยาของจีน เปิดเผยกับหนังสือพิมพ์ ปักกิ่ง มอร์นิ่งโพสต์ ของจีนว่า ปัญหาโลกร้อน อาจเป็นอันตรายกับผู้โดยสารที่ใช้บริการทางรถไฟสายทิเบต ที่เพิ่งเปิดให้บริการเมื่อปีที่แล้ว เพื่อเชื่อมโยงทิเบตกับเขตตะวันออกของจีน นอกจากนั้น ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงระบบรางรถไฟ ก็อาจจะทะยานสูงขึ้นด้วย

    โดยผู้เชี่ยวชาญวิตกว่า บางส่วนของรางรถไฟสายนี้อาจจะไม่มั่นคง และนำไปสู่เหตุรถไฟตกรางได้ หากอากาศที่อุ่นขึ้นทำให้น้ำแข็งใต้รางรถไฟละลาย ซึ่งทางรถไฟที่ยาว 1 พัน 142 กิโลเมตรนี้ ไต่ระดับไปที่ความสูงสูงสุด 5 พัน 72 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ทำให้มันได้ชื่อว่าเป็นทางรถไฟที่สูงที่สุดในโลก
    ด้านนาย เกียงบา ปุนค็อก ผู้บริหารเขตปกคตรองตนเอง ที่มาเข้าร่วมประชุมรัฐสภาจีนที่กรุงปักกิ่ง ออกมาปฏิเสธเรื่องที่ว่า ทางรถไฟสายนี้ไม่ปลอดภัย แต่ก็ยอมรับว่า เมื่อเร็วๆนี้ รถไฟขบวนหนึ่งเกิดตกรางจริง แต่ไม่มีใครเสียชีวิต


    จาก : ข่าวด่วน เว็บไซต์คมชัดลึก



    http://www.komchadluek.net/scripts/hotnewskcl.php?newsid=247601
     
  8. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    UN ได้ รายงาน โลกร้อน คนจนซวยสุด


    Apr 12th, 2007 by Global Warming



    บรัสเซลส์ (AFP) - รายงานอากาศโลกเปลี่ยนแปลงฉบับแรกของยูเอ็นคลอดแล้ว เตือนหายนะโลกรุนแรงกว่าคาด สัตว์-พืช จำนวนมหาศาลจะสูญพันธุ์ คนยากจนจะได้รับผลกระทบมากที่สุด ทั้งๆที่เป็นคนทำ โลกร้อน น้อยที่สุด
    ราเจนทรา ปาเชารี หัวหน้าคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วย “การเปลี่ยนแปลง ของ สภาพอากาศ แห่ง สหประชาชาติ (IPCC) ระบุว่า รายงานว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศฉบับแรกในรอบ 5 ปีของสหประชาชาติสำเร็จลงแล้ว ในที่สุด หลังจากที่ผู้แทนจากทั่วโลกกว่า 100 คน เปิดประชุมกันแบบมาราธอน 24 ชั่วโมง ท่ามกลางความขัดแย้งรุนแรงจากหลายชาติ โดยเฉพาะ สหรัฐ ซาอุดิอาระเบีย และจีนที่ไม่เห็นด้วยกับรายงานดังกล่างที่จะใช้ข้อความที่มีความรุนแรงมากเกินไป

    รายงานหนาถึง 1400 หน้าเตือนว่าจะ ไม่มีทวีปใดในโลก ที่รอดพ้นจากอันตรายจาก สภาวะอากาศ ที่เปลี่ยนแปลงไป หาก อุณหภูมิโลก เพิ่มสูงขึ้นระหว่าง 1-2 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะกลุ่มประเทศยากจน จะเป็นกลุ่มที่ได้รับผลกระทับจากภาวะดังกล่างอย่างสาหัสที่สุด โดย ผลกระทบ จาก ภาวะโลกร้อน จะทวีความรุนแรงกว่าที่เคยคาดการณ์กันเอาไว้
    “ดูเหมือนว่าทุกพื้นที่ในโลกจะต้องประสบกับผลกระทบไม่ว่าจะเป็นผลประโยชน์ที่ลดลง ค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น
    หากอุณหภูมิโลกจะขยับตัวเพิ่มขึ้นราย 2-3 องศา” รายงานระบุ
    รายงานดังกล่าวเดือนด้วยว่า จะมีประชากรโลกหลายพันล้านคนที่ตกอยู่ในสภาพขาดน้ำ และอีกหลายร้อยล้านคนตกอยู่ในสภาพหิวโหย โดยส่วนใหญ่จะเป็นประชากรในพื้นที่ๆมีความยากจนมากที่สุด โดยเฉพาะในแอฟริกา ทั้งๆที่เป็นกลุ่มที่ไร้เชื้อเพลิงฟอสซิล อันเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิด ภาวะโลกร้อน น้อยที่สุด
    นอกจากนั้น สภาวะอากาศ ที่เปลี่ยนแปลงอันเป็นผลจาก ภาวะโลกร้อน นั้นยังจะทำให้โลกเกิดการเปลี่ยนแปลง รูปแบบของฝน ลมพายุจะรุนแรงขึ้น ขณะที่ความแห้งแล้ง และสภาวะ น้ำท่วม จะอยู่ในภาวะวิกฤติหนักกว่าเดิม พร้อมกับการละลายการกัดเซาะของธารน้ำแข็ง ซึ่งจะส่งผลกระทบในวงกว้างต่อระดับน้ำทะเล ยิ่งกว่านั้น ยังจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของฤดูกาล ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อพืชและสัตว์อย่างรุนแรง โดยจะเกิดการตายของพืชและสัตว์เป็นจำนวนมหาศาล
    “โดยคร่ายๆ แล้วราว 20-30 % ของพันธุ์พืชและสัตว์ จะพบกับความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์มากยิ่งขึ้น
    ทั้งนี้ ในอีก 90 ปีข้างหน้า อุณหภูมิของโลกจะเพิ่มสูงขึ้นระหว่าง 1.1 - 6.4 องศา ขณะที่ในระหว่างปี 2523 - 2542 อุณหภูมิโลกสูงขึ้นระหว่าง 1.8 - 4.0 องศาเท่านั้น
     
  9. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ปริมาณก๊าซ CO2 ในปัจจุบัน เปรียบเทียบกับ หลายแสนปี ที่แล้ว


    Apr 11th, 2007 by Global Warming



    [​IMG]
    จากภาพ จะเห็นปริมาณ CO2 ในชั้นบรรยากาศ ในช่วง 650000 ปีที่ผ่านมา ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ มีการขึ้นๆลงๆตลอด เราผ่านยุคน้ำแข็งมาแล้วประมาณ 6 ครั้ง (ช่วงที่กราฟลงต่ำ)
    ซึ่งการตรวจสอบนี้ทำได้โดยการขุดชั้นน้ำแข็งออกมาหาปริมาณ CO2 ในน้ำแข็ง จึงทำให้สามารถรู้ถึง CO2 ในช่วงปีนั้นๆ ที่มีหิมะตกลงมาได้ย้อนหลังถึง 650000 ปีทีเดียวครับ

    [​IMG]
    การขุดชั้นน้ำแข็งเพื่อหาปริมาณ CO2
    [​IMG]
    นี่คือปริมาณ CO2 ในปัจจุบัน (จุดสีเหลือง)
    ซึ่งตลอด 650000 ปีที่ผ่านมา ยังไม่เคยมีปริมาณ CO2 สูงกว่า 300 ppm (300 ใน ล้านส่วน) เลย จนกระทั่งปัจจุบันครับ
    แสดงให้เห็นถึงวิกฤติด้านโลกร้อนแล้วครับ หากทุกคนไม่ช่วยกันลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อย โลกนี้จะร้อนขึ้นอีกขนาดไหน
    ปริมาณ CO2 ที่คาดการณ์ไว้ในอีก 50 ปีข้างหน้า หากเรายังไม่หยุดการปล่อย CO2 มหาศาล
    [​IMG]


    ภาพจาก An Inconvenient Truth
     
  10. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
  11. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    การเปลี่ยนแปลงของภูเขา Kilimanjaro


    Apr 4th, 2007 by Global Warming



    นี่คือ ภาพสถานที่ต่างๆ จาก An Inconvenient Truth ครับ เปรียบเทียบกับสมัยอดีต ดูกันให้เห็น
    ภูเขา Kilimanjaro เป็นภูเขาที่สูงที่สุดใน Africa ภาพเมื่อปี 1970 ยังเห็นหิมะบนยอดเขาเยอะอยู่
    [​IMG]
    ปี 2000 หิมะละลายไปมาก
    [​IMG]
    ปี 2006 แทบไม่เหลือหิมะปกคลุมบนยอดเขา
    [​IMG]
     
  12. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ธารน้ำแข็ง Adamello-Mandron ในอิตาลี


    Apr 4th, 2007 by Global Warming



    ภาพการละลายของธารน้ำแข็ง Adamello-Mandron ในอิตาลีครับ
    ภาพนี้ไม่ทราบว่าถ่ายตอนไหน
    [​IMG]
    เปรียบเทียบกับปัจจุบัน (ถ่ายจากมุมเดิม ลองสังเกตภูเขาทางด้านซ้ายครับ) ไม่เหลือน้ำแข็งอีกต่อไป
    [​IMG]
     
  13. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ธารน้ำแข็ง AX010 ในเนปาล


    Apr 4th, 2007 by Global Warming



    ธารน้ำแข็งแห่งหนึ่งในเนปาล เปรียบเทียบในช่วงเวลาไม่ถึง 30 ปีเท่านั้น
    ถ่ายเมื่อ 1978
    [​IMG]
    ถ่ายเมื่อ 2004 มุมเดิม ตำแหน่งเดิม
    [​IMG]
     
  14. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ธารน้ำแข็ง Boulder ละลายภายในช่วง 50 ปี


    Apr 4th, 2007 by Global Warming



    นี่่คือ ธารน้ำแข็ง Boulder ครับ (Boulder Glacier) เป็นธารน้ำแข็งเก่าแก่ในอเมริกา
    ภาพนี้ถ่ายเมื่อปี 1932 จะเห็นว่าเต็มไปด้วยน้ำแข็ง
    [​IMG]
    ภาพนี้คือ 56 ปีต่อมา เป็นธารน้ำแข็งเดิม ถ่ายจากมุมเดิม (ลองสังเกตฉากหลัง) ในปี 1988 น้ำแข็งหนาๆ ในภาพแรก หายไปหมดแล้วครับ
    [​IMG]
    จากการสำรวจในปี 2005 พบว่าธารน้ำแข็งนี้ใกล้จะหายไปแล้วครับ

    http://en.wikipedia.org/wiki/Boulder_Glacier
     
  15. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
  16. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ธารน้ำแข็งขนาดใหญ่ในอาร์เจนตินาละลายเหลือแต่น้ำ


    Apr 4th, 2007 by Global Warming



    ภาพธารน้ำแข็งใน Argentina ครับ ละลายหมดในเวลา 70 กว่าปี
    ภาพนี้ถ่ายเมื่อปี 1928
    [​IMG]
    ภาพปัจจุบัน ถ่ายปี 2004 น้ำแข็งทั้งหมดละลายเหลือแต่น้ำ
    [​IMG]
     
  17. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
  18. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
  19. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    Larsen Ice Shelf ละลาย


    Apr 4th, 2007 by Global Warming



    Larsen Ice Shelf เป็นแผ่นน้ำแข็งขนาดใหญ่อยู่ที่ Antarctica หนา 700 ฟุต และยาวประมาณ 25 ไมล์
    [​IMG]
    สิ่งที่เกิดขึ้นคือ จากภาพนี้
    [​IMG]
    กลายเป็น
    [​IMG]
    มาดูตั้งแต่เริ่มกันครับ
    [​IMG]
    ผ่านมา 17 วัน
    [​IMG]
    ผ่านมา 23 วัน
    [​IMG]
    ผ่านมา 33 วัน
    [​IMG]
     
  20. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    เป็นไงบ้างครับกับบทความที่นำมาฝาก คงไม่มีคำอธิบายมากกว่านี้นะครับ

    ผมเองยังรู้สึกตะลึงมากเลยครับ เพียงไม่กี่สิบปี โลกเปลี่ยนแปลงได้ถึงขนาดนี้

    เราต้องกลับมาทบทวนบทบาทของมนุษย์ในการรักษาโลกอย่างจริงจังแล้วนะครับ

    ก่อนที่จะไม่มีโลกในระบบสุริยะจักรวาล
     

แชร์หน้านี้

Loading...