การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย HONGTAY, 10 เมษายน 2007.

  1. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ความจริง เกี่ยวกับ ภาวะโลกร้อน


    Apr 10th, 2007 by Global Warming



    ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ เป็นตัวการกักเก็บความร้อนจากแสงอาทิตย์ไว้ไม่ให้คายออกไปสู่บรรยากาศ
    ซึ่งเป็นสิ่งที่ดี เพราะทำให้โลกของเรามีอุนหภูมิอบอุ่น สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้แต่ปัจจุบัน การเผาผลาญเชื้อเพลงฟอสซิลต่างๆ เช่น ถ่านหิน น้ำมันเชื้อเพลิง และการตัดไม้ทำลายป่า
    ซึ่งการกระทำเหล่านี้ส่งผลให้ปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล อันส่งผลกระทบต่างๆมากมายไม่ว่าจะเป็นอุณหภูมิของโลกที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ภัยธรรมชาติต่างๆเกิดบ่อยขึ้น และนี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นครับ
    • [​IMG]จำนวนพายุ Hurricane Category 4 และ 5 เพิ่มขึ้นสองเท่า ในสามสิบปีที่ผ่านมา
    • [​IMG]เชื้อมาลาเรียได้แพร่กระจายไปในที่สูงขึ้น แม้แต่ใน Columbian, Andes ที่สูง 7000 ฟุตเหนือระดับน้ำทะเล
    • [​IMG]น้ำแข็ง ใน ธารน้ำแข็ง เขตกรีนแลนด์ ละลายเพิ่มมากขึ้นเป็นสองเท่าในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา
    • [​IMG]สัตว์ต่างๆ อย่างน้อย 279 สปีชี่ส์กำลังตอบสนองต่อ ภาวะโลกร้อน โดยพยายามย้ายถิ่นที่อยู่
    หากเรายังเพิกเฉยต่อสิ่งที่เกิดขึ้น รับรองได้เลยว่าจะเกิดเรื่องอย่างนี้แน่
    • [​IMG]อัตรา ผู้เสียชีวิต จาก โลกร้อน จะพุ่งไปอยู่ที่ 300000 คนต่อปี ใน 25 ปีต่อจากนี้
    • [​IMG]ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น 20 ฟุต
    • [​IMG]คลื่นความร้อน จะมาบ่อยขึ้นและรุนแรงขึ้น
    • ภาวะฝนแล้ง และไฟป่าจะเกิดบ่อยขึ้น
    • [​IMG]มหาสมุทรอาร์กติกจะไม่เหลือน้ำแข็ง ภายในฤดูร้อน 2050
    • สิ่งมีชีวิตกว่าล้านสปีชี่ส์เสี่ยงที่จะสูญพันธุ์
    เราทุกคนสามารถช่วยโลกนี้ได้ ก่อนที่เหตุการณ์เหล่านี้จะมาถึง
    การเปลี่ยนแปลงชีวิตประจำวันของคุณเพียงเล็กน้อย สามารถช่วย หยุด ภาวะโลกร้อน ได้
     
  2. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    [​IMG]
    ความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดปรากฏการณ์โลกร้อนและการเกิดปรากฏการณ์เอลนิโน

    [​IMG]
    ความถี่ในการเกิดปรากฏการณ์
     
  3. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ปรากฏการณ์เอลนิโนและลานินา

    [​IMG] [​IMG]
    บริเวณที่เกิดเหตุ


    [​IMG]
    สาเหตุ

    [​IMG][​IMG]
    <table><tbody><tr> <td>[​IMG]</td><td>[​IMG]</td><td>[​IMG]</td><td>[​IMG]</td> </tr> <tr> <td>[​IMG]</td><td>[​IMG]</td><td>[​IMG]</td><td>[​IMG]</td></tr> </tbody></table>
    ผลกระทบที่เกิดขึ้นทั่วโลก
     
  4. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <center>เตือนฤทธิ์โลกร้อน คุกคามธรรมชาติ </center>
    <!--detail--><!--images--> <!--images-->กองทุนคุ้มครองสัตว์ป่าและพันธุ์พืชโลก (ดับเบิลยูดับเบิลยูเอฟ) ซึ่งเป็นกลุ่มเคลื่อนไหวเพื่อพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ระบุเตือนเมื่อวันที่ 5 เมษายนว่า สิ่งมหัศจรรย์ทางธรรมชาติอันยิ่งใหญ่ของโลก ที่มีตั้งแต่ธารน้ำแข็งบนเทือกเขาหิมาลัยไปจนถึงผืนน้ำอันอุดมสมบูรณ์ของลุ่มแม่น้ำอเมซอน กำลังถูกคุกคามอย่างหนักจากภาวะโลกร้อน
    โดยกองทุนคุ้มครองสัตว์ป่าฯดังกล่าวซึ่งศึกษา 10 อนุภาคภูมิภาคทั่วโลกที่ถูกภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศโลกคุกคามทำลายลงไปแล้ว ระบุเตือนว่า ระบบนิเวศวิทยาที่ก่อให้เกิดความสมดุลทางธรรมชาติในพื้นที่ส่วนใหญ่กำลังตกอยู่ในภาวะเสี่ยงที่จะถูกทำลายลงไปโดยสิ้นเชิง
    ทั้งนี้ ในรายงานจำนวน 1,400 หน้าของกองทุนคุ้มครองสัตว์ป่าฯ ได้ยกตัวอย่างถึงแหล่งธรรมชาติที่เป็นสมบัติล้ำค่าของโลกที่กำลังเผชิญภัยคุกคามจากปัญหาภาวะโลกร้อน อาทิ การระบุว่า 60 เปอร์เซ็นต์ของผืนป่าฝนอเมซอน ซึ่งเป็นถิ่นอาศัยของเหล่าพันธุ์พืชและสัตว์ต่างๆ คิดเป็นสัดส่วนเกือบ 1 ใน 3 ของโลก อาจจะกลายสภาพเป็นทุ่งหญ้าสะวันนาอันแห้งแล้งได้ หากอุณหภูมิโลกเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 2-3 องศาเซลเซียส เหนือระดับอุณหภูมิโลกในช่วงทศวรรษ 1990 ส่วนป่าโกงกางที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งตั้งอยู่ในอ่าวเบงกอล ก็กำลังถูกคุกคามจากระดับน้ำทะเลที่เพิ่มสูงขึ้นและเผชิญกับฤดูมรสุมที่รุนแรงหนักหน่วงกว่าที่เคย
    รายงานของกองทุนคุ้มครองสัตว์ป่าฯออกมาในขณะที่ที่ประชุมคณะนักวิทยาศาสตร์ชั้นแนวหน้าของโลก ซึ่งประชุมกันอยู่ที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม กำลังเผยแพร่รายงานฉบับที่ 2 จาก 3 ฉบับ ที่คาดทำนายถึงผลกระทบอันร้ายแรงจากปัญหาโลกร้อน โดยเฉพาะผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับประเทศยากจนและผลกระทบต่อความหลากหลายทางพันธุ์พืช
    วันเดียวกัน มีรายงานว่า คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (ยูเอ็น) จะถกหารือถึงภัยคุกคามต่อความมั่นคงของโลกที่เป็นผลมาจากภาวะโลกร้อนเป็นครั้งแรก ในการประชุมที่จะมีขึ้นในวันที่ 17 เมษายนนี้ โดยนายเอมีร์ โจนส์ แพร์รี เอกอัครราชทูตอังกฤษประจำยูเอ็น ซึ่งเป็นประธานหมุนเวียนของคณะมนตรีความมั่นคงยูเอ็นในขณะนี้ เปิดเผยว่าการประชุมจะเน้นหารือถึงประเด็นอ่อนไหวและความยุ่งยากของปัญหาภาวะโลกร้อน



    (เอเอฟพี/เอพี)
     
  5. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    เตือนฤทธิ์โลกร้อน คุกคามธรรมชาติ

    <center> </center>
    <!--detail--><!--images--> <!--images-->กองทุนคุ้มครองสัตว์ป่าและพันธุ์พืชโลก (ดับเบิลยูดับเบิลยูเอฟ) ซึ่งเป็นกลุ่มเคลื่อนไหวเพื่อพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ระบุเตือนเมื่อวันที่ 5 เมษายนว่า สิ่งมหัศจรรย์ทางธรรมชาติอันยิ่งใหญ่ของโลก ที่มีตั้งแต่ธารน้ำแข็งบนเทือกเขาหิมาลัยไปจนถึงผืนน้ำอันอุดมสมบูรณ์ของลุ่มแม่น้ำอเมซอน กำลังถูกคุกคามอย่างหนักจากภาวะโลกร้อน
    โดยกองทุนคุ้มครองสัตว์ป่าฯดังกล่าวซึ่งศึกษา 10 อนุภาคภูมิภาคทั่วโลกที่ถูกภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศโลกคุกคามทำลายลงไปแล้ว ระบุเตือนว่า ระบบนิเวศวิทยาที่ก่อให้เกิดความสมดุลทางธรรมชาติในพื้นที่ส่วนใหญ่กำลังตกอยู่ในภาวะเสี่ยงที่จะถูกทำลายลงไปโดยสิ้นเชิง
    ทั้งนี้ ในรายงานจำนวน 1,400 หน้าของกองทุนคุ้มครองสัตว์ป่าฯ ได้ยกตัวอย่างถึงแหล่งธรรมชาติที่เป็นสมบัติล้ำค่าของโลกที่กำลังเผชิญภัยคุกคามจากปัญหาภาวะโลกร้อน อาทิ การระบุว่า 60 เปอร์เซ็นต์ของผืนป่าฝนอเมซอน ซึ่งเป็นถิ่นอาศัยของเหล่าพันธุ์พืชและสัตว์ต่างๆ คิดเป็นสัดส่วนเกือบ 1 ใน 3 ของโลก อาจจะกลายสภาพเป็นทุ่งหญ้าสะวันนาอันแห้งแล้งได้ หากอุณหภูมิโลกเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 2-3 องศาเซลเซียส เหนือระดับอุณหภูมิโลกในช่วงทศวรรษ 1990 ส่วนป่าโกงกางที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งตั้งอยู่ในอ่าวเบงกอล ก็กำลังถูกคุกคามจากระดับน้ำทะเลที่เพิ่มสูงขึ้นและเผชิญกับฤดูมรสุมที่รุนแรงหนักหน่วงกว่าที่เคย
    รายงานของกองทุนคุ้มครองสัตว์ป่าฯออกมาในขณะที่ที่ประชุมคณะนักวิทยาศาสตร์ชั้นแนวหน้าของโลก ซึ่งประชุมกันอยู่ที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม กำลังเผยแพร่รายงานฉบับที่ 2 จาก 3 ฉบับ ที่คาดทำนายถึงผลกระทบอันร้ายแรงจากปัญหาโลกร้อน โดยเฉพาะผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับประเทศยากจนและผลกระทบต่อความหลากหลายทางพันธุ์พืช
    วันเดียวกัน มีรายงานว่า คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (ยูเอ็น) จะถกหารือถึงภัยคุกคามต่อความมั่นคงของโลกที่เป็นผลมาจากภาวะโลกร้อนเป็นครั้งแรก ในการประชุมที่จะมีขึ้นในวันที่ 17 เมษายนนี้ โดยนายเอมีร์ โจนส์ แพร์รี เอกอัครราชทูตอังกฤษประจำยูเอ็น ซึ่งเป็นประธานหมุนเวียนของคณะมนตรีความมั่นคงยูเอ็นในขณะนี้ เปิดเผยว่าการประชุมจะเน้นหารือถึงประเด็นอ่อนไหวและความยุ่งยากของปัญหาภาวะโลกร้อน



    (เอเอฟพี/เอพี)
     
  6. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <center> Green house effect and Global warming


    [​IMG]</center>
     
  7. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    อากาศเมืองหนาวร้อนที่สุด 128 ปี ยิ่งทำให้ปัญหาโลกร้อนยิ่งน่ากลัว [21 มี.ค. 50 ]
    สหรัฐฯรายงานว่า อุณหภูมิในฤดูหนาวของซีกโลกส่วนเหนือในต้นปีนี้ อยู่ในระดับสูงที่สุดในรอบ 128 ปี ซึ่งเพิ่มความวิตกแก่ประชาคมโลกเกี่ยวกับความรุนแรงของปัญหาโลกร้อน
    องค์การบริหารมหาสมุทรและบรรยากาศแห่งชาติของสหรัฐฯ (เอ็นโอเอเอ) รายงานวันนี้ว่า อุณหภูมิโดยเฉลี่ยของซีกโลกส่วนเหนือ เมื่อเดือนมกราคม ปีนี้สูงกว่าระดับอุณหภูมิปกติของโลก เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 20 อยู่ 1.3 องศาฟาเรนไฮต์ หรือ 0.72 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นระดับอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด นับตั้งแต่เอ็นโอเอเอเริ่มบันทึกสถิติอุณหภูมิโลก เมื่อปี 2423 และว่า ปรากฏการณ์เอลนีโญ ซึ่งอุณหภูมิที่พื้นผิวมหาสมุทรในภูมิภาคแปซิฟิกตะวันออก สูงขึ้นอย่างผิดปกติ โดยมีจุดวิกฤติที่สุดเมื่อปี 2540-2541 เป็นสาเหตุสำคัญของสภาพอากาศที่อบอุ่นขึ้นดังกล่าว
    ก่อนหน้านี้ สหประชาชาติ (ยูเอ็น) รายงานเมื่อเดือนที่แล้ว ระบุว่า กิจกรรมของมนุษย์เป็นสาเหตุสำคัญของปัญหาโลกร้อน และเตือนว่า อุณหภูมิผิวโลกโดยเฉลี่ยอาจสูงขึ้นราว 1.1-6.4 องศาเซลเซียส ภายในปี 2643.


    http://www.thairath.com


    "มลพิษเอเชีย" ส่งผลพายุแปซิฟิกแรงผิดปกติ
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody> </table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">7 มีนาคม 2550 10:58 น.</td> </tr> </tbody> </table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody> </table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> <td> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody> </table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">สาวจีนต้องสวมหน้ากากป้องกันควันพิษขณะปั่นจักรยาน ท่ามกลางมลภาวะที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> เอเอฟพี - ผลวิจัยระบุ ปริมาณมลพิษที่เพิ่มสูงขึ้นในเอเชีย มีส่วนทำให้สภาพชั้นบรรยากาศบริเวณมหาสมุทรแปซิกตอนเหนือเปลี่ยนแปลง และยังอาจเป็นสาเหตุทำให้พายุฝนที่เกิดขึ้นในแถบนี้ช่วงฤดูหนาวมีความรุนแรงผิดปกติ

    ผลการวิจัยชิ้นนี้เป็นผลงานศึกษาร่วมระหว่างคณะนักวิจัยจากห้องปฏิบัติการจรวดขับดัน ขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (NASA's Jet Propulsion Laboratory) ร่วมกับสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology) และมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ในซานติเอโก (University of California, San Diego) ตีพิมพ์ลงในวารสารของสมาคมวิทยาศาสตร์สหรัฐฯ (Proceedings of the National Academy of Sciences) เมื่อวันที่ 5 มี.ค. โดยระบุว่า ปริมาณมลพิษที่เพิ่มสูงขึ้นมากในทวีปเอเชียช่วงหลายสิบปีผ่านมานี้ อาจมีส่วนเชื่อมโยงกับการเพิ่มจำนวนขึ้นของปริมาณเมฆฝนแถบมหาสมุทรแปซิฟิก

    ตามผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากดาวเทียมบ่งชี้ว่า ระหว่างปี 1994-2005 ปริมาณเมฆฝนแถบแปซิฟิกตอนเหนือเพิ่มสูงขึ้นราว 20-50% เมื่อเปรียบเทียบระยะ 10 ปีก่อน

    คณะนักวิจัยชี้ว่า แนวโน้มดังกล่าวไม่น่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปด้านอื่นๆ เช่น อุณหภูมิน้ำทะเลหรือปรากฎการณ์เอลนีโญ (El Nino) หากแต่ผลการจำลองด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์บ่งชี้ว่า ปริมาณเมฆฝนที่เพิ่มจำนวนสูงขึ้นนี้มีสาเหตุมาจากการที่ชั้นบรรยากาศแถบเอเชียมีมลพิษมากขึ้น

    ข้อมูลที่ได้จากการตรวจสอบทางดาวเทียมระยะยาวชี้ว่า การที่ภูมิภาคนี้ได้ขยายเขตเมืองและมีการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็วในบางพื้นที่โดยเฉพาะอย่างยิ่งในจีนและอินเดีย ส่งผลกระทบทำให้ชั้นบรรยากาศเกิดการสะสมฝุ่นละอองอนุภาคซัลเฟอร์และเขม่า ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล เพิ่มมากขึ้นอย่างมหาศาล

    แม้ผลการวิจัยที่ผ่านมาจะพบแล้วว่า ฝุ่นละอองในชั้นบรรยากาศมีอิทธิพลต่อการก่อตัวและการควบแน่นของเมฆฝน แต่ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าผลกระทบที่เกิดขึ้นมีความรุนแรงมากน้อยเพียงใด

    เหรินอี้ จาง (Renyi Zhang) ศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตร์บรรยากาศจากมหาวิทยาลัยเทกซัส เอแอนด์เอ็ม (Texas A&M University) ซึ่งเป็นผู้นำทีมเขียนรายงานกล่าวว่า ผลการศึกษาชิ้นนี้จึงถือเป็นหลักฐานชิ้นแรกที่ให้ข้อสรุปอันโต้แย้งมิได้ว่า มลภาวะที่เกิดจากน้ำมือมนุษย์ส่งผลกระทบร้ายแรงต่อเส้นทางพายุเหนือมหาสมุทรแปซิฟิก พร้อมเตือนอีกว่าผลกระทบที่เกิดอาจแผ่วงกว้างไปยังส่วนอื่นๆในโลกด้วย เพราะพายุในแปซิฟิกจะพัดพานำเอาอนุภาคมลพิษจากเอเชียไปยังชายฝั่งตะวันตกของแคนาดา สหรัฐฯ และทั่วทั้งทวีปอเมริกา รวมไปถึงส่วนอื่นๆทั่วโลกในที่สุด

    รายงานฉบับนี้แจงอีกว่า และหากอนุภาคมลพิษพัดพาไปตกยังพื้นน้ำแข็งขั้วโลก ผลลัพธ์อาจยิ่งทวีความรุนแรง โดยเฉพาะเมื่อเขม่าซึ่งอยู่ในรูปคาร์บอนสีดำ ไปเกาะติดสะสมบนน้ำแข็งและดูดความร้อนจากแสงอาทิตย์ อาจยิ่งส่งผลให้น้ำแข็งขั้วโลกละลายเร็วขึ้น จนส่งผลให้ระดับน้ำทะเลยิ่งเพิ่มสูงในที่สุด</td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody> </table>
     
  8. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    วิจัยพบ “อหิวาต์” ส่อกลายพันธุ์จากภาวะ “โลกร้อน” <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">11 มกราคม 2550 18:32 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> เวทีถกโรคอุบัติใหม่จากภาวะโลกร้อน นักวิจัยธรรมชาติ พบ อหิวาตกโรคมีแนวโน้มกลายพันธุ์ ด้วยปัจจัยที่น้ำมีอุณหภูมิสูงขึ้น และส่งผลให้ไวรัสผสมกับเชื้ออหิวาตกโรคในแหล่งน้ำธรรมชาติ

    สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ บริติช เคานซิล จัดอภิปรายเรื่อง “สังคม เศรษฐกิจไทย จะเป็นอย่างไร เมื่อภาวะโลกร้อน (อาจ) ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของประเทศไทย” โดยที่ประชุมได้แสดงความเป็นห่วงเรื่องผลกระทบจากภาวะโลกร้อนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และเรื่องโรคอุบัติใหม่ที่ยังขาดคนศึกษาโรคที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน นอกจากนี้ ยังพบว่า ยังไม่มีหน่วยงานเจ้าภาพที่ชัดเจน จนทำให้ขาดการตั้งรับ และมีการให้ความรู้ชาวบ้านทุกภาคส่วน

    ผศ.ดร.กำพล รุจิวิชชญ์ อาจารย์คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) กล่าวว่า จากการทำวิจัยโครงการศึกษายีนก่อโรค และรูปแบบดีเอ็นเอของเชื้ออหิวาตกโรค (Vibrio cholerae O1, O139) ซึ่งเป็นสายพันธุ์อหิวาตกโรคที่ทำให้ก่อโรค ด้วยการศึกษาครอบคลุมบริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยา แม่กลอง ท่าจีน และแม่น้ำบางปะกง ในช่วงปี 2548 และจะสิ้นสุดโครงการในปี 2551 โดยต้องการหาคำตอบเรื่องการระบาดของเชื้ออุจจาระร่วงอย่างแรง ซึ่งเดิมจะเกิดในช่วงฤดูร้อน แต่ปัจจุบันพบการระบาดต่อเนื่องตลอดทั้งปี

    ผศ.ดร.กำพล กล่าวว่า สำหรับการศึกษาในช่วงปีที่ 1 เบื้องต้นพบสิ่งที่ค่อนข้างน่าสนใจ ว่า ปกติถึงแม้เชื้ออหิวาตตกโรคในแหล่งน้ำธรรมชาติจะไม่ใช่เชื้อที่ก่อโรคได้ แต่ในการศึกษาครั้งนี้ พบว่า ถ้าหากอุณหภูมิของน้ำสูงขึ้นเพียง 0.5 องศาเซลเซียส จากระดับน้ำปกติ อาจจะมีผลทำให้เชื้อไวรัส ctxphage สามารถติดเชื้อเข้าไปเชื้ออหิวาตกโรค และทำให้เชื้ออหิวาตกโรคสายพันธุ์ที่ไม่ก่อโรค กลายเป็นเชื้อที่ก่อโรคได้ อย่างไรก็ตาม ยังต้องมีการศึกษาวิจัยอย่างละเอียด เพื่อให้ข้อมูลชัดเจนยิ่งขึ้น อีกทั้งยังขอเตือนว่า ประชาชนไม่ต้องแตกตื่น เพียงแต่อาจต้องระวังในการใช้น้ำมากขึ้น นอกจากนี้ นักวิจัยอยากได้คำตอบเรื่องความสัมพันธ์ของภาวะโลกร้อนว่าจะส่งผลให้เกิดโรคอุบัติใหม่ในเมืองไทยหรือไม่ เพราะขณะนี้การศึกษาเรื่องโรคอุบัติใหม่ จากการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศในเมืองไทยยังมีน้อย ทั้งที่เป็นเรื่องใกล้ตัวประชาชนมากที่สุด


    เชื้อโรคอพยพสู่ซีกโลกเหนือ
    [​IMG]
    6 กันยายน 2549

    นักวิทย์ตั้งข้อสังเกตอากาศร้อน หนุนโรคติดเชื้อระบาดหนัก เหตุเชื้อโรคได้โอกาสขยายฐานที่อยู่ จากโซนเอเชียและแอฟริกาไปโซนยุโรปและอเมริกา
    กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ :
    นักวิทยาศาสตร์ตั้งข้อสังเกตสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงที่เป็นผลจากภาวะโลกร้อน ส่งผลให้โรคติดเชื้อระบาดหนักยิ่งขึ้น เนื่องจากเชื้อโรคได้ขยายพื้นที่อยู่อาศัยไปโซนยุโรปและอเมริกา

    ศ.พอล ฮันเตอร์ หัวหน้าฝ่ายสุขภาพป้องกัน จากมหาวิทยาลัยอีสต์ แองเกลีย ประเทศอังกฤษ กล่าวถึงการวิจัยเกี่ยวกับเส้นทางการแพร่กระจายของเชื้อก่อโรคในยุโรปและอเมริกาเหนือ ต่อที่ประชุมวิทยาศาสตร์ของสมาคมเพื่อวิทยาศาสตร์ก้าวหน้าแห่งอังกฤษว่า อากาศที่ร้อนขึ้นทำให้เชื้อโรคอพยพย้ายถิ่น โดยยกตัวอย่าง ผู้ป่วยในยุโรปที่ว่ายน้ำในทะเลแล้วติดเชื้อโรค ซึ่งปกติจะพบเฉพาะในแถบทะเลอุ่นเท่านั้น

    เชื้อโรคชนิดหนึ่งที่ถูกเฝ้าจับตาอยู่ขณะนี้ คือ เชื้อไวบริโอ วูลนิฟิคัส พบในหอยนางรมดิบ ทำให้เกิดอาการเจ็บป่วยรุนแรงในมนุษย์ บางรายถึงขั้นเสียชีวิต เชื้อชนิดนี้ปกติจะเติบโตอยู่ในเขตทะเลน้ำอุ่นอย่างในอ่าวเม็กซิโก แต่ระยะหลังมีรายงานพบเชื้อดังกล่าวปรากฏในทะเลบอลติกในยุโรป และชาวเดนมาร์กรายหนึ่งสังเวยชีวิตให้แก่เชื้อตัวนี้แล้ว

    ในอิตาลี นักท่องเที่ยวนับร้อยป่วยด้วยโรคติดเชื้อออสทริออปซิส โอวาตา ซึ่งขยายหลักแหล่งออกจากที่อยู่เดิมมาสถิตอยู่ในทะเลอิตาลีที่น้ำอุ่นขึ้น ในคองโก ไข้คริเมีย เฮโมรายิก ที่ทำให้ระคายเคืองเลือดออกตามผิวหนัง ปาก และจมูก ก็เริ่มปรากฏกายในบริเวณที่ไม่เคยพบมาก่อนเช่นกัน การแพร่กระจายของเชื้อเหล่านี้ ศ.พอล กล่าวว่า อาจเป็นเพราะสภาพน้ำทะเลในหน้าหนาวของยุโรปเริ่มอุ่นขึ้นโดยไม่ต้องรอให้ถึงหน้าร้อน

    นักวิทยาศาสตร์เริ่มวิตกหลังจากพบผู้ป่วยในยุโรป 3-4 ราย ติดเชื้อที่พบได้น้อยมากในมหาสมุทรบอลติก ส่วนในแอฟริกาเชื้อมาลาเรียกำลังสร้างปัญหาหนักให้คนนับล้าน เป็นผลจากสภาพอากาศโลกเปลี่ยนแปลง ทำให้พาหะมาลาเรียอย่างเห็บและริ้นแพร่กระจายที่อยู่อาศัย
    ขณะเดียวกัน นายฟรานเซส เครนครอสส์ ประธานสภาวิจัยเศรษฐกิจและสังคม อธิการวิทยาลัยเอ็กซีเตอร์ มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด และประธานสมาคมอังกฤษเพื่อวิทยาศาสตร์ก้าวหน้า กล่าวเตือนกลางที่ประชุมเดียวกันนี้ว่า ประเทศต่างๆ ควรให้ความสนใจมากขึ้นในการกำหนดนโยบายที่จะปรับตัวให้เข้ากับสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงมากกว่ามัวแต่สนใจในนโยบายมุ่งบรรเทาผลกระทบจากสภาวะนี้ เนื่องจากประเทศเหล่านั้นสามารถดำเนินการได้เองทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศโดยไม่ต้องเจรจาซับซ้อนในระดับสากล

    นายเครนครอสส์ ย้ำด้วยว่า นโยบายปรับตัวให้เข้ากับสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงถือว่ามีความสำคัญยิ่งยวดสำหรับประเทศกำลังพัฒนา โดยสามารถทำได้หลายอย่าง เช่น พัฒนาพืชผลชนิดใหม่ ก่อสร้างรั้วป้องกันอุทกภัย ออกระเบียบการก่อสร้างอาคารให้เหมาะสมกับสถานที่ ตลอดจนห้ามก่อสร้างอาคารใกล้ทะเล

    นักเศรษฐศาสตร์คนสำคัญของอังกฤษ ยังแนะด้วยว่า รัฐบาลควรโน้มน้าวให้ประชาชนใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพราะการดำเนินนโยบายปรับตัวและลดผลกระทบจากสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงจะทำได้ง่ายขึ้น หากประชาชนตระหนักว่าเป็นเรื่องจำเป็น

    <!---------------------------------open คุณคิดอย่างไรกับข่าวนี้-------------------------------------------> [​IMG]
     
  9. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ธารน้ำแข็งยักษ์อาเจนตินาพัง ส่งสัญญาณโลกร้อนเต็มที

    ธารน้ำแข็งยักษ์อาเจนตินาพัง ส่งสัญญาณโลกร้อนเต็มที <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">16 มีนาคม 2549 00:22 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <center>[​IMG]
    นักท่องเที่ยวเฝ้าชมการพังทลายของธารน้ำแข็ง "ไวท์ ไจแอนท์" แห่งอาร์เจนตินา นับเป็นการส่งสัญญาณถึงสถานการณ์โลกร้อนที่กำลังเข้าขั้นรุนแรง</center>

    เอเยนซี – “ไวท์ ไจแอนท์” ธารน้ำแข็งขนาดใหญ่ของอาเจนตินาเกิดการพังทลาย นับเป็นแนวน้ำแข็งขนาดมหึมาอีกแห่งหนึ่งของโลก ส่งสัญญาณโลกร้อนเต็มแก่

    ”เพริโต โมเรโน” (Perito Moreno) ธารน้ำแข็งขนาดมหึมาที่ได้รับฉายาว่า “ไวท์ ไจแอนท์” (White Giant) ในเมืองเอล คาลาฟาเต (El Calafate) ประเทศอาร์เจนตินากำลังได้รับความสนใจอย่างยิ่งทั้งจากชาวอาเจนไตน์และเหล่านักท่องเที่ยว เพราะธารน้ำแข็งที่ก่อตัวมาหลายพันปีนี้กำลังจะละลายลงอย่างช้าๆ

    ”ไวท์ ไจแอนท์” ของอาร์เจนตินาที่ก่อตัวเป็นสายธารน้ำแข็งขนาดใหญ่เหมือนกับเขื่อนธรรมชาติสูงประมาณ 60 เมตรในอุทยานธารน้ำแข็งแห่งชาติอาร์เจนตินาซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 6,000 ตารางกิโลเมตร โดยพื้นที่กว่า 40% ของอุทยานถูกปกคลุมด้วยธารน้ำแข็งถึง 13 สาย ธารน้ำแข็งดังกล่าวเริ่มละลายตัวอย่างช้าๆ ครั้งแรกในปี 1986

    แต่ว่าเมื่อคืนวันจันทร์ที่ผ่านมา (13 มี.ค.) ธารน้ำแข็งส่วนที่เป็นเหมือนสะพานเชื่อมระหว่างน้ำแข็งกับแผ่นดินขนาดใหญ่ถูกสายน้ำแข็งที่ไหลพัดผ่านเซาะพังทลายลงมาสร้างเสียงดังสนั่นหวั่นไหวไปทั่วบริเวณ ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าการที่ธารน้ำแข็งขนาดใหญ่มหึมาชิ้นนี้พังทลายลง ย่อมเป็นสัญญาณที่เชื่อมถึงภาวการณ์โลกร้อนที่กำลังวิกฤติขึ้นทุกขณะ

    อย่างไรก็ดี ทางอุทยานธารน้ำแข็งแห่งชาติอาร์เจนตินาก็เปิดเผยว่า ยังมีธารน้ำแข็งขนาดใหญ่ๆ อีกกว่า 200 สายอยู่รายล้อม ซึ่งไหลมาจากแถบแอนตาร์ติกา

    </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="right" height="25" valign="bottom" width="102">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/TabGalleryUBG.gif" height="25" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="25" valign="bottom" width="11">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="7" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2">[​IMG]</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2">[​IMG]</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2">[​IMG]</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline" width="33%"> กลายเป็นแหล่งดึงดูดนักท่องเที่ยวไปแล้ว เมื่อสายธารน้ำแข็งยักษ์ละลาย</td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="baseline" width="33%">
    </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="baseline"> แนวแถบธารน้ำแข็งเมื่อมองจากมุมสูง ไหลยาวเชื่อมต่อกับแนวแผ่นดิน</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2">[​IMG]</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2">[​IMG]</td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="middle"> [​IMG] </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline" width="33%"> ธารน้ำแข็งสูงกว่า 60 เมตรเป็นเหมือนเขื่อนธรรมชาติกั้นน้ำทั้ง 2 ฝั่ง</td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="baseline" width="33%"> แรงดันน้ำกัดเซาะแนวกำแพงน้ำแข็งจนมีลักษณะเหมือนอุโมงค์ดุจสะพานแห่งธรรมชาติ</td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="baseline">
    </td></tr></tbody></table>
     
  10. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    โลกร้อนทำธารน้ำแข็งละลายหนัก ยอดเขา “เอเวอเรสต์” อันตราย !!

    โลกร้อนทำธารน้ำแข็งละลายหนัก ยอดเขา “เอเวอเรสต์” อันตราย !! <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">
    </td></tr></tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table align="left" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="300"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="300"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">เสน่ห์ของเอเวอเรสต์คือหิมะปกคลุมตลอดปี อันทำให้ธรรมชาติในบริเวณนั้นมีความพิเศษและเป็นเอกลักษณ์ แต่โลกที่กำลังร้อนขึ้นทุกขณะ นอกจากจะทำให้ยอดเขาที่สูงที่สุดในโลกหมดความงามลงแล้ว ยังจะกลายเป็นแหล่งอันตรายเพราะน้ำแข็งที่ละลายลงสู่เบื้องล่างอาจคร่าชีวิตมนุษย์ก็เป็นได้</td></tr> </tbody></table></td> <td width="5">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> รอยเตอร์ – ผลพวงจากภาวะโลกร้อนยังเดินหน้าทำลายพื้นที่หนาวเย็นต่อไป โดยล่าสุดสหประชาชาติอาจยกชื่อ “ยอดเขาเอเวอเรสต์” ในเทือกเขาหิมาลัยเข้าไปอยู่ในบัญชี “อันตราย”

    โครงการ “มิตรของโลก” หรือ “เฟรนด์ส ออฟ ดิเอิร์ธ” (Friends of the Earth) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่อังกฤษ เปิดเผยว่า การละลายของหิมะ จนกลายเป็นกระแสธารน้ำแข็งบน “เอเวอเรสต์” ยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก ในเทือกเขาหิมาลัย นอกจากจะมากพอจนเกือบสร้างทะเลสาบหิมาลัยได้แล้ว อาจจะสร้างน้ำท่วมบ่าเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต และทำลายสิ่งแวดล้อมอันเป็นลักษณะเฉพาะของธรรมชาติแถบนั้น

    อย่างไรก็ดี ทางกลุ่มมิตรโลกจะอ้อนวอนให้คณะกรรมการมรดกโลก ยูเนสโกแห่งสหประชาชาติ (U.N.'s World Heritage Committee) ในปารีส พร้อมด้วยนักปีนเขาผู้พิชิตยอดสูงสุดของเอเวอเรสต์ เช่น ไรน์โฮลด์ มาสเนอร์ (Reinhold Messner) ให้ช่วยกันสังเกตการณ์ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น

    ”ยอดเขาเอเวอเรสต์เป็นสัญลักษณ์อันทรงพลังแห่งธรรมชาติของโลก ไม่ใช่แค่เพียงในเนปาล แต่ถ้าเอเวอเรสต์ถูกทำร้ายด้วยภาวะโลกร้อน พวกเราก็จะเริ่มตระหนักทันทีว่านี่เป็นสถานการณ์ที่อันตรายต่อชีวิตเป็นอย่างยิ่ง” ปรากาช ชาร์มา (Prakash Sharma) ผู้อำนวยการโครงการมิตรของโลกในเนปาลเผย

    สถานการณ์โลกร้อนกำลังหนักขึ้นทุกขณะ หลังจากมีปริมาณก๊าซต่างๆ แพร่เข้าสู่ชั้นบรรยากาศมากขึ้น โดยเฉพาะ “คาร์บอน ไดออกไซด์” ตัวการหลักในการทำร้ายสภาพภูมิอากาศทั่วโลก ซึ่งการละลายของธารน้ำแข็งเป็นสัญญาณแรกๆ ที่บอกแก่ชาวโลกว่ากาลอากาศเริ่มเปลี่ยน โดยอุณหภูมิสูงขึ้นเรื่อยๆ

    ทางด้าน เพมบา ดอร์เจ เชอร์ปา (Pemba Dorje Sherpa) ผู้ซึ่งใช้เวลาน้อยที่สุดในการปีสู่ยอดเขาเอเวอเรสต์ เปิดเผยว่า หิมะและน้ำแข็งที่เกาะอยู่ตามแนวเขาลดน้อยลงทุกขณะ ซึ่งทำให้เอเวอเรสต์มีความงามทางธรรมชาติลดลง และถ้าสิ่งเหล่านี้หมดไป ก็จะไม่เหลืออะไรไว้ให้เด็กๆ ของเราอีกต่อไป
     
  11. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ธารน้ำแข็งแอนตาร์กติกาละลาย หวั่นน้ำทะเลล้นโลก <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> <td> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">ธารน้ำแข็งจำนวนมากทางตะวันตกของแอนตาร์กติกาหายไปมากกว่า 60% ไหลลงสู่ทะเลอมุนด์เซน</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ธารน้ำแข็งที่ละลายหรือไหลลงไปในทะเลจะต้องเท่ากับปริมาณน้ำแข็งที่สะสมบนพื้นดิน</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">การศึกษาจากภาพถ่ายดาวเทียม แสดงให้เห็นถึงธารน้ำแข็งที่ถูกกัดเซาะเป็นอย่างมาก</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ธารน้ำแข็งที่เกาะพาย เคลื่อนที่เร็วกว่าเมื่อ 30 ปีที่แล้วประมาณ 25 % ถ้าผืนน้ำแข็งยังคงบางลงๆ ธารน้ำแข็งที่เกาะพายคงจะหายสาบสูญไปจากแอนตาร์กติกา</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> บีบีซีนิวส์/นาซา - ธารน้ำแข็งที่เกาะพายทางตะวันตกของแอนตาร์กติกา หดสั้นและบางลงเป็นอย่างมากเมื่อเทียบกับช่วงทศวรรษ แล้ว ส่งผลทำให้ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้น ซ้ำร้ายอุณหภูมิของโลกที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วใน 5 ทศวรรษที่ผ่านมา

    ทีมนักวิทยาศาสตร์ชาวสหรัฐฯ – ชิลี รายงานผ่านวารสาร "ไซน์" ( Science) ว่า ธารน้ำแข็งเป็นจำนวนมากในทางตะวันตกของแอนตาร์กติกาหายไปมากกว่า 60% โดยได้ไหลลงสู่ทะเลอมุนด์เซน (Amundsen Sea) เป็นจำนวนมากกว่าปริมาณหิมะที่ร่วงมารวมตัวกันบนพื้นดินเสียอีก แต่ถ้าจะให้เกิดความสมดุลของระบบธารน้ำแข็ง ปริมาณธารน้ำแข็งที่ละลายหรือไหลลงไปในทะเลจะต้องเท่ากับปริมาณน้ำแข็งที่สะสมบนพื้นดิน มิเช่นนั้นระดับน้ำทะเลจะเพิ่มขึ้นได้

    รายงานชิ้นดังกล่าว ระบุว่า ก้อนน้ำแข็งที่แยกตัวทำให้ระดับน้ำทะเลปรกติเพิ่มขึ้น 0.2 มม. หรือมากกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ของจำนวนน้ำที่เพิ่มขึ้นทั่วโลกประมาณ 1.8 มม. ต่อปี โดยการศึกษาจากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมและการวัดจากภาพถ่ายจากเครื่องบิน แสดงให้เห็นถึงธารน้ำแข็งที่กำลังเคลื่อนตัวอย่างรวดเร็ว อย่างเช่น ธารน้ำแข็งที่เกาะพาย (The Pine Island Glacier) เคลื่อนที่เร็วกว่าเมื่อ 30 ปีที่แล้วประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์ ถ้าผืนน้ำแข็งยังคงบางลงๆ ธารน้ำแข็งนี้คงจะหายสาบสูญไปจากแอนตาร์กติกา ภายในสองสามร้อยปีข้างหน้า

    อิริค ริคนอต ผู้เข้าร่วมศึกษาจากห้องปฏิบัติการจรวดขับดันของนาซา ( NASA's Jet Propulsion Laboratory : JPL ) แจงว่า อัตราการเปลี่ยนแปลงของธารน้ำแข็งในตอนนี้ยังเกิดขึ้นเพียงเล็กน้อย แต่ธารน้ำแข็งมีศักยภาพเพียงพอที่จะเพิ่มระดับน้ำทะเลของโลกให้มากขึ้นกว่า 1 เมตร แต่ในขณะนี้พวกเราก็ยังไม่รู้ว่าจะเกิดขึ้นเมื่อไร ส่วนระยะเวลาที่เกิดขึ้นนั้นก็ขึ้นอยู่กับว่าธารน้ำแข็งนั้นจะไหลเร็วแค่ไหน ซึ่งปัจจัยหลักก็คือ การเคลื่อนตัวของธารน้ำแข็งไปกระทบไหล่เขาน้ำแข็งขนาดมหึมา จนแตกออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยก่อนที่จะไหลออกสู่ทะเล

    ทางด้าน บ๊อบ โทมัส หนึ่งในทีมนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาอยู่ที่วอลลอปส์ ไฟลท์ แฟซิลิตี (Wallops Flight Facility) ของนาซา ซึ่งตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันออกของเวอจิเนียและยังเป็นผู้รายงานในวารสารไซน์ได้แสดงให้เห็นถึงจุดที่เขาสังเกตเห็นอัตราความเร็วของการเคลื่อนที่ที่เพิ่มขึ้นและอัตราของธารน้ำแข็งที่บางลงเพียงช่วงเวลาสั้น ๆ

    "มันสายไปเสียแล้วที่จะบอกว่าธารน้ำแข็งที่บางลงเรื่อย ๆ เป็นเพียงส่วนหนึ่งของวัฏจักรตามธรรมชาติหรือเป็นเพียงสัญญาณการเปลี่ยนแปลงที่ยังเกิดขึ้นอีกนาน ดังนั้น การจับตามองอย่างต่อเนื่องจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ" โทมัสกล่าว
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  12. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ระวังเกาะและชายฝั่งแถบเอเชียจะจมน้ำ !! <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table><table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="left" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="250"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="250"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">น้ำท่วมใหญ่เกิดถี่ขึ้นกว่าเดิม ล่าสุดที่ไฮติ น้ำท่วมตั้งแต่วันที่ 24 พ.ค.จนกระทั่งถึงวันนี้ (15 มิ.ย.) หนทางขาดหาย อาหารและน้ำเป็นที่ต้องการอย่างมาก ประชาชนล้มตายมากกว่า 2,000 คน</td></tr> </tbody></table></td> <td width="5">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> บีบีซีนิวส์ – ยูเอ็นออกเตือนในช่วง 50 ปีนี้ ระวังให้ดีเกาะน้อยใหญ่และชายฝั่งแถบเอเชียจะเจอน้ำท่วมใหญ่ พร้อมประชากรที่อีก 2 พันล้านคน เหตุเพราะโลกร้อน ทำน้ำแข็งขั้วโลกละลายต่อเนื่อง ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูง

    “นับตั้งแต่กลางศตวรรษนี้โลกจะร้อนขึ้นและชื้นมากขึ้นกว่าเดิมเรื่อยๆ อีกทั้งจะเกิดพายุใหญ่มากขึ้น” ผลการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสหประชาชาติที่โตเกียว (UN University : มีวิทยาเขตใหญ่อยู่ที่โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.2516 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับสถานการณ์สิ่งแวดล้อมโลก)

    ผลการศึกษาชิ้นนี้ได้เตือนว่าเกาะเล็กๆ และชายฝั่งของหลายๆ ประเทศโดยเฉพาะในแถบเอเชียจะมีความเสี่ยงสูงต่อการจมน้ำหรือการเกิดน้ำทั่วใหญ่ในช่วง 50 ปีนี้

    เหตุที่เป็นเช่นนั้นเพราะระดับน้ำทะเลสูงขึ้นทุกขณะ อีกทั้งน้ำแข็งขั้วโลกก็ละลายอย่างต่อเนื่องไม่หยุดหย่อน และจำนวนประชากรที่มากขึ้นเรื่อยๆ ทำให้ต้องกระจายตัวไปอยู่ตามพื้นที่ชายฝั่งและหมู่เกาะที่มีระดับใกล้เคียงกับน้ำทะเลมากขึ้น

    นอกจากนี้ผลการศึกษายังพบข้อมูลที่น่าสนใจบางประการเช่น

    - ประชากร 1 พันล้านคน หรือ 1 ใน 6 ของประชากรโลก อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดการน้ำท่วมใหญ่

    - และหากเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ขึ้น ประชากรทั้ง 1 พันล้านก็จะอยู่ในภาวะแร้นแค้นยากจนที่สุดเท่าที่เคยมีมา

    - สถานการณ์น้ำท่วมได้คร่าชีวิตมนุษย์ประมาณ 25,000 คนในแต่ละปี

    - โลกเราเคยประสบภาวะน้ำท่วมใหญ่มาแล้ว 6 ครั้งในช่วงทศวรรษ 1950 (ปี พ.ศ.2493 – 2502) อีก 7 ครั้งในช่วงทศวรรษ 1960 (ปี พ.ศ.2503 – 2512) อีก 8 ครั้งในช่วง 1970 (พ.ศ. 2513 – 2522) อีก 18 ครั้งในช่วง 1980 (พ.ศ.2523 - 2532) และ 26 ครั้งในช่วง 1990 (พ.ศ.2533 – 2542)

    จากจำนวนที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เช่นนี้ พอจะคาดการณ์ได้ไหมว่า ช่วงปี 2000 – 2009 (พ.ศ.2543 - 2552) น้ำท่วมใหญ่กันกี่ครั้ง...แน่นอนว่ายอมมากกว่า 26 ครั้งอีกมากแน่ !!

    </td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table> [​IMG]
     
  13. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    แผ่นน้ำแข็งขั้วโลกเหลือน้อยสุดในรอบ 100 ปี โลกใกล้ไร้กระจกสะท้อนรังสี

    แผ่นน้ำแข็งขั้วโลกเหลือน้อยสุดในรอบ 100 ปี โลกใกล้ไร้กระจกสะท้อนรังสี <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody> </table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">30 กันยายน 2548 05:56 น.</td> </tr> </tbody> </table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody> </table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> <td> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">ภาพถ่ายจากดาวเทียมแสดงให้เห็นถึงพื้นที่แผ่นทะเลน้ำแข็งที่เหลืออยู่บริเวณอาร์กติก ซึ่งมีเหลืออยู่แค่เพียง 5.309 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นการเหลืออยู่ที่น้อยที่สุดในรอบ 100 ปี ซึ่งปกติแล้วในช่วงน้ำแข็งละลายจะเหลือน้ำแข็งกินพื้นที่บริเวณเส้นสีเหลืองๆ โดยรอบ</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody> </table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ก้อนน้ำแข็งเล็กๆ น้อยๆ ตามทะเลในแถบอาร์กติก ซึ่งปีนี้จะเห็นมากเป็นพิเศษ นั่นก็เพราะธารน้ำแข็งละลายมากกว่าปกติ</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> เอเอฟพี/เอพี – เผยขนาดของแผ่นน้ำแข็งขั้วโลกมีขนาดเล็กที่สุดในรอบ 100 ปี นั่นก็เพราะโลกร้อนที่ทำให้ทะเลน้ำแข็งจมละลายหายไป อันจะทำให้เกราะกันรังสีจากแสงอาทิตย์ลดขนาดลง ซึ่งน้ำแข็งและหิมะทำหน้าที่สะท้อนแสงอาทิตย์สู่อวกาศได้ดีกว่าแผ่นน้ำ

    จูเลียนเน สโตรเฟว (Julienne Stroeve) แห่งศูนย์ข้อมูลน้ำแข็งและหิมะแห่งชาติสหรัฐฯ เปิดเผยการศึกษาร่วมกับมหาวิทยาโคโลราโด (University of Colorado) และมหาวิทยาลัยวอชิงตัน (University of Washington) ในการสำรวจขั้วโลกเหนือทางดาวเทียมว่า ปริมาณทะเลน้ำแข็งที่ละลายในปีนี้จนกระทั่งถึงเดือนกันยายนมีมาก จนทำให้เหลือแผ่นน้ำแข็งปกคลุมบริเวณมหาสมุทรอาร์คติกน้อยมากที่สุดในช่วง 100 ปี

    ”ปี 2005 นี้น้ำแข็งขั้วโลกลดลงในปริมาณที่น่าตกใจ” คำกล่าวของมาร์ก เซอร์เรซ (Mark Serreze) ซึ่งร่วมศึกษาข้อมูลน้ำแข็งขั้วโลกละลายเพราะโลกร้อนครั้งนี้ การสำรวจและวัดปริมาณครั้งนี้ดำเนินการโดยดาวเทียมสำรวจขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ และพบว่าน้ำแข็งในบริเวณอาร์คติกละลายเร็วขึ้นกว่าเดิม และอุณหภูมิก็สูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด

    ดาวเทียมของนาซาได้เก็บข้อมูลตั้งแต่ปี 2002 แสดงให้เห็นถึงฤดูใบไม้ร่วงอันเป็นช่วงน้ำแข็งละลายที่คืบคลานมาเร็วผิดปกติในแถบไซบีเรียเหนือและอลาสกา อีกทั้งแนวน้ำแข็งละลายได้แพร่ขยายไปทั่วอาร์คติกแล้ว ซึ่งการสังเกตการณ์ครั้งล่าสุดในเดือนกันยายนนี้ ชี้ผลอย่างน่าวิตกว่าฤดูน้ำแข็งละลายเริ่มขึ้นเร็วกว่าเดิมถึง 17 วัน

    ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 19 ก.ย.ที่ผ่านมา เหลือพื้นที่น้ำแข็งบริเวณอาร์กติกเหลืออยู่เพียง 2.06 ล้านตารางไมล์ นับเป็นปริมาณแผ่นน้ำแข็งที่น้อยที่สุดที่ปกคลุมขั้วโลกเหนือเท่าที่เคยบันทึกไว้ตั้งแต่ 29 ปีที่แล้ว เรียกได้ว่าน้อยลงกว่า 20% ของปริมาณน้ำแข็งที่ควรจะเหลืออยู่เฉลี่ยในแต่ละปี

    ขณะเดียวกัน อุณหภูมิเฉลี่ยของแถบอาร์กติกในตั้งแต่เดือนมกรคม-สิงหาคม 2005 ก็สูงกว่าค่าเฉลี่ย 5.4 องศาเซลเซียสนับได้ว่าสูงที่สุดในรอบ 50 ปีที่ผ่ามา ซึ่งเท็ด สคัมโบส (Ted Scambos) จากมหาวิทยาลัยโคโลราโดชี้ว่า การละลายของน้ำแข็งขั้วโลกมีแนวโน้มจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว จากสัญญาณที่ระบุได้ชัดเจนก็คืออุณหภูมิบริเวณขั้วโลกเหนือเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในรอบทศวรรษนี้

    อย่างไรก็ดี ก๊าซคาร์บอนที่ถูกปลดปล่อยออกมาจากผืนโลกเข้าสู่ชั้นบรรยากาศนั้นเป็นเหตุให้อากาศร้อนขึ้น จนทำให้น้ำแข็งขั้วโลกละลาย ซึ่งน้ำแข็งที่ปกคลุมอยู่บริเวณขั้วโลกเหนือนั้นทำหน้าที่สะท้อนรังสีจากดวงอาทิตย์กลับสู่ชั้นบรรยากาศ แต่เมื่อน้ำแข็งที่ปกคลุมขั้วโลกละลายออกไปเช่นนี้จะทำให้โลกดูดซับรังสีจากแสงอาทิตย์มากขึ้น เพราะลำพังผืนน้ำที่เป็นของเหลวไม่สามารถทำหน้าที่เช่นเดียวกับน้ำแข็งได้

    ที่สำคัญก๊าซคาร์บอนก็เป็นตัวป้องกันไม่ให้รังสีจากดวงอาทิตย์ผ่านทะลุออกนอกโลกไปได้ เฉกเช่นเดียวกับเราอยู่ในรถหรือเรือนกระจกที่ความร้อนไม่อาจระบายออกไปได้ ดังนั้นจึงเรียกปรากฏการณ์เช่นนี้ว่า “เรือนกระจก” ซึ่งทำให้เกิดผลกระทบทั้งทางด้านกาลอากาศและอุณหภูมิโดยรวมทั่วโลก
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody> </table>
     
  14. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    โลกตัวร้อนไข้ขึ้นถึงขีดสูงที่สุด ในรอบระยะเวลาเป็นพันๆ ปี [28 ก.ย. 49 - 00:26]
    นักวิจัยรายงานในวารสารวิชาการของ “สภาวิทยาคารวิทยาศาสตร์” ของอเมริกา บอกเตือนว่า อุณหภูมิของโลกได้ไต่ขึ้นสูงถึงขีด ที่ไม่เคยเห็นมาก่อนในระยะเวลาเป็นพันๆปี จนรังควาญความเป็นอยู่ของพืชและสัตว์
    นายเจมส์ แฮนสัน หัวหน้าคณะนักวิจัยแห่งสำนักศึกษาอวกาศกอดดาร์ด องค์การอวกาศสหรัฐฯ ระบุว่า อุณหภูมิของโลกร้อนสูงขึ้นในช่วง 30 ปีหลังมานี้ เฉลี่ยแล้วรอบสิบปี ละ 0.36 องศาฟาเรนไฮต์ เป็นเวลาติดกันมา 3 รอบแล้ว ทำให้ อุณหภูมิโดยทั่วไปสูงถึงขีดอุ่นที่สุด ของยุคอินเตอร์ กลาเวียร์ปัจจุบัน ซึ่งเริ่มมาเมื่อประมาณ 12,000 ปีแล้ว
    อุณหภูมิที่อุ่นขึ้น จะยิ่งหนักทางซีกเหนือ จนน้ำแข็งและหิมะที่ปกคลุมอยู่ละลายลงหมด ถึงกับมองเห็นพื้นดินและหินข้างใต้สีดำ ซึ่งกลับยิ่งช่วยดูดความร้อนจากดวงอาทิตย์ มากขึ้นยิ่งกว่าพื้นน้ำ
    ทางด้านพื้นผิวน้ำ อุณหภูมิมักไม่ค่อยเปลี่ยน เนื่องจากมีคุณสมบัติในการอมความร้อนเหนือกว่า แต่นักวิจัยสังเกตพบว่าได้ สังเกตพบน้ำในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิกตะวันตกได้อุ่นขึ้น มหาสมุทรเหล่านี้มีผลกระทบกับดินฟ้าอากาศอย่างใหญ่โต และอาจทำให้เกิดปรากฏการณ์เอล นิโนอันกระทบดินฟ้าอากาศโดยตรง “หลักฐานเหล่านี้ ส่อให้เห็นว่า เรากำลังเข้าใกล้ระดับมลพิษที่มนุษย์ก่อขึ้น ระดับอันตรายเข้าไปแล้ว”.



    www.thairaht.co.th
     
  15. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ปรับแผนที่ใหม่ภายใน 5 ปี ชี้ชัดสภาวะการณ์โลกเปลี่ยนเร็ว <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">25 ตุลาคม 2547
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table><table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="left" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="200"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="200"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">หนังสือแผนที่โลกเล่มใหม่ ( Atlas of the World ) ซึ่งพิมพ์เป็นครั้งที่ 8 โดยเนชันแนล จีโอกราฟิก </td></tr> </tbody></table></td> <td width="5">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> รอยเตอร์ - โลกเปลี่ยนแปลงไปรวดเร็วหลายขั้นมากกว่าทศวรรษที่ผ่าน ๆ มา เพียงเวลาแค่ 5 ปี เนชันแนล จีโอกราฟิกได้ปรับปรุงแผนที่โลกครั้งใหญ่ เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่นำมาใช้ ทำให้การวัดระยะและการคำนวณค่ามีความแม่นยำมากยิ่งขึ้น ในเดือนต.ค. นี้ เนชันแนล จีโอกราฟิก จึงได้เปิดตัวหนังสือแผนที่โลกเล่มใหม่ขึ้นมา พร้อมทั้งเปลี่ยนบทบรรณาธิการใหม่และปรับปรุงหนังให้ทันสมัยมากกว่าเดิมถึง 17,000 จุด

    แอเลน คารอล (Allen Carroll) หัวหน้าสมาคมผู้ทำแผนที่ของเนชันแนล จีโอกราฟิก กล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงหนังสือแผนที่โลกเล่มใหม่ ( Atlas of the World ) ซึ่งพิมพ์เป็นครั้งที่ 8 เกิดมาจากปัจจัยหลัก 2 ประการ คือ การเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของประชากร และระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่มีมากขึ้น เราจึงอยากให้คนมีความตื่นตาตื่นใจและให้มีความเข้าใจโลกของเรามากยิ่งขึ้น อันที่จริงก็มีคนสนใจในเรื่องแผนที่อยู่แล้วแต่อาจยังไม่มีความเข้าใจเพียงพอว่าสิ่งที่เกิดขึ้นในโลกมีผลกับเราอย่างไร

    </td> </tr> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="right" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="5">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="250"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="250"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">แผนที่ของเคเบิลใยแก้วนำแสงที่ฝังอยู่ใต้ทะเล</td></tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> ซึ่งแผนที่เวอร์ชันใหม่ได้นำเทคนิคการทำแผนที่แบบดิจิตัลและเทคโนโลยีภาพถ่ายดาวเทียมใช้ และในแต่ละหน้าจะมีอินเทอร์เน็ตแอดเดรสเพื่อให้ผู้อ่านเข้าไปสืบค้นข้อมูลได้มากยิ่งขึ้น รวมทั้งหมด 416 หน้า รวมทั้งแผนที่และกราฟิกซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของโลก ดังเช่นกรณีการเกิดความขัดแย้งและการก่อการร้ายในประเทศต่าง ๆ รวมไปถึงการอพยพย้ายถิ่นและคลื่นผู้ลี้ภัย อีกทั้งปัจจัยทางสุขภาพและอัตราการอ่านออกเขียนได้ของประชากร

    คารอลกล่าวเพิ่มเติมว่า เนื่องจากปัจจุบันการแบ่งชั้นระหว่างคนรวยคนจนมีมากขึ้น ๆ แผนที่ทางเศรษฐกิจและการเมืองจึงเป็นผลมาจากช่องว่างระหว่างโลกที่กำลังพัฒนากับโลกที่พัฒนาแล้ว ยกตัวอย่างเช่น แผนที่ของเคเบิลใยแก้วนำแสงที่ฝังอยู่ใต้ทะเลแสดงให้เราเห็นว่าจำนวนสายเคเบิลโยงใยกันมากมายระหว่างยุโรปและสหรัฐแต่มีเพียงสายเส้นเดียวที่ลดเลี้ยวรอบชายฝั่งตะวันตกของแอฟริกาและกระโดดข้ามมายังฝั่งแอฟริกาตะวันออก แผนที่บนอินเทอร์เน็ตก็เช่นเดียวกัน ภาพของทวีปยุโรป บางส่วนของเอเชียและอเมริกาเหนือเป็นพื้นที่ ๆ มีความสำคัญเด่นขึ้นมา แสดงให้เห็นว่าแอฟริกายังคงถูกโดดเดี่ยวทั้งทางด้านเศรษฐกิจและทางด้านเทคโนโลยี เมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ

    </td> </tr> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="left" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="250"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="250"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">แผนที่ยังสามารถแสดงสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรม </td></tr> </tbody></table></td> <td width="5">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> “มีข้อถกเถียงมากมายภายในวงการผู้ทำแผนที่ว่าจะรวมอะไรหรือจะไม่รวมอะไรในส่วนของแผนที่ทางการเมืองและเศรษฐกิจ เราย้อนกลับไปดูเสมอเพื่อให้เรามั่นใจว่าพวกเรามีจุดมุ่งหมายในการทำอะไร เราไม่มีอคติเกิดขึ้นแน่นอน เราระมัดระวังด้วยการใช้ข้อมูลหลาย ๆ แหล่งเท่าที่เราจะสามารถหาได้และเราก็ไม่ได้ดำเนินตามนโยบายขององค์กรใด ๆ ทั้งสิ้น” คารอลกล่าว

    นอกจากนั้นแผนที่ยังสามารถแสดงสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรม ตัวอย่างเช่น ทะเลสาบชาด ( Lake Chad ) ที่ได้ทรุดตัวลงเนื่องมาจากความแห้งแล้งที่ยังคงเกิดอย่างต่อเนื่องส่วนการทรุดตัวของทะเลอารัลเป็นผลมาจากการสูบน้ำใต้ดินขึ้นมาใช้ การเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อมจะเกิดขึ้นทีละน้อย ๆ จนไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า

    </td> </tr> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="right" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="5">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="300"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="300"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">ภาพถ่ายทางดาวเทียมในท้องฟ้ายามค่ำคืน</td></tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> แผนที่เวอร์ชันนี้ยังมีภาพถ่ายทางดาวเทียมในท้องฟ้ายามค่ำคืนที่เก็บภาพไว้นานหลายเดือนช่างเป็นภาพที่น่าตื่นตาตื่นใจ ทำให้เราเห็นภาพการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์จากจำนวนแสงไฟที่ส่องสว่าง ไม่ต้องเดาเลยว่าทางฝั่งตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือและชายฝั่งตะวันตก ยุโรปตะวันตกและบางส่วนของญี่ปุ่นและอินเดีย มีจำนวนการใช้ไฟมากที่สุด ขณะที่บางส่วนของออสเตรเลียถูกปกคลุมไปด้วยไฟป่า

    </td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table> [​IMG]
     
  16. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ผลกระทบ “โลกร้อน” ต่อไทย “ระบบลมเปลี่ยน-วันร้อนเพิ่ม-วันเย็นลด” <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">23 เมษายน 2550 20:03 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> <td> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">ลมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดเข้าชายฝั่งอันดามันเมื่อปลายปี 2549 ที่ผ่านมา ส่งผลให้หลายพื้นที่มีระดับคลื่นสูงจนน่าตกใจ</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> เสนอผลคาดการณ์ “โลกร้อน” ชี้ผลกระทบต่อไทย “ระบบลมเปลี่ยนแปลง” ทำมรสุมชายฝั่งสูงขึ้น เหตุลมตะวันออกเฉียงใต้กำลังแรงพัดความชื้นเข้าฝั่ง แต่ลมตะวันออกเฉียงเหนือเบาลงเหตุแผ่นดินร้อนขึ้น ส่งผลให้ไม่หนาวอย่างเคย จำนวน “วันร้อน” เพิ่มขึ้น 30-60 วัน/ปี แต่จำนวน “วันเย็น” ลดลง และบางพื้นที่ไม่มีเลย

    ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อำนวยการศูนย์เครือข่ายงานวิเคราะห์ วิจัยและฝึกอบรมการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กล่าวไว้ในค่ายทูตวิทยาศาสตร์ไทย ณ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) วันที่ 23 เม.ย.นี้ ว่าผลกระทบที่ไทยจะได้รับจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศอันเป็นผลจากภาวะโลกร้อนก็คือการเปลี่ยนแปลงของระบบลม ซึ่งเป็นผลที่ได้จากการคาดการณ์ซึ่งทำการศึกษาร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    ทั้งนี้ ดร.อานนท์ได้อธิบายว่าประเทศไทยและในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นั้นอยู่ภายใต้ระบบลมมรสุม ซึ่งมีฝนที่เกิดจากการยกตัวของอากาศ โดยอุณหภูมิที่สูงขึ้นส่งผลให้มวลอากาศชื้นจากทะเลสูงขึ้นและถูกพัดเข้าชายฝั่ง ซึ่งก๊าซเรือนกระจกที่มากขึ้นจะทำให้ความร้อนถูกกักเก็บไว้มากและส่งผลให้ความชื้นจากทะเลถูกลมพัดพาเข้าบริเวณชายฝั่งมากขึ้น อีกทั้งบริเวณดังกล่าวก็เกิดฝนมากขึ้นด้วย

    ในฤดูร้อนลมตะวันออกเฉียงใต้จะมากขึ้นส่งผลให้ระดับน้ำชายฝั่งอันดามันสูงขึ้น ส่วนฤดูหนาวลมตะวันออกเฉียงเหนือจะอ่อนกำลังเนื่องอุณหภูมิบนแผ่นดินสูงขึ้น ทำให้ไม่หนาวอย่างที่เคย ทั้งยังทำให้น้ำจากทะเลจีนใต้เข้าอ่าวไทยน้อยลง ระดับความสูงของน้ำบริเวณชายฝั่งอ่าวไทยจึงไม่มากเท่าฝั่งอันดามัน” ดร.อานนท์

    ในเรื่องความเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลกนั้น ดร.อานนท์กล่าวว่าอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภูมิเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นน้อย แต่ประเด็นคืออุณหภูมิเฉลี่ยบนแผ่นดินกับทะเลไม่เท่ากัน โดยอุณหภูมิบนแผ่นดินจะสูงกว่าอุณหภูมิในทะเลซึ่งมีพื้นที่ถึง 70% ของพื้นที่ในโลก แสดงว่าอุณหภูมิบนแผ่นดินต้องเพิ่มสูงขึ้นมากจึงทำให้อุณหภูมิเฉลี่ยของทั้งโลกเพิ่มขึ้นเท่ากับอุณหภูมิเฉลี่ยดังกล่าว และอุณหภูมิในพื้นที่สูงกว่าเส้นศูนย์สูตรจะเพิ่มมากกว่าพื้นที่ในบริเวณเส้นศูนย์สูตร เป็นผลให้น้ำแข็งละลายและก็มีนำแข็งละลายถาวรในหลายพื้นที่

    ผลจากการแบบจำลองการคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศในประเทศไทยของ ดร.อานนท์ยังชี้ให้เห็นว่า หากปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มสูงขึ้นจากในปัจจุบัน 360 ppm เป็น 720 ppm ซึ่งคาดว่าเป็นปริมาณก๊าซที่เพิ่มขึ้นในกรณีที่ไม่มีการดำเนินการใดๆ เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จะส่งผลให้ “วันร้อน” ซึ่งเป็นวันที่อุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า 33 องศาเซลเซียสเพิ่มขึ้น 30-60 วัน/ปี โดย จ.อุทัยธานีเป็นจังหวัดที่จำนวนวันร้อนเพิ่มสูงที่สุดมากกว่า 60 วัน สาเหตุเนื่องจากเป็นพื้นที่ในหุบและอยู่ในปากกรวยของเส้นความร้อน ขณะที่ จ.ขอนแก่น จ.สกลนคร และ จ.ชัยนาถมีจำนวนวันร้อนคงที่ ขณะที่ “วันเย็น” ซึ่งเป็นวันที่อุณหภูมิเฉลี่ยต่ำกว่า 15 องศาเซลเซียสมีจำนวนลดลงและบางพื้นที่ไม่มีเลย

    ทั้งนี้ ดร.อานนท์กล่าวว่าเป็นเพียงคาดการณ์จากแบบจำลองเดียวซึ่งอาจมีความผิดพลาดเกือบ 50% แต่รู้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างแน่นอนเพียงแต่ไม่ทราบว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงมากน้อยแค่ไหน และตอนนี้ใช้เพียงแบบจำลองทางฟิสิกส์ทำการศึกษา ซึ่งควรจะมีแบบจำลองทางด้านอื่น อาทิ แบบจำลองทางชีววิทยา แบบจำลองประชากร เป็นต้น เพื่อใช้ทำการคาดการณ์ด้วย

    “20-30 ปีจะเห็นการเปลี่ยนแปลง หากไม่ทำอะไรเพื่อแก้ปัญหาเลย โดยปัญหาจะรุนแรงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ปัญหาที่เกิดขึ้นจะค่อยๆ ซึมลึก ไม่เหมือนภัยพิบัติแบบ “สึนามิ” ที่มาตูมเดียวแล้วไป ส่วนที่ตรงกับการคาดการณ์ตอนนี้คือการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเลที่เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน ส่วนโรคระบาด พายุ ปริมาณน้ำฝนยังไม่สรุปได้ไม่ชัด ยังไม่กล้าฟันธง” ดร.อานนท์กล่าว

    ส่วนความสนใจของคนไทยต่อสภาวะโลกร้อนที่มากขึ้นนั้น ดร.อานนท์กล่าวว่าไม่เป็นเรื่องที่ “ตื่นตูม” เกินไป เพราะหากตื่นตูมจะทำให้เกิดความโกลาหล และถือเป็นเรื่องดีที่ทุกคนเริ่มตระหนักและอยากรู้ว่าความจริงคืออะไร ซึ่งการหยุดเพื่อฟังข้อเท็จจริงเป็นสิ่งที่ดี แต่การอุดหูไม่รับฟังหรือตื่นตูมโดยไม่ฟังนั้นเป็นเรื่องไม่ดี และปัจจุบันการผลิตข้อมูลทางวิทยาศาสตร์เริ่มไม่ทันกับความต้องการรับรู้ความจริงของประชาชน

    “แม้แต่หนังสือแฟชั่นยังพูดเรื่องการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ล่าสุดหนังสือเกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงก็เพิ่งมาสัมภาษณ์” ดร.อานนท์กล่าว โดยให้ความเห็นว่าความสนใจดังกล่าวเป็นผลต่อเนื่องจากระดับโลก ทั้งการทำงานของ คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยความเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ (The Intergovernmental Panel on Climate Change : IPCC) รวมทั้งภาคเอกชนและภาครัฐ โดยเฉพาะหนังสือและภาพยนตร์เรื่อง ที่ทำให้เกิดการตื่นตัวของคนทั่วโลกอย่างเป็นรูปธรรม

    ดร.อานนท์กล่าวอีกว่าในต้นเดือน พ.ค.นี้ IPCC จะมาประชุมที่กรุงเทพฯ และเผยแพร่รายงานฉบับที่ 4 อย่างเป็นทางการ โดยคาดว่าข้อมูลที่ออกมานั้นจะร้อนแรงกว่ารายงานทุกฉบับ เนื่องจากจะมีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของหลายประเทศ ซึ่งเหตุผลที่ IPCC ต้องทำรายงานเพื่อยืนยันสถานการณ์โลกร้อนเพราะข้อโต้แย้งหลักๆ ของฝ่ายที่ไม่ยอมรับต่อปัญหาดังกล่าวคือ “ข้อมูล” จึงจำเป็นต้องมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ชัดเจน โดยการทำงานของนักวิทยาศาสตร์กว่า 2,000 คนจากประมาณ 130 ประเทศ

    “ข้อเสนอแนะวิชาการมีโอกาสกระทบต่อประเทศได้ โดยเมื่อก่อนมองประเทศที่ปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุดเป็นผู้สร้างปัญหา ต่อมาก็คำนวณปริมาณที่ปล่อยต่อหัว และมาแนวใหม่คำนวณการปลดปล่อยต่อ “จีดีพี” ปรากฏว่าแนวใหม่นี้เราอยู่ในอันดับที่สูงเพราะเทคโนโลยีเราต่ำ กว่าจะผลิตสินค้าส่งขายได้ก็ปลดปล่อย (ก๊าซเรือนกระจก) ออกไปเยอะ” ดร.อานนท์กล่าว

    “ที่กลัวตอนนี้คือชุมชนเพิกเฉย ไม่ใส่ใจ และคิดว่าคนไทยจำนวนมากเห็นเป็นเรื่องไกลตัว และเรายังแก้ปัญหาที่ปลายมือ ตอนนี้ยังทำได้ (แก้ปัญหาปลายมือ) แต่ต่อไปจะไม่สามารถทำได้ ตอนนี้เราใช้ทรัพยากรแบบเต็มกำลัง ถ้าใช้มากขึ้นกว่านี้จะวิกฤติ เช่นทรัพยากรน้ำหากใช้มากขึ้นกว่านี้และน้ำน้อยลง จะทำให้เกิดวิกฤตได้” ดร.อานนท์ให้ความเห็น</td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  17. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    เอ็กซอนโมบิลตัวการใหญ่โลกร้อน <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table><table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="right" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="5">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="280"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="280"> [​IMG] </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> เอเอฟพี - เอ็กซอนโมบิล บริษัทพลังงานยักษ์ใหญ่ของสหรัฐฯ ถูกแฉว่ามีส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน อันเนื่องมาจากเป็นผู้ปล่อยก๊าซเรือนกระจกขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศโลกเป็นจำนวนเกือบ 5% ของทั้งหมด

    กลุ่มนักรณรงค์เพื่อสิ่งแวดล้อมเปิดเผยผลการศึกษาวานนี้ (29) ว่า นับตั้งแต่เอ็กซอนโมบิลเริ่มกิจการน้ำมันในปี 1882 เป็นต้นมา ผลิตภัณฑ์น้ำมันและก๊าซของกลุ่มบริษัทนี้เป็นตัวปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่ชั้นบรรยากาศแล้ว 20,300ล้านตัน หรือ 4.7 – 5.3% ของปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ทั้งหมดที่เกิดจากน้ำมือของมนุษย์

    นอกจากนี้ ปริมาณก๊าซดังกล่าวยังส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโลกโดยรวมประมาณ 3.4 – 3.7% และมีส่วนที่ทำให้ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นอีกร้อยละ 2 โดยคำนวณจากยอดขายน้ำมันและก๊าซทั้งหมดนับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งบริษัท

    ทั้งนี้ ผลการศึกษาดังกล่าวมีขึ้นเพื่อตอบโต้เอ็กซอนโมบิลที่ยืนกรานปฏิเสธการมีส่วนเกี่ยวข้องกับปัญหาโลกร้อนและกำลังลอบบี้รัฐบาลอเมริกันอย่างหนักให้ต่อต้านอนุสัญญาเกียวโต ซึ่งจะบังคับให้ชาติอุตสาหกรรมที่ร่วมลงนามลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

    </td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table> [​IMG]
     
  18. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    เตือน กทม.จมใต้บาดาล
    [​IMG]
    27 มีนาคม 2549 17:05 น.
    [​IMG]นักวิทยาศาสตร์เตือน หากโลกยังร้อนต่อเนื่องอยู่อย่างนี้ มีหวังภายในศตวรรษนี้ กรุงเทพฯอาจจมอยู่ใต้บาดาล ผลจากน้ำแข็งขั้วโลกละลาย
    นายโจนาธาน โอเวอร์เพค ผู้เชี่ยวชาญด้านบรรยากาศโลกมหาวิทยาลัยอริโซนา รายงานในวารสารไซน์ โดยระบุว่า ถ้าสภาพอากาศโลกยังคงดำเนินเช่นนี้ต่อไป ในที่สุดน้ำทะเลก็อาจสูงกว่าระดับปัจจุบันถึง 20 ฟุต (6 เมตร)

    "ภายในสิ้นศตวรรษนี้ โลกจะมีอุณหภูมิสูงกว่าตอนนี้อย่างน้อย 2.3 องศาเซลเซียส หรือจะมีอากาศร้อนเกือบเท่ากับเมื่อ 1.3 แสนปีก่อน ซึ่งเคยส่งผลให้ธารน้ำแข็งขนาดใหญ่ ในกรีนแลนด์และแอนตาร์กติกละลาย และระดับน้ำทะเลทั่วโลก เพิ่มสูงกว่าระดับปัจจุบันประมาณ 20 ฟุต" นักวิทยาศาสตร์ประเมิน

    ทีมวิจัยใช้แบบจำลองคอมพิวเตอร์ จำลองสภาพอากาศเมื่อ 1.3 แสนปีก่อน ซึ่งแกนของโลกทำมุมเอียงมากกว่าปัจจุบันเล็กน้อย แสงอาทิตย์ จึงส่องกระทบพื้นที่เหนือเส้นละติจูดเหนือ มากกว่าปัจจุบัน อุณหภูมิโลกช่วงนั้นจึงร้อนกว่าที่เป็นอยู่ขณะนี้ และนำมาเปรียบเทียบกับแบบจำลองสภาพอากาศในอนาคต เพื่อศึกษาว่าระดับน้ำทะเลจะเพิ่มสูงขึ้นอีกเท่าไรในอนาคต

    นายโอเวอร์เพค กล่าวว่า ระดับน้ำทะเลในมหาสมุทรจะเพิ่มขึ้นถึงระดับสูงและเข้าขั้นวิกฤติภายใน ค.ศ.2500 หรือเร็วกว่านั้น ซึ่งโลกจะร้อนขึ้นเท่ากับเมื่อ 1.3 แสนปีก่อนในช่วงต้นครึ่งหลัง ของศตวรรษนี้ และเมื่อเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น แผ่นน้ำแข็งขนาดใหญ่จะเริ่มละลายอย่างรวดเร็วกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน

    "หากเราตัดสินใจดำเนินชีวิตต่อไปในรูปแบบนี้ และปล่อยให้โลกร้อนต่อไป เพราะมลภาวะก๊าซเรือนกระจก เราก็อาจจะทำให้ธารน้ำแข็งเหล่านั้น ละลายได้อย่างรวดเร็ว" นายโอเวอร์เพคกล่าว

    ภาวะโลกร้อนที่เรากำลังเผชิญอยู่ในขณะนี้เป็นปัญหาระดับโลก และเกิดขึ้นตลอดปี และเป็นผลมาจาก อิทธิพลของมนุษย์ที่มีต่อระบบบรรยากาศ ซึ่งนั่นจะส่งผลกระทบ ต่อธารน้ำแข็งมากกว่าภาวะโลกร้อนของเมื่อ 1.3 แสนปีก่อน

    นอกจากนี้ยังมีรายงานอีกฉบับหนึ่งระบุว่า การเคลื่อนที่อย่างกะทันหันของธารน้ำแข็งแถบกรีนแลนด์ จะส่งผลให้เกิดแผ่นดินไหวบ่อยขึ้น ธารน้ำแข็งบางผืน ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าเกาะแมนฮัตตันของมหานครนิวยอร์ก อาจเคลื่อนที่ได้ 10 เมตรเพียงไม่กี่นาที เพียงพอที่จะทำให้เกิดคลื่นแรงสั่นสะเทือนได้


    http://www.bangkokbiznews.com

     
  19. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    ”เตาไฟในครัว” อีกเหตุสำคัญทำโลกร้อน

    ”เตาไฟในครัว” อีกเหตุสำคัญทำโลกร้อน <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody> </table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">
    </td> </tr> </tbody> </table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody> </table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <table align="left" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="250"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="250"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">เขม่าที่ได้จากการเผาฟืนและถ่านจากหลายร้อยล้านครัวก็สร้างมลพิษให้แก่อากาศได้อย่างไม่น่าเชื่อ</td></tr> </tbody></table></td> <td width="5">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> เอพี – นักวิจัยจากอินเดียและอเมริกันร่วมสันนิษฐานเหตุที่ภูมิอากาศบริเวณเหนือท้องฟ้าเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เปลี่ยนแปลงไปนั้นเป็นเพราะ “การทำครัว” พบเขม่าสีดำจากการจุดเตาลอยขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศมากกว่าการเผาไหม้ถ่านหิน แนะใช้เทคโนโลยีสะอาดทำครัว

    ทีมวิจัยของ ดร.จันทรา เวนกาตารามัน (C. Venkataraman) จากสถาบันเทคโนโลยีอินเดีย ในบอมเบย์ (Indian Institute of Technology Bombay) เปิดเผยผลการวิจัยผ่านวารสาร “ไซน์” (Science) ว่า การเผาไม้ และปุ๋ยจากสัตว์ที่ใช้ในการประกอบอาหารนั้นเป็นเหตุหลักที่ทำให้เกิดกลุ่มก๊าซคาร์บอนสีดำในอากาศบริเวณท้องฟ้าเหนือแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

    “ดังนั้นพวกเรามีข้อเสนอแนะว่าให้ควบคุมการแพร่กระจายควันสู่ชั้นบรรยากาศ ด้วยการใช้เทคโนโลยีที่สะอาดกว่าเดิมในการประกอบอาหาร ซึ่งยังจะช่วยลดความเสี่ยงต่างๆ ต่อสุขภาพ หากหลายพันล้านบ้านต่างลดการปล่อยควันจากเตาในครัวลง ก็อาจจะช่วยบรรเทาสภาวะอากาศเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงขณะนี้” ข้อเสนอแนะจากคณะนักวิจัย

    อย่างไรก็ดี การที่อากาศเปลี่ยนแปลงมีผลต่อรูปแบบปริมาณฝนตก อันไปสู่ฤดูน้ำหลากและฤดูแล้งที่เปลี่ยนแปลงตามไป ซึ่งผลงานวิจัยที่นำมาตีพิมพ์นี้ชี้ให้เห็นถึงผลการทำลายสิ่งแวดล้อมของการก่อฟืนหรือเชื้อเพลิงอื่นๆ ในการเผาไหม้เพื่อการประกอบอาหารอันเป็นกิจกรรมสำคัญประจำวันของมนุษย์

    ขณะเดียวกันนักวิทยาศาสตร์ด้านชั้นบรรยากาศส่วนใหญ่ทั่วโลกกำลังกังวลถึงปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก อย่างเช่น คาร์บอนไดออกไซด์ โดยเฉพาะจากการผลิตของโรงงานที่เป็นตัวการสำคัญทำให้อุณหภูมิของดาวโลกเพิ่มสูงขึ้นถ้วนทั่ว ซึ่งนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงกาลอากาศของโลก

    ทั้งนี้ คณะนักวิจัยยังได้ทดสอบการใช้เชื้อเพลิงชนิดต่างๆ เผาไหม้ในเตาทำอาหารที่ชาวอินเดียนำมาใช้ เพื่อตรวจหาเขม่าที่ได้แถมมา และยังวัดปริมาณเขม่าที่ลอยขึ้นสู่อากาศของเชื้อเพลิงแต่ละชนิด

    พวกเขาคำนวณได้ว่าเขม่าดำที่อยู่ในชั้นบรรยากาศนั้น 42% มาจากไฟในเตาของห้องครัว 25% มาจากการเผาถ่านหิน และอีก 13% มาการเผาไหม้ในที่โล่ง เช่น ไฟป่า

    นอกจากนี้ยังมีนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ในลอสแองเจลลิส (University of California, Los Angeles) ร่วมทีมศึกษาครั้งนี้ด้วย โดยงานวิจัยชิ้นนี้ได้รับงบประมาณจากองค์การวิจัยทางอวกาศของอินเดีย (Indian Space Research Organization), มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียในซานดิเอโก (University of California, San Diego), สถาบันวิทยาศาสตร์สุขภาพและสิ่งแวดล้อมแห่งสหรัฐ (U.S. National Institute of Environmental Health Sciences) และองค์กรพิทักษ์สิ่งแวดล้อมสหรัฐฯ (U.S. Environmental Protection Agency)

    </td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody> </table> [​IMG]
     
  20. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    เป็นอย่างไรกันบ้างครับ บทความที่นำมาเสนอ หวังว่าคงเป็นแรงกระตุ้นอีกหนึ่ง ที่จะทำให้คนไทยเราหันมาให้่ความสำคัญกับภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงบรรยากาศกันมากขึ้นนะครับ

    และบทความต่อจากนี้ไปจะเป็นการลำดัว่าในแต่ละวันตั้งแต่ต้นปี 2550 สถานการณ์และปัญหาที่เกิดจากภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงบรรยากาศทั่วโลกเป็นอย่างไรบ้าง

    ติดตามอ่านเลยครับ>>>>>>>>>>>>>
     

แชร์หน้านี้

Loading...