การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย HONGTAY, 10 เมษายน 2007.

  1. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • เตือนโลกร้อนทำเกาะจมทะเล[​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย มติชน [ 06-12-2007 | 09:18 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> ตัวแทนหมู่เกาะเล็กๆ ร้องเตือน แก้โลกร้อนตอนนี้ก็สายไปเสียแล้ว เพราะน้ำทะเล ได้เพิ่มสูงขึ้น จนทำให้ผืนดินบนเกาะจมหายไปเรื่อยๆ แล้ว ขณะที่ชาวบ้านไร้หนทาง ต้องอพยพหนีอย่างเดียว
    ในการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศโลก ซึ่งมีขึ้นท ี่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 5 ธันวาคมที่ผ่านมา ตัวแทนจาก หมู่เกาะเล็กๆ ออกมาเตือนว่า การแก้ไขปัญหาโลกร้อน ตอนนี้เป็นเรื่องที่สาย ไปเสียแล้ว เพราะบรรดาเกาะเล็กๆ ซึ่งเป็นที่อยู่ของชาวบ้าน ได้จมหายไปกับน้ำทะเล ที่เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ แล้ว อันเป็นผลจากภาวะโลกร้อน
    ข่าวระบุว่า ตัวแทนจากหมู่เกาะคาร์เตเรต ในปาปัวนิวกินี ประเทศคิริบาตี ในมหาสมุทรแปซิฟิก และหมู่เกาะในช่องแคบตอร์เรสของออสเตรเลีย ได้ยื่น เรื่องราวเกี่ยวกับชะตากรรมที่ประเทศหมู่เกาะเล็กๆ ต้องเผชิญให้กับที่ประชุม โดยนางอูร์ซูลา ราโกวา จากหมู่เกาะคาร์เตเรต กล่าวต่อที่ประชุมว่า หลายประเทศ ที่อยู่เป็นเกาะและอยู่เหนือระดับน้ำทะเลเพียงไม่กี่เมตร กำลังประสบปัญหาอย่างหนัก เนื่องจากระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น และเริ่มท่วมที่อยู่อาศัยของประชาชน จนชาวบ้านต้องพากันอพยพหนีเพราะไม่มีทางเลือก
    ราโกวากล่าวด้วยว่า ระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นได้ส่งผลต่อพื้นที่การเกษตร รวมไปถึง แนวหินปะการังที่ถูกกัดเซาะ ต้นมะพร้าวและต้นกล้วย ก็ไม่สามารถเติบโต ขึ้นจาก ดินที่มีความเค็มได้ ขณะที่น้ำดื่มก็ถูกปนเปื้อนด้วยน้ำทะเล โดยที่คาร์เตเรตนั้น มีอยู่เกาะหนึ่งที่ถูกแยกออกเป็นสองส่วนเนื่องจากน้ำทะเลที่รุกล้ำเข้าไปในผืนดิน
    ด้านนายตันกาโรอา อโรบาตี นักเคลื่อนไหวเรื่องโลกร้อนจากประเทศคิริบาตี ที่ซึ่งมีประชาชนอาศัยอยู่ราว 92,500 คน เหนือแนวหินปะการัง 33 แนว โดยอาศัย อยู่เหนือระดับน้ำทะเลเพียง 2-3 เมตรเท่านั้น กล่าวว่า สำหรับชาวคิริบาตี นอกเหนือ จากผู้หญิงแล้ว ที่ดินถือว่าเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง เพราะทั้งผู้หญิง และที่ดิน เป็นผู้ให้อนาคต แก่เรา ขณะที่ผืนดินของเราก็ยังถือเป็นมรดกอีกด้วย
    ทั้งนี้ ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศโลกระบุว่า อากาศที่ร้อนขึ้น บนโลก ได้ส่งผลให้ธารน้ำแข็ง และน้ำแข็ง บริเวณขั้วโลกละลาย น้ำทะเลก็เพิ่ม มากขึ้น ส่งผลให้ปริมาณน้ำในมหาสมุทรเพิ่มสูงขึ้น อย่างน้อย 18 เซนติเมตร ภายในปี 2643 ขณะที่คณะกรรมการระหว่างประเทศ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาวะอากาศโลก ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปีนี้ ระบุว่า ตั้งแต่ปี 2536-2546 ระดับน้ำทะเลบนโลกได้เพิ่มสูงขึ้นถึงปีละ 3.1 มิลลิเมตร (เอเอฟพี)
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  2. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • ไอเอ็มเอฟจะหารือผลกระทบเศรษฐกิจ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย สำนักข่าวไทย [ 06-12-2007 | 10:42:19 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> วอชิงตัน 6 ธ.ค.- กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือไอเอ็มเอฟ จะหารือเรื่อง ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ในการวิจัยและการประชุมที่กำหนดมีขึ้นในต้นปีหน้า
    นายคาทาโตชิ คาโต รองกรรมการผู้จัดการไอเอ็มเอฟ กล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ก่อให้เกิดความท้าทายหลายอย่าง และซับซ้อน เพราะสภาพอากาศแปรปรวน จะบังคับให้รัฐบาลต้องปรับตัว และสร้างภูมิคุ้มกัน ให้แก่เศรษฐกิจ งานวิจัยของไอเอ็มเอฟ จะวิเคราะห์เชิงลึกถึงผลกระทบ ทางเศรษฐกิจมหภาค ของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ และนโยบายรับมือ ทั้งการลดปัจจัย ที่จะกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ และการปรับตัว เข้ากับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ขณะที่คณะกรรมการบริหารไอเอ็มเอฟ จะประชุมหารือเรื่องผลกระทบทางการเงินในต้นปีหน้า
    รองกรรมการผู้จัดการไอเอ็มเอฟเผยด้วยว่า ไอเอ็มเอฟกำลังพิจารณากลไกภาษี แบบใหม่ และมาตรการการเงินอื่น ๆ สำหรับประเทศที่ได้รับผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ เขาจะเข้าร่วมการประชุมสหภาพประชาชาติ ว่าด้วยสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงที่เกาะบาหลีของอินโดนีเซียในสัปดาห์หน้า
    ไอเอ็มเอฟระบุว่า ความท้าทายทางเศรษฐกิจจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศได้แก่ ผลเสียเชิงลบโดยตรงต่อผลผลิต และผลิตภาพ รายได้จากภาษีลดลง รายจ่ายภาครัฐเพิ่มขึ้นดุลการชำระเงินมีปัญหาเพราะส่งออกได้ลดลง และภาคเอกชนมีต้นทุนเพิ่มขึ้นเพราะเชื้อเพลิงแพงขึ้น
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  3. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    มลภาวะทางอากาศฮ่องกงน่าห่วง ดัชนีเกินระดับในหลายพื้นที่ <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">8 ธันวาคม 2550 12:42 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> ฮ่องกงถูกปกคลุมด้วยมลพิษทางอากาศครั้งร้ายแรงที่สุดในปีนี้ นับเป็นวันที่ 2 โดยไม่สามารถมองเห็นเนินเขาแถบท่าเรือวิกตอเรียทั้งที่เป็นวันที่อากาศแจ่มใสมีแสงแดดจัด
    สถานีตรวจสอบมลพิษในอากาศของฮ่องกงตรวจพบมลพิษในระดับสูงในหลายจุดนับแต่เมื่อวันศุกร์ และสำนักงานพิทักษ์สิ่งแวดล้อมยังประกาศเตือนว่า ประชาชนที่มีปัญหาเกี่ยวกับหัวใจและปอดควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้ง รายงานระบุว่า ดัชนีมลพิษในอากาศเกินระดับ 101 ในหลายพื้นที่ในช่วงกลางวัน หลังจากดัชนีทะยานไปถึง 151 นับว่าสูงสุดของปีนี้ ในย่านธุรกิจตอนกลางของฮ่องกงเมื่อวานนี้(7 ธ.ค.)
    ปัญหามลพิษในฮ่องกงเกิดขึ้นขณะที่อีก 190 ประเทศกำลังประชุมที่เกาะบาหลี ของอินโดนีเซีย เพื่อทำข้อตกลงฉบับใหม่ในการต่อสู้ปัญหาโลกร้อน
     
  4. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    เปิดรายงานยูเอ็น "ไทย" ปล่อยก๊าซโลกร้อนเร็วอันดับ 2 ในโลก <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">9 ธันวาคม 2550 00:09 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> <td> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">นายธารา บัวคำศรี และคู่มือกู้วิกฤติสภาพภูมิอากาศเล่มล่าสุด </td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">คู่มือกู้วิกฤติสภาพภูมิอากาศ ซึ่งมี ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขามูลนิธิชัยพัฒนา เขียนคำนิยม</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">คลินิกโลกร้อนออกมอบความรู้แก่ประชาชน</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">กิจกรรมเขียนข้อความหยุดโลกร้อน เขียนแล้วก็มาผูกไว้กับต้นไม้ที่จัดไว้ให้</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ลองคำนวนกันเล่นๆ คนไหนปล่อยก๊าซโลกร้อนมากที่สุด ด้วยโปรแกรมช่วยคำนวณของกรีนพีซ</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">น้ำปั่นพลังแสงอาทิตย์ด้วยพลังงานไฟฟ้าจากแผงโซลาร์เซลล์บนหลังคาของคลินิกโลกร้อนเคลื่อนที่ </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">น้ำปั่นหวานชื่นใจดับโลกร้อน</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">น้องไบร์ท</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">อ.กัญฎา นาคมชม </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> กรีนพีซทั่วโลกจัดกิจกรรมยุติโลกร้อน เปิดรายงานยูเอ็น พบโดยเฉลี่ย คนไทยปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่ชั้นบรรยากาศมากกว่าคนจีน อินโดฯ และอินเดีย ชี้ 15 ปีอัตราปล่อยก๊าซเรือนกระจกของไทยพุ่งสูงขึ้นเป็นอันดับ 2 ของโลกที่อัตราขยาย 180% รองจากมาเลย์ชาติเดียว

    “โลกร้อน” ยุติไม่ได้เพียงคำพูด กรีนพีซเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จัดกิจกรรมแสดงพลังยุติโลกร้อนขึ้นเมื่อวันเสาร์ที่ 8 ธ.ค.50 ณ ตลาดนัดสวนจตุจักร กรุงเทพฯ พร้อมเปิดตัวคู่มือกู้วิกฤติสภาพภูมิอากาศเล่มล่าสุด เพื่อบอกเล่าที่มาที่ไปของภาวะโลกร้อนและวิธีประหยัดพลังงานอย่างง่ายในชีวิตประจำวันแจกจ่ายแก่ประชาชน

    นายธารา บัวคำศรี ผู้ประสานงานรณรงค์ด้านพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กรีนพีซ กล่าวว่า แม้ประเทศไทยจะไม่ใช่ผู้ปล่อยก๊าซเรือนกระจกรายใหญ่ของโลก แต่รายงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติก็พบว่าไทยตกอยู่ในภาวะน่ากังวลเช่นกัน โดยคนไทยมีอัตราเฉลี่ยการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่ชั้นบรรยากาศสูงถึง 4.2 ตัน/คน/ปี สูงกว่าจีนที่ 3.8 ตัน/คน/ปี อินโดนีเซีย 1.7 ตัน/คน/ปี และอินเดีย 1.2 ตัน/คน/ปี

    รายงานยังบอกต่อไปด้วยว่า ตั้งแต่ปี พ.ศ.2533 -2547 ไทยยังเป็นประเทศที่มีอัตราเพิ่มขึ้นของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกด้วย ที่อัตราส่วน 180% ตามหลังมาเลเซียซึ่งมีอัตราเร่งมากที่สุดของโลกที่ 200% เพียงชาติเดียวเท่านั้น

    นายธารา ชี้ว่า ปัจจัยหลักของตัวเลขดังกล่าวเนื่องจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องของไทย ที่ผลักดันให้ต้องบริโภคพลังงานมากขึ้น จนเชื่อได้ว่าคนไทยจะหลีกเลี่ยงผลกระทบที่เกิดตามมาไม่ได้แน่นอน เช่น ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล ลมมรสุม การเพิ่มสูงขึ้นของน้ำทะเล ตลอดจนแผ่นดินทรุดที่จะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น วิธีที่จะลดปัญหาได้คือการลดใช้พลังงานและการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าเท่าที่จะทำได้ อันเป็นประเด็นหลักของคู่มือเล่มนี้

    ทั้งนี้ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขามูลนิธิชัยพัฒนา กล่าวในคำนิยมของคู่มือดังกล่าวว่า ในโลกปัจจุบันมนุษย์บริโภคมากเกินพอดี คือเกินทุนที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ทำให้ต้องผลิตมาก ต้องใช้ทรัพยากรและพลังงานมาก จนอุณหภูมิโลกเพิ่มสูงขึ้น ก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบนิเวศ ชีวิต และความเป็นอยู่ของมนุษย์ตามมา

    วิธีแก้ปัญหาจึงควรใช้ชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทาน คือบริโภคแต่เพียงพอดีพอประมาณ และบริโภคโดยใช้เหตุผลตามความจำเป็นเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตเป็นหลัก ซึ่งผลที่ได้จะบรรเทาการเกิดก๊าซเรือนกระจกและภาวะโลกร้อนได้

    “กรีนพีซได้จัดกิจกรรมวันรณรงค์ยุติภาวะโลกร้อนพร้อมกันทั่วโลก ซึ่งตอนนี้ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซียกำลังมีการประชุมประเทศภาคีสมาชิกอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพิธีสารเกียวโต โดยกรีนพีซได้ส่งเรือเรนโบว์วอริเออร์ไปส่งข้อความหยุดโลกร้อนและสนับสนุนการปฏิวัติพลังงานไปยังการประชุมด้วย” นายธารา กล่าว

    ด.ช.นนท์ปวิธ นพคุณ หรือน้องไบร์ท นักเรียนชั้น ม.1 โรงเรียนสวนกุหลาบนนทบุรี หนุ่มน้อยที่มาร่วมกิจกรรม ยอมรับว่า รู้สึกกลัวภาวะโลกร้อน เพราะฟังจากคนรอบข้างบอกว่าจะทำให้มีภัยพิบัติต่างๆ เกิดขึ้นในอนาคต เช่น ปัญหาน้ำท่วมและน้ำแล้ง เป็นต้น โดยตัวเองก็จะพยายามช่วยลดภาวะโลกร้อนอย่างเต็มที่เท่าที่จะทำได้และไม่ทำให้ตัวเองลำบาก เช่น การลดใช้พลังงาน ปิดไฟดวงที่ไม่ใช้ และการใช้ถึงผ้าไปจ่ายตลาดรวมถึงโรงเรียน

    ด้าน อ.กัญฎา นาคมชม คุณครูประจำชั้นจากโรงเรียนเทศบาลหนึ่งบ้านในเมือง จ.เพชรบูรณ์ กล่าวว่า ตัวเองเป็นคนหนึ่งที่ปฏิบัติตัวเพื่อลดวิกฤติภาวะโลกร้อนด้วย เช่น การเดินไปโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน หากวันใดเร่งรีบก็จะใช้วิธีขี่จักรยานแทน นอกจากนั้นที่บ้านยังใช้หลอดตะเกียบประหยัดไฟแทนหลอดไฟชนิดอื่นๆ และที่สำคัญคือนำถุงผ้าติดมือไปจ่ายตลาดทุกครั้ง

    เรื่องภาวะโลกร้อนไม่ใช่เรื่องของครูหรือนักเรียนเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของทุกคนร่วมกัน เป็นฝันเฟืองเล็กๆ ที่ร่วมกันแก้ปัญหา ทุกคนมีวิถีชีวิตไม่เหมือนกันก็ช่วยตามที่จะช่วยกันได้ต่างๆ กันออกไป" อ.กัญฎา กล่าว

    คุณครูประจำชั้นจาก จ.เพชรบูรณ์ รายนี้ยังบอกด้วยว่า นอกจากจะเริ่มที่ตัวเองก่อนแล้ว เมื่ออยู่ที่โรงเรียนก็จะสอนให้เด็กๆ ปิดไฟที่ไม่ใช้ เดินทางไปทางเดียวกันก็ติดรถกันไป รู้จักการใช้ถุงผ้าจ่ายตลาด หรือแม้แต่การเดินและปั่นจักรยานไปโรงเรียนแทนการขี่มอเตอร์ไซด์หรือโดยสารรถยนต์ โดยวันอาทิตย์ที่ 9 ธ.ค.ที่จะถึงนี้ที่โรงเรียนยังจะมีกิจกรรมที่เด็กๆ และผู้ปกครองร่วมกันรณรงค์ลดโลกร้อนในชุมชนด้วยตามแนวคิดของเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ด้วย

    ส่วนกิจกรรมอื่นๆ ของกรีนพีซ ณ ตลาดนัดสวนจตุจักรครั้งนี้ยังประกอบไปด้วยการทำน้ำปั่นจากพลังงานแสงอาทิตย์จากคลินิกโลกร้อน ซึ่งเป็นห้องนิทรรศการพลังงานหมุนเวียนเคลื่อนที่ โดยมีแผงโซลาร์เซลล์ขนาด 50 วัตต์จำนวน 4 แผงเป็นแหล่งจ่ายพลังงาน กิจกรรมเขียนข้อความหยุดโลกร้อน กิจกรรมการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศแบบคร่าวๆ และที่เรียกความสนใจจากวัยรุ่นได้ดีที่สุดในช่วงท้ายกิจกรรมคือมินิคอนเสิร์ตจากวงไอโอเนียน
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  5. nantiya.j

    nantiya.j เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    860
    ค่าพลัง:
    +8,550
    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=5 width=599 border=0><TBODY><TR><TD class=text4>เหนือมีหมอกหนาในตอนเช้า-ใต้ฝนตกหนัก
    05:51 น. เนชั่นทันข่าว


    <DD>กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์ลักษณะอากาศทั่วไปเมื่อเวลา 04.00 น. วันที่ 10 ธันวาคม ว่าบริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นที่ปกคลุมประเทศไทยมีกำลังอ่อนลงอีก แต่ยังคงทำให้มีอากาศเย็นกับมีหมอกในตอนเช้าและมีหมอกหนาเกิดขึ้นได้ ขอให้ผู้ขับขี่ยานพาหนะระมัดระวังอันตรายในการสัญจรผ่านบริเวณที่มีหมอก
    <DD> <DD>สำหรับมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือกำลังค่อนข้างแรงยังคงพัดปกคลุมภาคใต้และอ่าวไทยตอนล่างตั้งแต่จังหวัดสุราษฎร์ธานีลงไป ทำให้ภาคใต้มีฝนตกหนักบางพื้นที่ คลื่นลมบริเวณอ่าวไทยตอนล่างสูง 2-3 เมตร ขอให้ชาวเรือเพิ่มความระมัดระวังการเดินเรือและเรือเล็กควรงดออกจากฝั่งในระยะนี้
    <DD>พยากรณ์อากาศสำหรับประเทศไทยตั้งแต่เวลา 06.00 วันนี้ ถึง 06.00 วันพรุ่งนี้. <DD> <DD>ภาคเหนือ มีหมอกในตอนเช้า กับมีหมอกหนาในหลายพื้นที่ อากาศหนาวทางตอนบนสุดของภาค ส่วนทางตอนล่างของภาคอากาศเย็น อุณหภูมิต่ำสุด 15 องศา สูงสุด 33 องศา สำหรับบริเวณยอดดอยมีอากาศหนาวถึงหนาวจัด อุณหภูมิต่ำสุด 5-10 องศา ลมตะวันออก ความเร็ว 10-25 กม./ชม.
    <DD>ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีหมอกในตอนเช้าและอากาศเย็น อุณหภูมิต่ำสุด 18 องศา สูงสุด 33 องศา ส่วนบริเวณยอดภูมีอากาศหนาว อุณหภูมิต่ำสุด 10-15 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-30 กม./ ชม.
    <DD> <DD>ภาคกลาง มีหมอกบางในตอนเช้าและอากาศเย็น อุณหภูมิต่ำสุด 20 องศา สูงสุด 32 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-30 กม./ ชม.
    <DD>ภาคตะวันออก มีหมอกบางในตอนเช้าและอากาศเย็นทางตอนบนของภาค อุณหภูมิต่ำสุด 23 องศา สูงสุด 34 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ใกล้ฝั่งทะเลมีคลื่นสูง ประมาณ 1 เมตร ห่างฝั่งทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร
    <DD> <DD>ภาคใต้ (ฝั่งตะวันออก) มีฝนฟ้าคะนองกระจาย ร้อยละ 40 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่ง บริเวณจังหวัดพัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส อุณหภูมิต่ำสุด 22 องศา สูงสุด 31 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-40 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 2-3 เมตรส่วนมากตั้งแต่จังหวัดสุราษฏร์ธานีลงไป
    <DD>ภาคใต้ (ฝั่งตะวันตก) มีฝนฟ้าคะนองเป็นแห่งๆ ร้อยละ 30 ของพื้นที่ ส่วนมากบริเวณจังหวัดกระบี่ ตรัง และสตูล อุณหภูมิต่ำสุด 23 องศา สูงสุด 32 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-35 กม./ชม. ใกล้ฝั่งทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร ห่างฝั่งทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร
    <DD> </DD><DD>กรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีหมอกบางในตอนเช้า กับมีเมฆเป็นส่วนมาก อุณหภูมิต่ำสุด 24 องศา สูงสุด 34 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-30 กม./ชม. </DD></TD></TR><TR><TD align=middle>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • ญี่ปุ่นระบุปีนี้อุณหภูมิพื้นผิวโลกอบอุ่นที่สุด[​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย สำนักข่าวไทย [ 13-12-2550 | 15:28:07 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> โตเกียว 13 ธ.ค. - สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นรายงานว่า อุณหภูมิเฉลี่ย บนพื้นผิวโลกในปีนี้จะสูงที่สุด นับแต่เริ่มมีการบันทึกสถิติเมื่อปี 2423 โดยส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
    รายงานฉบับนี้ถูกนำออกมาเปิดเผยในช่วงเดียวกับ ที่เกาะบาหลีกำลังมีการประชุม ว่าด้วยสภาพอากาศโลก ระหว่างวันที่ 3-14 ธ.ค. เพื่อหารือเกี่ยวกับการทำข้อตกลง ฉบับใหม่ต่อจากพิธีสารเกียวโตหลังปี 2555 แต่ไม่ได้มีการนำเสนอรายงานนี้ ต่อที่ประชุม รายงานระบุว่า อุณหภูมิพื้นผิวโลกโดยเฉลี่ย นับจากเดือน ม.ค.-ธ.ค.ปีนี้ สูงกว่าในช่วงปีก่อนๆ ในทุกภาค ยกเว้นตอนใต้ของอเมริกาใต้ ขณะเดียวกันอุณหภูมิบนพื้นผิวมหาสมุทรส่วนใหญ่ก็สูงขึ้น ยกเว้นมหาสมุทรแปซิฟิกทางซีกตะวันออกใกล้เส้นศูนย์สูตร
    รายงานคาดว่า อุณหภูมิเฉลี่ยพื้นผิวโลกในปีนี้จะสูงกว่าในช่วง 30 ปีนับจากปี 2514-2543 ราว 0.67 องศาเซลเซียส ขณะที่เมื่อปี 2548 และปี 2549 อุณหภูมิเฉลี่ย สูงกว่าราว 0.58 องศาเซลเซียส ด้านนักวิทยาศาสตร์คาดว่าอุณหภูมิโลก โดยเฉลี่ย จะเพิ่มขึ้น 1.8-4 องศาเซลเซียส อันเป็นผลมาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  7. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    คงพื้นที่ป่าอีกแผนกู้โลกร้อนจากบาหลี <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">16 ธันวาคม 2550 18:39 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> <td> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">เมฆที่ก่อตัวให้น้ำฝนปกคลุมเหนือพื้นที่ป่าในมาเลเซีย</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ไฟป่าเป็นอีกตัวการในการเพิ่ม
    การปล่อยก๊าซเรือนกระจก
    และลดพื้นที่ในการดูดซับคาร์บอน</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ภาพโรงงานปล่อยควันในปักกิ่ง ประเทศจีน</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> เอพี - นอกจากการถ่ายทอดเทคโนโลยีสะอาดที่ประเทศพัฒนาพัฒนาแล้ว
    ต้องช่วยเหลือประเทศยาก ผลการประชุมระดับผู้นำว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง
    สภาพภูมิอากาศที่บาหลียังระบุให้รักษาพื้นที่ป่าไว้ด้วย


    การประชุมว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของสหประชาชาติ (ยูเอ็น)
    ณ เมืองบาหลี อินโดนีเซีย เป็นเวลา 2 สัปดาห์ได้สิ้นสุดเมื่อวันที่ 15 ธ.ค.ที่ผ่านมา
    และมีข้อสรุปเป็นข้อตกลง "บาหลีโรดแมพ" (Bali roadmap) ซึ่งมีประเด็น
    การรักษาพื้นที่ป่าเป็นหนึ่งในประเด็นสำคัญนอกเหนือไปจากการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
    การปรับตัวเพื่อรับกับภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการถ่ายทอด
    เทคโนโลยีสะอาดให้แก่ประเทศกำลังพัฒนา

    ทั้งนี้ 20% ของก๊าซเรือนกระจกที่ปลดปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศโลกเกิดจากการตัดไม้ทำลายป่า
    และรัฐบาลทั่วโลกได้สิ้นหวังที่จะหาทางแก้ปัญหาที่โหมกระหน่ำมากขึ้นจากความต้องการไม้
    น้ำมันปาล์ม การคอร์รัปชันที่กว้างขวางและความยากจนเป็นหย่อมๆ ขณะเดียวกันก็มีรูปแบบ
    ความช่วยเหลือเป็นจำนวนเงินที่มากพอให้กับประเทศกำลังพัฒนา
    ในแถบเส้นศูนย์สูตรเพื่อรักษาต้นไม้ของประเทศไว้ดูดซับคาร์บอนแทนที่จะตัดลงมาเพื่อผลกำไร
    ผ่านกองทุนลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการตัดไม้ทำลายป่า (Reducing Emissions From Deforestation and Degradation: Redd) อนุสัญญาสหประชาชาติว่าการด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ยูเอ็นเอฟซีซี)

    การรักษาป่าฝนเขตร้อนโดยเฉพาะในอเมซอน อินโดนีเซียและลุ่มแม่น้ำคองโกในแอฟริกา
    ล้มเหลวมาตลอด 3 ทศวรรษ ตามรายงานของธนาคารโลกทุกปีพื้นที่ป่าเป็น 2 เท่าของประเทศปานามาจะหายไปกับอาชีพตัดไม้ การเกษตร และกิจกรรมอื่นๆ โดย 80% ของการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบราซิลและอินโดนีเซียมาจาก
    การทำลายป่าจากการทำผิดกฎหมายอย่างโจ่งแจ้ง รวมถึงความต้องการเชื้อเพลิงชีวมวลและผลิตภัณฑ์อื่นๆ
    เช่น ถั่วเหลือง เป็นต้น

    "นี่เป็นข้อตกลงที่สำคัญเพราะเรายังจำเป็นต้องปล่อยก๊าซเรือนกระจกอยู่"
    เปาโล อะดาริโอ (Paulo Adario) ตัวแทนกลุ่มกรีนพีซจากบราซิลกล่าว

    ข้อตกลงในการรักษาป่านี้เรียกร้องเพิ่มความช่วยเหลือแก่ประเทศในเขตร้อนที่จะ
    ลดการตัดไม้และทำลายป่าซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการทำฟาร์มเกษตรและการลักลอบ
    ตัดไม้ขนาดเล็กซึ่งได้ทำลายพุ่มไม้ในป่า ในข้อตกลงยังรวมถึงการอนุรักษ์
    ความต้องการของอินเดียและคอสตาริกาซึ่งต้องการความช่วยเหลือด้านการเงิน
    สำหรับงานที่ได้ทำเพราะการปกป้องป่าของประเทศทั้งสองแล้ว ส่วนโครงการอื่นๆ
    จะช่วยพัฒนากลไกในการประเมินวิธีดีที่สุดในการตรวจสอบข้ออ้างของประเทศ
    ที่ระบุว่าได้ลดการทำลายป่า รวมถึงประเมินวิธีในการให้ความช่วยเหลือ

    บราซิลเป็นตัวอย่างที่ต้องการให้รัฐบาลตะวันตกให้ความช่วยเหลือเป็นรูปกองทุน
    สำหรับประเทศที่ลดการทำลายป่า ขณะที่ปาปัวนิวกินีและชาติกำลังพัฒนาอื่นๆ
    ต้องการระบบที่ประเทศจะได้รับความน่าเชื่อถือในการรักษาป่าซึ่งในที่สุดสามารถ
    ทำเป็นการค้าเพื่อให้ได้มาซึ่งเงินได้
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 ธันวาคม 2007
  8. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    เกิดภาวะภัยแล้ง ในมณฑลกวางตุ้งของจีน


    <object type="application/x-shockwave-flash" wmode="transparent" data="../flvplayer.swf?file=http://news.mcot.net/flvvdo/3223.flv&autostart=true&showfsbutton=true" align="left" height="260" hspace="10" vspace="5" width="320">


    <embed src="http://news.mcot.net/flvplayer.swf?file=http://news.mcot.net/flvvdo/3223.flv&autostart=true&showfsbutton=true" loop="false" allowscriptaccess="sameDomain" type="application/x-shockwave-flash" pluginspage="http://www.macromedia.com/go/getflashplayer" height="260" width="320"></object> มณฑลกวางตุ้ง 25 ธ.ค.- เกิดภาวะภัยแล้ง ในมณฑลกวางตุ้งของจีน สร้างความเดือดร้อนให้กับประชาชน ในพื้นที่จนทางการท้องถิ่นต้องตัดสินใจทำฝนเทียม
    ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา ประชาชนในมณฑล กวางตุ้ง ทางตอนใต้ของจีน ต้องเผชิญกับภาวะขาดแคลนน้ำ ทั้งน้ำที่ใช้ในการบริโภค และการเกษตร ส่งผลให้ชาวบ้านในพื้นที่ชนบท และเกษตรกรเดือดร้อน
    ทั้งนี้จากการสำรวจแหล่งน้ำธรรมชาติ ในพื้นที่ดังกล่าว ที่ให้ในการผลิตน้ำประปา พบว่ามีปริมาณน้อยกว่าในช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว
    ภาวะดังกล่าวทำให้พืชที่เกษตรกรปลูกไว้ยืนต้นตาย และประชาชนไม่มีน้ำสะอาดดื่ม อย่างไรก็ดีเบื้องต้นทางการท้องถิ่นได้ตัดสินใจทำฝนเทียมเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวแล้ว - สำนักข่าวไทย

    อัพเดตเมื่อ 2007-12-25 16:04:47
    http://news.mcot.net
     
  9. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    เกิดพายุหิมะในมณฑลส่านซีของจีน ทางการสั่งปิดถนนกระทันหัน


    <object type="application/x-shockwave-flash" wmode="transparent" data="../flvplayer.swf?file=http://news.mcot.net/flvvdo/3222.flv&autostart=true&showfsbutton=true" align="left" height="260" hspace="10" vspace="5" width="320">


    <embed src="http://news.mcot.net/flvplayer.swf?file=http://news.mcot.net/flvvdo/3222.flv&autostart=true&showfsbutton=true" loop="false" allowscriptaccess="sameDomain" type="application/x-shockwave-flash" pluginspage="http://www.macromedia.com/go/getflashplayer" height="260" width="320"></object> มณฑลส่านซี 25 ธ.ค. - ภาวะอากาศแปรปรวนในจีน ทำให้เกิดพายุหิมะในมณฑลส่านซีของจีน ทางการต้องสั่งปิดถนนกระทันหันทำให้การจราจรติดขัดนานหลายชั่วโมง
    รายงานแจ้งว่า เช้ามืดวันนี้สภาพอากาศที่แปรปรวน ทำให้เกิดหิมะตกหนักในมณฑลส่านซี ทางการท้องถิ่นต้องสั่งปิดถนนกระทันหัน ในเส้นทางหลักหลายสายเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ ส่งผลกระทบให้การจราจรติดขัดนานหลายชั่วโมง
    นอกจากนี้เกิดภาวะหมอกหนาทึบแผ่ปกคลุมเป็นบริเวณกว้าง ทัศนวิสัยเหลือเพียง 50 เมตร หน่วยงานพยากรณ์อากาศเผยว่า ยังจะคงมีหิมะตกต่อไป และอุณหภูมิจะลดต่ำลงกว่านี้ รวมทั้งอุณหภูมิเฉลี่ยทั่วประเทศด้วย - สำนักข่าวไทย
     
  10. nantiya.j

    nantiya.j เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    860
    ค่าพลัง:
    +8,550
    กรมอุตุฯรายงานมรสุมปกคลุมภาคใต้ส่งผลมีฝนตกหนักอ่าวไทยคลื่นสูง2-4 เมตรชาวเรือเดินเรือระมัดระวัง ภาคเหนือ-อีสานตอนบนอากาศหนาวเย็นลง



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD height=5></TD></TR>


    <!-- Show Image -->
    [​IMG]







    </TBODY></TABLE>
    กรมอุตนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศประจำวันอังคารที่ 1 มกราคม 2551 เมื่อเวลา 04:00 น. ว่า บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกำลังแรงจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนแผ่ปกคลุมประเทศไทยตอนบน ทำให้บริเวณดังกล่าวมีอุณหภูมิลดลง 2-4 องศา โดยมีอากาศหนาวเย็นลงโดยทั่วไปกับมีลมแรง ส่วนอ่าวไทยและภาคใต้จะได้รับผลกระทบจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือกำลังแรงที่พัดปกคลุม ส่งผลให้บริเวณภาคใต้มีฝนเพิ่มมากขึ้น กับมีฝนตกหนักเกิดขึ้นได้ ขอให้ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยโดยเฉพาะบริเวณจังหวัด นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลาและนราธิวาส ระมัดระวังอันตรายจากสภาวะฝนตกหนัก ส่วนคลื่นลมในอ่าวไทยมีกำลังแรง โดยมีคลื่นสูง 2-4 เมตร ขอให้ชาวเรือที่เดินเรือในอ่าวไทยเพิ่มความระมัดระวังในการเดินเรือ เรือเล็กควรงดออกจากฝั่งในระยะ 2-4 วันนี้ ( 1-4 มกราคม 2551 ) ไว้ด้วย

    พยากรณ์อากาศสำหรับประเทศไทยตั้งแต่เวลา 06:00 น. วันนี้ ถึง 06:00 น. วันพรุ่งนี้ เป็นดังนี้

    กรุงเทพมหานครและปริมณฑล อากาศเย็นและลมแรง กับมีหมอกบางในตอนเช้า อุณหภูมิลดลง 1-2 องศา อุณหภูมิต่ำสุด 21 องศา สูงสุด 32 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ชม.

    ภาคเหนือ มีหมอกในตอนเช้า กับมีหมอกหนาในบางพื้นที่ อุณหภูมิลดลง 2-3 องศา อากาศหนาวทางตอนบนของภาค ส่วนทางตอนล่างของภาคอากาศเย็น อุณหภูมิต่ำสุด 13 องศา สูงสุด 30 องศา สำหรับบริเวณยอดดอยมีอากาศหนาวถึงหนาวจัด อุณหภูมิต่ำสุด 3-9 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 10-30 กม./ชม.

    ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีหมอกบางในตอนเช้าและลมแรง อุณหภูมิลดลง 2-4 องศา อากาศหนาวทางตอนบนของภาค ส่วนทางตอนล่างของภาคอากาศเย็น อุณหภูมิต่ำสุด 12 องศา สูงสุด 29 องศา ส่วนบริเวณยอดภูมีอากาศหนาว อุณหภูมิต่ำสุด 8-12 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-35 กม./ชม.

    ภาคกลาง อากาศเย็นและลมแรง กับมีหมอกบางในตอนเช้า อุณหภูมิลดลง 1-3 องศา อุณหภูมิต่ำสุด 16 องศา สูงสุด 31 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ ชม. ภาคตะวันออก อากาศเย็นและลมแรง กับมีหมอกบางในตอนเช้า อุณหภูมิต่ำสุด 19 องศา สูงสุด 32 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-45 กม./ชม. ใกล้ฝั่งทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร ห่างฝั่งทะเลมีคลื่นสูง 2-4 เมตร

    ภาคใต้ (ฝั่งตะวันออก) มีฝนฟ้าคะนองกระจาย ร้อยละ 40 ของพื้นที่และมีฝนตกหนักบางแห่ง ส่วนมากบริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลาและนราธิวาส อุณหภูมิต่ำสุด 22 องศา สูงสุด 31 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 20-45 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 2-4 เมตร

    ภาคใต้ (ฝั่งตะวันตก) มีฝนฟ้าคะนองกระจาย ร้อยละ 40 ของพื้นที่และมีฝนตกหนักบางแห่ง บริเวณจังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต และกระบี่ อุณหภูมิต่ำสุด 22 องศา สูงสุด 32 องศา ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ใกล้ฝั่งทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร ห่างฝั่งทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร ​


     
  11. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <table class="mxtable" align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td height="120" valign="top">
    โลกร้อน...มหันตภัยถล่มมนุษยชาติปีหนูทดลอง

    โลกร้อน...
    ปรากฏการณ์ที่สร้างความหวาดผวาต่อมนุษยชาติ
    ทั้งๆที่หลายปีที่ผ่านมา ธรรมชาติได้ส่งสัญญาณเตือนถึงมหันตภัยภัยที่จะเกิดขึ้นครั้งแล้วครั้งเล่า จากปรากฏการณ์เรือนกระจก ก๊าซเรือนกระจก ที่ส่งผลให้สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง หรือ Climate Change แต่คนส่วนใหญ่กลับไม่สำเหนียกถึงหายนภัยที่กำลังคืบคลานเข้ามาใกล้ตัว และพร้อมจะคุกคามโลก
    ขนาดเกิดกรณี น้ำแข็งที่ขั้วโลกละลายและจะทำให้น้ำทะเลสูงขึ้น รวมถึงปรากฏการณ์อื่นๆที่ส่งผลกระทบต่อความสมดุลทางธรรมชาติ หลายคนยังฟังเพียงผ่านๆ และคิดว่าเป็นเรื่องไกลตัว
    แต่ยิ่งนานวันผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศจากสภาวะโลกร้อน ก็ยิ่งพ่นพิษรุนแรง และลุกลามเพิ่มขึ้น แม้จะแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ เช่น เกิดสภาวะ เย็นจัดผิดปกติ น้ำท่วมมากอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน เกิดไฟป่าบ่อยขึ้น ความแห้งแล้งยาวนานขึ้น ฤดูหนาวไม่หนาวจัด ฤดูใบไม้ผลิมาถึงเร็วขึ้น ฤดูใบไม้ร่วงมาถึงช้าลง ต้นไม้ออกดอกเร็วขึ้น โรคภัยไข้เจ็บลุกลาม ปะการังฟอกขาว การทับถมของหิมะลดลง สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกหายไป พืชและสัตว์ต่างถิ่นรุกราน แนวชายฝั่งสึกกร่อน ป่าในเขตภูเขาสูงแห้งแล้ง ฯลฯ
    ความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน จากภัยทางธรรมชาติเหล่านี้เกิดขึ้นครั้งแล้วครั้งเล่า และทุกครั้งก็เหมือนจะยิ่งเพิ่มความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ คือ การยืนยัน และตอกย้ำชัดเจนจนไม่อาจปฏิเสธได้แล้วว่า
    วิกฤตการณ์โลกร้อน....เปิดฉากคุกคามมนุษยชาติอย่างหฤโหด!
    และวันนี้ภัยธรรมชาติ กลายเป็นภัยใกล้ตัวของสังคมโลกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เสียแล้ว
    ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเกิดขึ้นอย่างมากมาย และเกือบจะทั่วทุกมุมโลก ทั้งเพิ่มความซับซ้อนยากต่อการทำนาย
    แต่ที่แน่นอนที่สุด คือ ปัญหาโลกร้อนที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะหาต้นเหตุหรือต้นตอของปัญหาจากทฤษฎีใดก็ตาม คำตอบสุดท้าย คือ มนุษย์เป็นตัวการสำคัญของปัญหาโลกร้อน!
    พวกเราต่างพากันปล่อยปละละเลย ไม่ดูแลปกป้องรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซ้ำร้ายกลับช่วยกันคนละไม้คนละมือสร้างมลพิษ จากการใช้น้ำมัน การปล่อยสารพิษ สารเคมี การตัดไม้ทำลายป่า เป็นต้น ทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือก๊าซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นในชั้นบรรยากาศอย่างรวดเร็ว และก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจกที่ผิดปกติขึ้น รวมทั้งก๊าซชนิดอื่นๆ ที่มีคุณสมบัติดักจับความร้อนออกไปยังบรรยากาศของโลก ก๊าซเหล่านี้จะรวมตัวกันจนกลายเป็นผ้าห่มหนาๆ ดักจับความร้อนของดวงอาทิตย์ และทำให้โลกมีอุณหภูมิร้อนขึ้น ยิ่งก๊าซเหล่านี้เพิ่มมากขึ้น ความร้อนก็จะเพิ่มขึ้นตามไปด้วย จนกระทั่งกลายเป็นปัญหาโลกร้อน หรือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ผิดปกติ หรือมีความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศเกิดขึ้นทั่วโลก
    ประเทศไทยเองก็ไม่อาจหลีกเลี่ยงจากภาวการณ์นี้ไปได้ จากความผิดปกติของปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นในระยะ 2-3 ปีที่ผ่านมา นั่นก็คือ ภาวะฝนตกน้ำท่วมขนาดหนักในหลายพื้นที่ การไม่มีฤดูหนาวและฤดูร้อนที่ร้อนมาก หรือกระทั่งแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง
    ขณะที่แนวโน้มของสภาพภูมิอากาศในระยะเวลาประมาณ 40 ปี และ 70 ปีข้างหน้า นักวิชาการจากหลายสำนัก ระบุไปในทิศทางใกล้เคียงกันว่า ประเทศไทยจะมีฝนมากขึ้นในเกือบทุกภาค ส่วนอุณหภูมิสูงสุดและต่ำสุดในประเทศไทยจะไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากนัก อาจเพิ่มสูงขึ้นหรือลดลงประมาณ 1-2 องศาเซลเซียส แต่จำนวนวันที่อากาศเย็นจะลดลงอย่างเห็นได้ชัด ในทางกลับกันจำนวนวันที่อากาศร้อนก็จะเพิ่มขึ้นขณะที่ในช่วงเวลาปีต่อปี จะยังคงมีความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศอยู่ เช่น บางปีฝนชุก บางปีแล้งจัด หรือบางปีร้อนมาก เป็นต้น แต่ที่น่าห่วง คือ ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศเหล่านี้อาจจะเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต
    ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผอ.ศูนย์ เครือข่ายงานวิเคราะห์วิจัยและฝึกอบรมการเปลี่ยนแปลงของโลก แห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (START) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย กล่าวถึงผลกระทบจากปัญหาโลกร้อนว่า สภาพภูมิอากาศของประเทศไทยจะมีการเปลี่ยนแปลงมากขึ้นเรื่อยๆ จากการศึกษาแบบจำลองสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในอีก 30-80 ปี พบว่า จำนวนวันร้อนที่สูงกว่า 33 องศาเซลเซียส จะมีมากขึ้นประมาณ 30-60 วันต่อปี จากปกติ 20 วันต่อปี จังหวัดที่มีวันร้อนมากที่สุด คือ อุทัยธานี เนื่องจากมีพื้นที่อยู่ในหุบเขา รองลงมาคือ นครสวรรค์ สำหรับจำนวนวันเย็นที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า 15 องศาเซลเซียส จะมีประมาณ 20-30 วันต่อปี จากเดิมประมาณ 30-40 วันต่อปี โดยจังหวัดที่อยู่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันตกจะมีจำนวนวันเย็นมากที่สุด
    “ภาวะโลกร้อนยังส่งผลกระทบต่อแม่น้ำเจ้าพระยา ทำให้ฤดูน้ำหลากเปลี่ยนแปลงไป โดยในเดือน พ.ย.-ธ.ค. จะมีปริมาณน้ำมากกว่าที่ผ่านมาถึงร้อยละ 40 เนื่องจากทั้งปริมาณน้ำฝน น้ำเหนือ และน้ำทะเลหนุน ระดับน้ำทะเลจะสูงขึ้นกว่าที่ผ่านมา จะส่งผลทำให้กรุงเทพฯ และปริมณฑลเกิดน้ำท่วมง่ายและถี่ขึ้น” ดร. อานนท์กล่าวย้ำ
    วิกฤติโลกร้อน ไม่เพียงแต่ ส่งผลกระทบต่อมนุษย์โดยตรง แต่ยังส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศต่างๆ รวมถึงผลผลิตทาง การเกษตร การแพร่ระบาดของแมลงศัตรูพืชหลายชนิด
    และที่หลายคนอาจจะลืมนึกถึง นั่นคือผลกระทบที่สำคัญอันเกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ในเชิงสุขภาพอนามัย จากภาวะโลกร้อนที่จะนำมาซึ่งโรคอุบัติใหม่
    ศ.ดร.นพ.สมชัย บวรกิตติ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน กล่าวถึงสถานการณ์โรคที่มากับภาวะโลกร้อนว่า ภาวะโลกร้อนจะทำให้อัตราการเป็นโรคมะเร็งปอดเพิ่มสูงขึ้น อันเนื่องมาจากการสูดก๊าซเรดอน (Radon) ซึ่งเป็นภาวะก๊าซที่เกิดขึ้นในพื้นดินแทรกซึมผ่านรอยแตกของตึก อาคาร บ้านเรือนที่ก่อสร้างพื้นบ้านติดดิน เป็นที่นิยมกันทั่วไป หากเทียบอัตรา ส่วนกับบ้านเรือนสมัยก่อนที่นิยมสร้างบ้านลักษณะยกพื้นสูง คนสมัยก่อนจึงมีความเสี่ยงต่ำในการเป็นมะเร็งปอด น่าตกใจว่าปัจจุบันมีคนเป็นโรคนี้เพิ่มขึ้นถึงวันละ 5 ราย
    ศ.ดร.นพ.สมชัยอธิบายด้วยว่า ภาวะพิษทางอากาศจะส่งผลกระทบต่อมนุษย์ผ่านทางระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะผู้ที่ไวต่อสารเหล่านั้นจะมีผลให้มีอาการของโรคทางเดินหายใจ และที่เป็นอยู่แล้วจะมีอาการรุนแรงมากขึ้น ในผู้ที่มีโรคปอดหรือโรคหัวใจจะมีความอึดต่อการออกกำลังลดลง สำหรับผู้ป่วยหรือผู้สูงอายุอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ มลพิษทางอากาศที่เกิดจากโลกร้อน จะเป็นปัญหาสำคัญของชุมชนเมืองใหญ่และเมืองอุตสาหกรรม ​
    ภาวะโลกร้อนยังเป็นสาเหตุให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคเขตร้อน ทำให้เกิดความชุกเพิ่มขึ้นในประเทศ และแพร่ขยายออกไปสู่ประเทศที่อยู่เหนือขึ้นไปที่ไม่เคยมีการระบาดมาก่อน ทั้งนี้ เนื่องจากผลของการเปลี่ยนแปลงทางนิเวศวิทยาของพาหะนำโรค เช่น โรคมาลาเรีย โรคไข้เลือดออกเดงกี โรคสมองอักเสบติดเชื้ออาร์บอไวรัส ที่มียุงเป็นพาหะนำโรค เพราะยิ่งอุณหภูมิโลกสูงขึ้นก็ยิ่งเหมาะแก่การนำพาโรคและออกหากินบ่อยขึ้น
    ขณะที่ นพ.ธวัช สุนทราจารย์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ระบุว่า จากการประชุมประเมินสถานการณ์การระบาดของโรคติดต่อ จากภาวะโลกร้อนในระดับนานาชาติ มีความกังวลถึงผลกระทบด้านสุขภาพ เนื่องจากอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ เช่น ไข้เลือดออก มาลาเรีย รวมทั้งโรคจากอาหารและน้ำ เช่น อหิวาห์ตกโรค ไทฟอยด์ บิด อาหารเป็นพิษ เป็นต้น นอกจากนี้สภาพอากาศที่ร้อนชื้นยังทำให้แบคทีเรียในอากาศมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นกว่าปกติ มีโอกาสในการแพร่ระบาดสูง ในอนาคตมีความเป็นไป ได้ว่าโรคเหล่านี้หากไม่รีบรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ อาจมีโอกาสเสียชีวิตสูงถึง 60%
    “โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่ต้องจับตามองมากที่สุด เพราะนอกจากยังไม่มียาหรือวัคซีนในการรักษาแล้ว ปัจจุบันยังพบว่ายุงลายซึ่งเป็นพาหะสำคัญของโรค ซึ่งเคยออกหากินเฉพาะแต่ในเวลากลางวัน ได้เปลี่ยนมาออกหากินในเวลาพลบค่ำจนถึง 5 ทุ่ม ทำให้ยากต่อการป้องกันหรือวินิจฉัยโรค ปัญหาโลกร้อนจึงเป็น 'มหันตภัยแห่งอนาคตของมนุษยชาติ' อย่างแท้จริง และสังคมไทยกำลังเผชิญหน้ากับความท้าทายของสภาพอากาศ” นพ.ธวัชแสดงความห่วงใย
    จากวิกฤติมหันตภัยทางธรรมชาติที่เพิ่มความรุนแรงและขยายวงมากขึ้นทุกที ทีมข่าวสิ่งแวดล้อม มองว่า การยุติปัญหาโลกร้อนเป็นหน้าที่ของมนุษยชาติทุกคน โดยไม่มีการแบ่งแยกเชื้อชาติ ศาสนา อายุ อาชีพ หรือฐานะความร่ำรวย หรือยากจน แต่ทุกคนต้องมีจิตสำนึกและเริ่มต้นปรับตัว ปรับใจ และปรับวิธีการใช้ชีวิตเพื่อร่วมกันป้องกัน และแก้ไขมหันตภัยที่คืบคลานเข้าคุกคามมนุษยชาติ
    โดยเฉพาะเรามองว่า หัวใจในการแก้วิกฤติครั้งนี้ คือ การดำเนินชีวิตตามแนวพระราชดำริ “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ด้วยการรู้จักใช้ชีวิตอย่างพอเพียง
    ที่เริ่มได้ตั้งแต่ส่วนเล็กที่สุด คือ ตัวเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศ และสังคมโลก ด้วยการร่วมแรงร่วมใจลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ปรับเปลี่ยนวิธีการใช้พลังงานน้ำมัน หาพลังงานทดแทน สกัดกั้นการตัดไม้ทำลายป่า ทั้งต้องปลูกป่าเพิ่มมากขึ้น ที่สำคัญคือ มนุษย์ต้องเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมและรักธรรมชาติ
    เพราะการรักษาความสมดุลของธรรมชาติไม่ให้ถูกย่ำยี หรือทำร้ายเกินกว่าความจำเป็นในการดำรงชีวิตของมนุษย์ น่าจะเป็นหัวใจในการช่วยปกป้องโลกใบนี้ให้เกิดความเสียหายน้อยที่สุด
    หรือต้องรอให้เกิดโศกนาฏกรรม ที่ต้องสังเวยด้วยชีวิตอีกกี่สิบกี่ร้อยล้านคน
    อย่าสร้างตราบาปให้คนรุ่นลูกหลานจดจำว่า มหันตภัย...โลกร้อน เกิดจากน้ำมือและน้ำใจของคนรุ่นปัจจุบันเลย!!!
    (คอลัมน์:ข่าวการศึกษา)


    [​IMG]คลิกรูปเพื่อขยาย​

    </td><td rowspan="3" width="18"> </td></tr><tr><td align="right">ไทยรัฐ [​IMG] </td></tr><tr><td align="right">3 ม.ค. 2551 </td></tr></tbody></table>
     
  12. LuckyFriday

    LuckyFriday เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,153

    ไฟล์ที่แนบมา:

  13. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกและภัยพิบัติเริ่มเห็นเป็นรูปธรรม
    ตามคำทำนายที่หลายสำนักได้พยากรณ์ไว้ อาจคาดเคลื่อนบ้าง แต่ก้อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างมากครับ
     
  14. LuckyFriday

    LuckyFriday เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,153
    http://205.85.40.22/sat/gms_a/goesa.jpg

    อย่าคิดให้ไกล ขนาดมีภาพถ่ายดาวเทียมระยะใกล้ขนาดนี้ อุตุยังโดนด่า ว่าทำนายผิดพลาดเลย เพราะมันมีตัวแปรมากมายที่จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

    ****ถ้าจะพูดว่า..คนคำนวนหรือจะสู้ฟ้าลิขิต ก็น่าจะได้
    แต่เป็นชาวพุทธ ต้องพูดว่า มนุษย์หรือจะรู้คำนวนฤทธิแห่งกรรม
    โดยเฉพาะมวลรวมของกรรมแห่งสัตว์จำนวนมาก
    ...จบข่าว
     
  15. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    ผู้เชี่ยวชาญออสซีเตือนระบบนิเวศเปลี่ยนน่ากลัวไม่แพ้ "โลกร้อน"
    โดย ผู้จัดการออนไลน์ 15 มกราคม 2551 11:28 น.





    ระบบนิเวศที่สมบูรณ์นำมาซึ่งการดำรงชีวิตที่ดีของมนุษย์ และแม้ว่าปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นปัญหาที่น่ากลัว อย่างไรก็ดี ผู้เชี่ยวชาญก็ชี้ด้วยว่า การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศก็น่ากลัวไม่น้อยกว่ากัน


    ผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อมออสเตรเลียเตือนปัญหาระบบนิเวศเปลี่ยน น่ากลัวไม่แพ้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เผยสถิติไม่กี่ปีที่ผ่านมาระบบนิเวศทั่วโลกถูกทำลายลงอย่างน่าตกใจ เชื่อไทยโดนผลกระทบมากเพราะมีทั้งส่วนที่เป็นแผ่นดินและทะเล แนะต้องเก็บข้อมูลต่อเนื่องนับสิบๆ ปีเพื่อเตรียมรับมือกับปัญหา

    "ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศหรือสภาพภูมิอากาศ อย่างไหนที่เราควรกังวลมากกว่ากัน?" หลายคนอาจมีคำถามนี้อยู่ในใจ แต่ยังหาคำตอบไม่ได้ เพราะเห็นว่าเป็นเรื่องสำคัญทั้งคู่จนยากจะฟันธงได้

    อย่างไรก็ดี การบรรยายพิเศษของ ศ.โจ เบเกอร์ (Joe Baker) ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาและจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) เมื่อวันที่ 14 ม.ค.51 โดยมีอาจารย์จากโรงเรียนต่างๆ ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล รวมถึงข้าราชการจากหน่วยงานด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมร่วมรับฟังราว 50 คน

    ก่อนการบรรยาย ศ.เบเกอร์ วัย 76 ปี ได้ทักทายกับผู้ร่วมฟังอย่างเป็นกันเอง พร้อมหยอดมุกสร้างบรรยากาศความสนุกสนานเล็กน้อยว่า ต้องขออภัยที่มือขวาของเขาจะมีอาการสั่นตลอดเวลาเพราะเขาเป็นโรคพาร์กินสัน แต่ในเวลาเดียวกันมันก็อาจจะสั่นมากขึ้นเพราะความตื่นเต้นที่ได้มีโอกาสมาบรรยายครั้งนี้ก็เป็นได้

    เมื่อเริ่มการบรรยาย ศ.เบเกอร์ ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะที่ปรึกษาพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ จากทบวงการอุตสาหกรรมขั้นพื้นฐานและการประมง มลรัฐควีนส์แลนด์ แนะนำตัวเองว่า เขาเป็นหนึ่งในนักวิทยาศาสตร์กว่า 2,000 คนจากทั่วโลกที่ร่วมกันในกลุ่ม "เอ็มเอ" (The Millennium Ecosystem Assessment: MA) ที่มุ่งศึกษาความเชื่อมโยงกันของระบบนิเวศและการดำรงชีวิตที่ดีของมนุษย์

    เขามองว่าเป็นเรื่องสำคัญมากที่เราต้องศึกษาและเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่องนับสิบๆ ปี เพราะความเป็นอยู่ของมนุษย์ทั้งหมดอยู่ภายใต้เงื่อนไขของสภาพแวดล้อมรอบตัว

    ส่วนประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่หลายคนให้ความสนใจนั้น ศ.เบเกอร์ มองว่า ไม่ใช่เรื่องใหม่ในประวัติศาสตร์มนุษยชาติเลย แต่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเป็นวัฏจักรตามธรรมชาติอยู่แล้ว โดยการคาดการณ์ต่างๆ ของนักวิทยาศาสตร์เองก็เกิดมาจากการเก็บข้อมูลเชิงสถิติเพื่อสร้างแบบจำลองสถานการณ์ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้ซึ่งอาจจะไม่ถูกต้องแม่นยำได้ 100%

    ขณะที่การศึกษาของกลุ่มเอ็มเอที่เขาทำงานอยู่นั้น พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงที่น่าเป็นห่วงในระบบนิเวศทั่วโลกที่น่าตื่นตกใจมากกว่า

    ตัวอย่างเช่น ระบบนิเวศทั่วโลกเปลี่ยนแปลงไปมากในช่วง 50 ปีหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงมากกว่าช่วงใดๆ ในอดีตที่ผ่านมา โดยพื้นที่ราบทั่วโลกกว่า 1 ใน 3 ถูกเปลี่ยนไปเป็นพื้นที่เพื่อการเพาะปลูกแล้ว และน้ำจากแหล่งน้ำตามธรรมชาติก็ถูกดึงมากักเก็บไว้ในเขื่อนต่างๆ มากมาย ในจำนวนนั้นกว่า 70% ถูกผันเพื่อสนองความต้องการในการเพาะปลูก

    ขณะเดียวกันการเกษตรยังมีการใช้ปุ๋ยฟอสฟอรัสและไนโตรเจนจำนวนมาก จนเลยขีดขั้นของความพอดีไปสู่การใช้มากเกินจำเป็น

    "ผลกระทบชัดๆ ที่เอ็มเอพบคือ 60% ของระบบนิเวศส่วนใหญ่เสื่อมโทรมหรือถูกใช้งานอย่างไม่ยั่งยืน ส่งผลถึงปริมาณน้ำสะอาด การจับปลา อากาศและน้ำบริสุทธิ์ รวมไปถึงการเกิดภัยธรรมชาติ โดยการเปลี่ยนแปลงเป็นไปอย่างรวดเร็วมากขึ้น เช่น การเกิดโรคอุบัติใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน คุณภาพน้ำที่เปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงของโซนภูมิอากาศที่เริ่มเห็นผลชัดเจนขึ้น"

    "ทั้งหมดนี้จะเกิดผลกระทบต่อคนยากจนมากกว่าคนร่ำรวย เพราะคนร่ำรวยจะสามารถหาสิ่งอื่นมาทดแทนได้มากกว่าคนยากจนที่มักจะอยู่ในที่ที่ได้รับผลกระทบง่ายเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว" ศ.เบเกอร์ กล่าว

    ศ.เบเกอร์ ตั้งคำถามด้วยว่า จึงเป็นเรื่องที่น่าคิดว่าต่อไปเราจะมีการวิจัยพัฒนาไปในทิศทางใด โดยใคร และเพื่อใคร ซึ่งเราจะนำเทคโนโลยีต่างๆ เช่น พันธุวิศวกรรม นาโนเทคโนโลยี หรือแม้แต่ระบบการควบคุมทางไกล มาแก้ไขปัญหาได้อย่างไรบ้าง

    ส่วนผลกระทบที่ประเทศไทยจะได้รับนั้น ศ.เบเกอร์ เชื่อว่า จะมีมากอย่างแน่นอน เพราะประเทศไทยมีพื้นที่จำนวนมากติดชายฝั่งทะเลและส่วนที่เป็นผืนแผ่นดิน แต่ผลกระทบจะเป็นไปในรูปใดนั้น เป็นเรื่องที่ไม่อาจลงรายละเอียดได้ แต่ควรที่นักวิจัยในพื้นที่จะศึกษาและเก็บข้อมูล ซึ่งจะต้องทำอย่างต่อเนื่อง

    ภายหลังการบรรยาย ดร.อภิญาณ์ หทัยธรรม ผอ.พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ อพวช. แสดงความคิดเห็นว่า ใจความสำคัญของการบรรยายของ ศ.เบเกอร์ ไม่ได้มุ่งจะชี้ไปว่าปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหรือการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศอย่างไหนจะมีความร้ายแรงกว่ากัน

    แต่การบรรยายนี้มีจุดประสงค์เพื่อเตือนให้เราตระหนักด้วยว่า ไม่เพียงแต่ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเท่านั้นที่เราควรใส่ใจ แต่เราควรจะใส่ใจการเปลี่ยนแปลงครอบคลุมทั้งระบบนิเวศ ซึ่งหากระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงแล้ว สภาพภูมิอากาศก็ย่อมจะเปลี่ยนแปลงไปด้วย

    ด้าน น.ส.นวลละออ วงศ์พินิจวโรดม นักวิชาการจากกรมทรัพยากรน้ำ ซึ่งรู้สึกชื่นชอบการบรรยายพิเศษครั้งนี้ของ ศ.เบเกอร์ มาก กล่าวว่า เรื่องการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศเป็นเรื่องใหม่สำหรับประเทศไทยมาก แม้การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่างเป็นเรื่องสำคัญทั้งคู่ แต่เรื่องการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศดูจะเป็นเรื่องที่น่ากลัวกว่าเพราะเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นมานานมากแล้วแต่ไม่มีใครเห็น

    อ.ประไพ ฉิมหิรัญ อาจารย์สอนภาษาไทย ซึ่งออกตัวว่าสนใจวิทยาศาสตร์ จาก ร.ร.ปัญญาวิทยา กรุงเทพฯ บอกว่า จะนำความรู้ที่ได้จากการบรรยายไปเล่าต่อให้แก่นักเรียนได้ฟัง โดยเฉพาะเรื่องการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศที่มีความใกล้ตัว และกำลังมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างน่าอันตราย โดยเชื่อว่าเป็นปัญหาที่แก้ไขได้ยากกว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเสียอีก

    ส่วน อ.ศิธัญญา บุญเสริม ครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้น ป.4 ร.ร.วัดด่านสำโรง จ.สมุทรปราการ แสดงความคิดเห็นด้วยว่า การฟังบรรยายครั้งนี้เป็นการร่วมฟังบรรยายจากนักวิชาการระดับสูงที่จะมีโอกาสเข้ารับฟังน้อย

    อย่างไรก็ตาม เนื้อหายังค่อนข้างยากที่จะนำไปถ่ายทอดสู่นักเรียนที่โรงเรียนได้ คงต้องสื่อสารกันในหมู่เพื่อนครูก่อน จากนั้นจึงหาทางสื่อสารให้แก่นักเรียนได้ฟังด้วยเนื้อหาที่ง่ายขึ้น และจะแนะนำให้นักเรียนรักษาสภาพแวดล้อมเพื่อรักษาระบบนิเวศ พร้อมๆ ไปกับการประหยัดน้ำและไฟฟ้าเพื่อลดปัญหาภาวะโลกร้อนด้วย
     
  16. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • สภาพอากาศโลกแปรปรวน
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย ช่องเจ็ดสี [ 22-01-2551 | 17:00 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> ชาวอเมริกันในมหานคร"นิวยอร์ค" ต่างมีความรู้สึกแตกต่างกันไปหลังต้องเผชิญกับสภาพอากาศที่หนาวเย็นต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส โดยบางคนเลือกที่ จะดูหนัง และพักผ่อนอยู่ภายในบ้าน ขณะที่บางคนที่จำเป็นจะต้องเดินทางออกนอกบ้าน ก็จะใส่เสื้อผ้าหนาหลายชั้น เพื่อให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย /ชาวเมือง "นิวยอร์ค" บางคนก็บอกว่าสภาพอากาศที่หนาวเย็นเช่นนี้ ทำให้นคร"นิวยอร์ค" สวยงามไปอีกแบบ
    ส่วนพื้นที่ทางตอนเหนือของอังกฤษ ต้องเผชิญกับอุทกภัยอย่างหนัก โดยเฉพาะที่เมือง"ชร็อปเชียร์" บ้านเรือนกว่า 60 หลังใกล้เขตสะพาน "อาร์มิเทจ" ซึ่งห่างจากทางตะวันตกเฉียงเหนือของกรุง"ลอนดอน" จมอยู่ใต้กระแสน้ำเจ้าหน้าที่ ต้องช่วยเหลือในการอพยพประชาชน จำนวนหลายร้อยคน แต่ยังคงไม่มีรายงานความเสียหาย ขณะที่ยังมีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง ทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำเพิ่มสูงขึ้นอีก
    ที่"โบลิเวีย"ได้มีการประกาศภาวะเตือนภัยสูงสุดในเมือง"ลาปาซ" "ซานตาครูส" และอีกหลายพื้นที่ หลังเกิดฝนตกหนักติดต่อกัน ทำให้ระดับน้ำที่ท่วมขัง เพิ่มสูงขึ้นอีก ขณะที่มีรายงานเกิดเหตุแผ่นดินถล่ม 3 จุด ทำให้ถนนถูกตัดขาด เป็นเหตุให้รถยนต์หลายพันคัน ต้องติดอยู่บนถนนนานกว่า 12 ชั่วโมง จึงจะสัญจรไปมาได้ตามปกติ ซึ่งจากการเกิดอุทกภัยในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา มีผู้เสียชีวิตไปแล้วอย่างน้อย 22 คน ขณะที่ประชาชนหลายหมื่นคนไร้ที่อยู่อาศัย สัตว์เลี้ยง และพืชผลทางการเกษตร ได้รับความเสียหายเป็นจำนวนมาก
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  17. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • ชี้การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ จะทำร้ายสุขภาพคนร้ายแรงยิ่งกว่าทำร้ายเศรษฐกิจ[​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย สำนักข่าวไทย [ 25-01-2551 | 12:42:58 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> แคนเบอร์รา 25 ม.ค. - คณะนักวิจัยจากหลายชาติเตือนว่า การเปลี่ยนแปลง สภาพอากาศจะส่งผลเสีย ต่อสุขภาพของคนทั่วโลก ร้ายแรงยิ่งกว่าผลร้ายที่จะเกิดขึ้น กับเศรษฐกิจโลก พร้อมกับเรียกร้องให้นานาชาติ เร่งดำเนินการคุ้มครองประชาชน
    โทนี แมคไมเคิล จากศูนย์ระบาดวิทยาและสาธารณสุขของออสเตรเลีย ร่วมกับ ชารอน ฟรีล จากมหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย โทนี นยอง จากมหาวิทยาลัยจอส ของไนจีเรีย และ คาร์ลอส คอร์วาลัน จากองค์การอนามัยโลก เผยผลการศึกษาลงใน วารสารการแพทย์อังกฤษว่า แม้ขณะนี้ทั่วโลกกำลังเร่งลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อลดปัจจัยกระตุ้นการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศในอนาคต แต่ในขณะเดียวกัน ก็ต้องเร่งหาทางจัดการกับอันตรายด้านสุขภาพ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง สภาพอากาศในปัจจุบัน เพราะจะส่งผลร้ายต่อคนทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนในเขตเสี่ยงและยากจน
    ก่อนหน้านี้ นายนิโคลัส สเติร์น นักเศรษฐศาสตร์ชั้นนำของธนาคารโลก ออกรายงานปี 2549 เตือนว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ อาจทำให้เศรษฐกิจโลกหดตัวร้อยละ 5-20 สร้างผลกระทบคล้ายกับที่เคยเกิดขึ้น สมัยเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ทั่วโลก ช่วงปลายคริสต์ทศวรรษหลังปี 1920 แต่ผลการศึกษาล่าสุดนี้ระบุว่า ภัยที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ไม่ว่าจะเป็นไฟป่า ภาวะแห้งแล้ง อุทกภัย และโรคภัย กำลังคุกคามชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ มากกว่าสร้างความเสียหาย ให้แก่เศรษฐกิจ เช่น อาจทำให้โรคมาลาเรียระบาดมากขึ้น มีคนเสี่ยงป่วยมากขึ้น 20-70 ล้านคน ภายในปี 2623 ประเทศยากจนเป็นกลุ่มที่จะได้รับ ความเดือดร้อน มากที่สุด ดังนั้น นานาชาติจะต้องเร่งวางแผนรับมือผลจากการเปลี่ยนแปลง สภาพอากาศ โดยให้มืออาชีพด้านสาธารณสุขเข้าร่วมในการวางแผนด้วย
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  18. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    ต้นไม้เมา หนึ่งในผลกระทบของ ภาวะโลกร้อน



    ต้นไม้เมา ได้ชื่อนี้จากการที่ต้นไม้เอียงอย่างไม่มีทิศทางแน่นอน สภาพนี้เป็นผลกระทบหนึ่งของ ภาวะโลกร้อน และไม่ได้เกิดจากลมพายุแต่อย่างใด
    แต่เกิดจากน้ำแข็งชั้น Permafrost ที่รากต้นไม้หยั่งลงไปเริ่มละลาย ทำให้ไม่สามารถเกาะได้อย่างมั่นคง และเอียงอย่างไร้ทิศทาง
    ชั้น Permafrost คือส่วนของดินที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งนานกว่า 2 ปีต่อเนื่องกัน ซึ่งเป็นตัวกันไม่ให้ต้นไม้หยั่งรากลึกลงไปกว่านี้ เมื่อชั้นนี้ละลาย
    ต้นไม้จึงไม่มีที่ยึดเกาะ ต้นไม้อาจตายจากสภาพนี้ แต่บางส่วนอาจกลับไปตั้งตรงได้ใหม่ และเจริญเติบโตต่อได้
    ปรากฏการณ์นี้ไม่ใช่เรื่องใหม่ทีเดียว เพราะเคยเกิดขึ้นระหว่างช่วงหลัง Little Ice Age นั่นคือราวศตวรรษที่ 16-17
    อย่างไรก็ตามยังไม่มีข้อสรุปแน่นอนว่า การเกิดต้นไม้เมา มีความเกี่ยวข้องกับ ภาวะโลกร้อน แต่ปัจจุบันได้พบต้นไม้เมามากขึ้นเรื่อยๆ
    [​IMG]



    ต้นไม้เมาในแถบไซบีเรีย ภาพโดย NASA
     
  19. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    CO<sub>2</sub> เพิ่มเกินคาด 35% ซ้ำน้ำทะเลดูดซับได้น้อยลง <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> <td> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">น้ำทะเลในมหาสมุทรก็ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้น้อยลง ก๊าซที่เหลือจึงลอยล่องอยู่ในชั้นบรรยากาศ ซึ่งนักวิทยาศาสตร์พบว่าเพิ่มสูงขึ้น 35%</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">อุตสาหกรรมที่ใช้พลังงานฟอสซิล
    ต่างเติบโตจนธรรมชาติอาจไม่สามารถ
    ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ทัน</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ขณะเดียวกันการเดินทางที่เผาพลาญ
    พลังงานฟอสซิลก็เร่งให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด
    ์ในชั้นบรรยากาศเพิ่มขึ้น</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> บีบีซีนิวส์/เอเยนซี- ทีมนักวิจัยนานาชาติพบปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจกได้เพิ่มขึ้นด้วยอัตราเร็วสูงกว่าที่คาดเป็น 35% ด้านนักวิจัยอังกฤษยังพบมหาสมุทรดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ลดลงครึ่งหนึ่ง

    จากการเติบโตของอุตสาหกรรมที่ใช้พลังงานฟอสซิลประจวบกับการลดลงของการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทั้งบนพื้นดินและในมหาสมุทร นักวิจัยพบว่าปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO<sub>2</sub>) ในชั้นบรรยากาศที่วัดเมื่อปี 2549 สูงกว่าเมื่อปี 2533 ถึง 35% ซึ่งเป็นอัตราที่เพิ่มสูงเร็วกว่าที่คาด ทั้งนี้ได้มีการเผยแพร่รายงานดังกล่าวในวารสารสมาคมวิทยาศาสตร์สหรัฐ (Proceedings of the National Academy of Sciences)

    "ในการเพิ่มขึ้นของประชากรและความมั่งคั่งของโลก เราทราบแล้วว่าเป็นปัจจัยสำคัญในการผลักดันให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศสูงขึ้นจากการชะลอตัวที่เกิดเกิดจากธรรมชาติซึ่งตรึงองค์ประกอบเคมีดังกล่าวในชั้นบรรยากาศไว้" โจเซฟ แคนาเดลล์ (Josep Canadell) ผู้อำนวยการโครงการคาร์บอนโลก (Global Carbon Project) จากองค์การวิจัยในเครือจักรภพอังกฤษด้านวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมซึ่งนำการศึกษาครั้งนี้กล่าว

    จากการศึกษาใหม่นี้คาร์บอนถูกปลดปล่อยออกจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลและการผลิตปูนซีเมนต์ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 7 พันล้านตันในปี 2543 เป็น 8.4 พันล้านตันในปี 2549 และอัตราการเพิ่มของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้สูงขึ้นจาก 1.3% ต่อปีในช่วงปี 2533-2542 เป็น 3.3% ต่อปีในช่วง 2543-2549

    "เมื่อ 50 ปีที่ผ่านมาในปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ทุกๆ ตันที่ถูกปล่อยออกมา ราวว 600 กิโลกรัมจะถูกกำจัดออกไปโดยธรรมชาติ แต่ในปี 2549 มีเพียง 550 กิโลกรัมเท่านั้นที่ถูกกำจัดออกไป ส่วนที่เหลือก็ตกลงมา สัดส่วนของคาร์บอนไดออกไซด์ที่เหลืออยู่ในชั้นบรรยากาศหลังจากการดูดซับของพืชและมหาสมุทรที่สูงขึ้นกว่าเมื่อหลายสิบปีก่อนนั้นแสดงให้เห็นความสามารถของโลกในการดูดซับการปลดปล่อยที่เป็นฝีมือมนุษย์นั้นลดลง" แคนาเดลล์กล่าว

    ทั้งนี้การศึกษาดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลออสเตรเลีย สหภาพยุโรปและองค์กรระหว่างเป็นประเทศอื่นๆ โดยนักวิจัยผู้ทำการศึกษาส่วนใหญ่เป็นสมาชิกของ คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของสหประชาชาติ หรือ ไอพีซีซี (UN's Intergovernmental Panel on Climate Change) ซึ่งเพิ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพประจำปี 2550 นี้ ร่วมกับ อัล กอร์ (Al Gore) อดีตรองประธานาธิบดีสหรัฐฯ ผู้สร้างกระแสความสนใจในภาวะโลกร้อนด้วยภาพยนตร์ An Invenient Truth

    ขณะเดียวกันก็มีรายงานจากฝั่งอังกฤษโดยยูท์ สชัสเตอร์ (Ute Schuster) ผู้นำการศึกษาร่วมกับ ศ.แอนดรูว์ วัตสัน (Prof. Andrew Watson) จากคณะวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลีย (University of East Anglia) พบว่าการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศของมหาสมุทแอตแลนติกเหนือได้ลดลงครึ่งหนึ่งจากช่วงปี 2533 ถึงปี 2548 โดยพวกเขาได้รวบรวมข้อมูลจากเซนเซอร์ที่ติดในเรือบรรทุกกล้วยซึ่งเดินทางจากอินเดียตะวันตกไปยังอังกฤษทุกเดือน และได้ทำการวัดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในทะเลมากกว่า 90,000 ครั้ง ซึ่งผลการศึกษาดังกล่าวได้ตีพิมพ์ลงวารสารจีโอกราฟิกรีเสริช (Geophysical Research) ฉบับเดือน พ.ย.นี้

    "การเปลี่ยนแปลงในปริมาณมากนี้เป็นความน่าแปลกใจที่ชวนสยดสยอง เราคาดหวังว่าการดูดซับจะเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ เพราะมหาสมุทรนั้นมีมวลมหาศาล" สชัสเตอร์กล่าว อย่างไรก็ดีเธอก็เตือนว่าไม่ควรด่วนสรุปกับผลการศึกษาใหม่นี้เร็วเกินไป ซึ่งเป็นไปได้ว่าผลจากการศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของความเชื่อมโยงตามธรรมชาติหรืออาจจะขานรับกับภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร้วนี้ ขณะเดียวกันเราก็ทราบว่าการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงจำเป็นที่จะต้องติดตามการดูดซับก๊าซเรือนกระจกของมหาสมุทรต่อไป
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  20. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    พบความเชื่อมโยงโลกร้อนก่อสงคราม เพิ่มผู้ลี้ภัยหนีอากาศเปลี่ยนแปลง <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> <td> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">กระท่อมพักอาศัยภายในค่ายผู้ลี้ภัยสงครามบริเวณใกล้กับชายแดนเมืองดาร์ฟูร์ (Darfur) ซูดาน ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากสหประชาชาติ</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ชาวซูดานส่วนหนึ่งช่วยกัน
    ตากเนื้อแกะที่เป็นอาหารของ
    ผู้ลี้ภัยด้วยกันในค่ายผู้ลี้ภัย ประเทศซูดาน</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ภาวะโลกร้อนทำให้น้ำแข็ง
    ขั้วโลกละลายมากขึ้น
    และระดับน้ำทะเลสูงขึ้น</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> นิวไซน์เอนติสท์ - นักวิชาการศึกษาประวัติศาสตร์ย้อนหลัง 500 ปี พบการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศสัมพันธ์กับสงคราม และภาวะทุกข์เข็ญของประชากรในแต่ละยุค นับเป็นครั้งแรกที่มีการศึกษาความเชือมโยงระหว่างภาวะโลกร้อนกับสงครามอย่างจริงจัง ระบุอนาคตอาจต้องเพิ่มผู้ลี้ภัยเนื่องจากหนีภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงเข้าไปในสารบบ

    การศึกษาเรื่องราวในอดีตอาจทำให้รู้อนาคตได้ เมื่อนักวิชาการในสหรัฐฯ ศึกษาพบความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ที่เกิดขึ้นในอดีตกับสภาพทางสังคมในช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งคาดการณ์ได้ว่าโลกร้อนอาจชักนำสังคมเข้าสู่ยุคข้าวยากหมากแพงและภาวะสงครามเหมือนที่ผ่าน และก่อเกิด "ผู้ลี้ภัยจากภูมิอากาศ" (climate refugee)

    ทั้งนี้ การศึกษาชิ้นล่าสุดได้วิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อันส่งผลให้เกิดความขัดแย้งภายในจีนเป็นเวลายาวนานถึง 1,000 ปี ซึ่งยังมีงานวิจัยเพียงน้อยนิดที่กล่าวถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศในระยะยาว

    "ตัวอย่างพื้นฐานที่เห็นได้ชัดคือ การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิมีผลต่อการเพาะปลูก" ปีเตอร์ เบรค (Peter Brecke) จากสถาบันเทคโนโลยีจอร์เจีย (Georgia Institute of Technology) ในแอตแลนตา สหรัฐอเมริกา หัวหน้าทีมวิจัยระบุ

    สภาพภูมิอากาศที่ย่ำแย่ลงจะทำให้เกิดผลตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ ภาวะข้าวยากหมากแพง ประชาชนเสียชีวิตเพราะความอดอยากมากขึ้น และเกิดความตึงเครียดในสังคม ซึ่งท้ายที่สุดจะนำไปสู่ภาวะสงครามหรือความขัดแย้งอย่างรุนแรง

    ทีมวิจัยได้รวบรวมข้อมูลราคาอาหาร จำนวนประชากร และการก่อจราจลหรือสงครามที่เกิดขึ้นในช่วงหลัง ค.ศ.1400 ที่ผ่านมา เปรียบเทียบกับข้อมูลของอุณหภูมิและสภาพอากาศในช่วงเวลาเดียวกัน พบว่าทั้งสองสิ่งมีความสัมพันธ์กัน โดยการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศเป็นชนวนเหตุของสงครามและความขัดแย้งมากมาย ซึ่งเกิดขึ้นกระจายไปยังภูมิภาคต่างๆ ของโลก

    ส่วนช่วงที่สงบสุขอยู่ระหว่างต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งหากย้อนหลังไปสัก 250 ปีก่อน ทั้งในยุโรปและจีนต่างก็เป็นช่วงที่ประชากรอยู่อย่างสันติเช่นเดียวกัน ช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วง 100 ปี ก่อนสิ้นสุดยุคหนาวเย็นหรือยุคน้ำแข็งเล็ก (Little Ice Age) ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 1450 และสิ้นสุดลงในช่วงศตวรรษที่ 18

    ทีมวิจัยเชื่อว่า ช่วงที่อุณหภูมิเย็นลงกว่าปกติในยุคหนาวเย็น ส่งผลให้ภาคเกษตรกรรมผลิตพืชพันธุ์ธัญญาหารได้ลดลงจากเดิมและทำให้เข้าสู่ภาวะข้าวยากหมากแพงและเกิดสงครามช่วงชิงอาหารเพื่อความอยู่รอด กระทั่งเข้าสู่ช่วง 100 ปี ดังกล่าวที่มีอากาศอบอุ่นขึ้น ความตึงเครียดในสังคมจึงเบาบางลง แต่หลังจากนั้นราวช่วงต้นถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 อุณภูมิก็ลดต่ำลงอีก และกลับเข้าสู่ภาวะทุกเข็ญอีกครั้ง

    แม้ว่าภูมิอากาศ ณ ปัจจุบันนี้จะมีแนวโน้มร้อนขึ้นมากกว่าเย็นลง แต่นักวิชาการก็คาดการณ์ได้ว่าภาวะโลกร้อนจะนำไปสู่ภาวะขาดแคลนอาหารไม่น้อยไปกว่าภาวะหนาวเย็นที่เคยเกิดขึ้นเมื่อช่วง 500 ปีที่ผ่านมาแน่นอน

    "สังคมสมัยใหม่มีวิทยาการมากมายที่จะช่วยเพิ่มผลผลิตต่างๆได้ แต่ก็ควรเตรียมการระมัดระวังไว้ด้วย เพราะกลไกเหล่านั้นอาจใช้ไม่ได้ผลเมื่อเราต้องตกอยู่ในสวาวการณ์ที่เต็มไปด้วยปัญหาสิ่งแวดล้อม" เบรค กล่าว

    นอกจากนี้ เขายังระบุว่า สภาพอากาศเปลี่ยนแปลงอาจทำให้มีผู้ลี้ภัยเนื่องจากสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะผู้ที่อาศัยอยู่แถบชายฝั่งที่เสี่ยงต่อน้ำทะเลท่วมพื้นที่อาศัยอันเนื่องมาจากภาวะโลกร้อน

    อย่างไรก็ดี เมื่อไม่นานมานี้ นายบัน คี-มุน (Ban Ki-Moon) เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์เดอะวอชิงตันโพสท์ (The Washington Post) เกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นที่ดาร์ฟูร์ ประเทศซูดานว่า ส่วนหนึ่งเพราะสภาพพื้นที่กลายเป็นทะเลทราย ระบบนิเวศน์ถูกทำลาย และขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     

แชร์หน้านี้

Loading...