การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย HONGTAY, 10 เมษายน 2007.

  1. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เผย "ขุมทรัพย์" ข้อมูลเกิด-ดับแห่งจักรวาล</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>19 มีนาคม 2551 11:00 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>แผนภาพแสดงความผันผวนทางอุณหภูมิของเอกภพในยุคเริ่มต้น โดยบริเวณที่เป็นสีแดงมีอุณหภูมิที่อุ่นกว่า ส่วนบริเวณที่เป็นสีน้ำเงินเป็นอุณหภูมิที่เย็นกว่า</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>บีบีซีนิวส์ - ยานสำรวจอวกาศนาซาจับภาพแสงเก่าแก่ในยุคก่อเกิดเอกภพหลัง พบ "นิวทริโน" ซึ่งสร้างสสาร 10% ของจักรวาลในช่วงเวลาสั้นๆ หลัง "บิกแบง" ระบุเป็น "ขุมทรัพย์" ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับอายุ การก่อเกิดและจุดจบของเอกภพ

    นักวิทยาศาสตร์เผยว่ายานอวกาศตรวจวัดคลื่นไมโครเวฟวิลกินสันหรือดับเบิลยูแมพ (Wilkinson Microwave Anisotropy probe: WMAP) ขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) ซึ่งส่งขึ้นไปตั้งแต่ปี 2544 เพื่อปฏิบัติภารกิจในการวัดแสงที่หลงเหลือจากการเกิด "บิกแบง" (Big Bang) ได้รวบรวมสิ่งเปรียบเสมือน "ขุมทรัพย์" ของข้อมูลเกี่ยวกับอายุ กำเนิดและจุดจบของเอกภพ

    ทั้งนี้ยานดับเบิลยูแมพได้ทำแผนที่ของรังสีพื้นหลังของเอกภพ (CMB : cosmic microwave background radiation) ในท้องฟ้า ซึ่งรังสีดังกล่าวคือแสงเก่าแก่ที่สุดในเอกภพซึ่งเลื่อนไปสู่ความยาวคลื่นไมโครเวฟ เนื่องจากการขยายตัวของเอกภพเป็นเวลากว่า 1.37 หมื่นล้านปี ตลอด 5 ปีของการศึกษาข้อมูลยังแสดงให้เห็นถึงดาวยุคแรกต้องใช้เวลากว่า 5 ร้อยล้านปีเพื่อจุดแสงสว่างให้กับเอกภพ

    นักวิทยาศาสตร์เผยว่าเอกภพอาบไปด้วยแสงหลังก่อเกิดดังกล่าวและแสงนั้นก็ได้แผ่ปกคลุมห้วงอวกาศ พร้อมกับเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ รูปร่าง ความหมายและจุดจบของเอกภพ ซึ่งยานดับเบิลยูแมพยังให้หลักฐานใหม่เกี่ยวกับปริมาณมหาศาลของนิวทริโน (neutrino) ซึ่งเป็นอนุภาคที่ไม่มีประจุและมวลไหลปกคลุมไปทั่วเอกภพ

    ดร.โจอันนา ดังก์ลีย์ (Dr.Joanna Dunkley) นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด (University of Oxford) ซึ่งเป็นหนึ่งในทีมศึกษาข้อมูลของยานดับเบิลยูแมพร่วมกับนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน (Princeton University) สหรัฐฯ กล่าวว่า ทีมวิจัยได้พบรูปแบบของแสงซึ่งเป็นแสงที่เดินทางมาเป็นเวลาหลายพันล้านปี

    "เราคาดหวังที่จะพบนิวทริโนซึ่งเป็นหลักฐานชิ้นสำคัญที่พบว่าอนุภาคเหล่านี้อยู่ในเอกภพและมีผลกระทบต่อสัญญาณแสงที่เราเห็นได้" ดร.โจอันนากล่าว

    ในอดีตนิวทริโนเป็นส่วนประกอบของเอกภพที่ใหญ่กว่าที่เห็นในปัจจุบันมาก ด้านนักจักรวาลวิทยาเชื่อว่านิวทริโนปรากฏให้เห็นอย่างมากมายในช่วงเวลาสั้นๆ หลังเกิดบิกแบงและทำให้เกิดการพัฒนาอย่างมากมายภายในเอกภพ ส่วนแสงที่เห็นโดยยานดับเบิลยูแมพนั้นก็เป็นคลื่นไมโครเวฟซึ่งเป็นรอยประทับจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อหลายพันล้านปีมาแล้ว

    นักวิทยาศาสตร์หลายคนกล่าวว่าข้อมูลของดับเบิลยูแมพยืนยันทฤษฎีที่อยู่บนพื้นฐานของการสังเกตพบฮีเลียมจำนวนมากในปัจจุบัน เอกภพวัยเยาว์และร้อนจัดนั้นเป็นเหมือนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ผลิตฮีเลียมและหลักการของนักฟิสิกส์อนุภาคแล้วจะต้องปรากฏนิวทริโนปริมาณมหาศาลปกคลุมเอกภพ

    ยานดับเบิลยูแมพได้ทำแผนที่แสงในย่านไมโครเวฟด้วยวงโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นระยะทาง 4 เท่าจากโลกไปดวงจันทร์ สำหรับรายละเอียดในการศึกษาครั้งนี้ได้ส่งไปตีพิมพ์ในวารสารแอสโทรฟิสิคัลเจอร์นัล (Astrophysical Journal)
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เปิดแผนที่ "มหาสมุทรโลก" ถูกมนุษย์ทำลายแล้ว 96%
    เว้นแต่ขั้วโลก
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>แผนที่โลกแสดงพื้นที่มหาสมุทรถูกทำลายจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ โดยฟ้าแสดงถึงพื้นที่ซึ่งได้รับผลกระทบน้อยที่สุด ไล่ขึ้นไปถึงพื้นที่สีแดงซึ่งได้รับความเสียหายหนัก อีกทั้งจะเห็นได้ว่าพื้นที่บริเวณชายฝั่งและมหาสมุทรใกล้กับประเทศไทยก็ได้รับความเสียหายค่อนข้างมาก (ภาพจากศูนย์วิเคราะห์และสังเคราะห์นิเวศวิทยาแห่งสหรัฐฯ)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>พื้นที่มหาสมุทรซึ่งได้รับความเสียหายหนักจากกิจกรรมมนุษย์ ซ้ายบน- ทะเลเหนือ ขวาบน-ทะเลแคริบเบียนตะวันออก ซ้ายล่าง มหาสมุทรใกล้กับญี่ปุ่น และ ขวาล่าง - พื้นที่ซึ่งได้รับผลกระทบน้อย</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>บีบีซีนิวส์/เอเยนซี - พื้นที่แผ่นโลก เหลือ "มหาสมุทร" เพียงแค่ 4 % เท่านั้นที่ยังไม่ถูกมนุษย์ย่ำยี่ ซึ่งพื้นที่บริสุทธิ์ที่เหลือเป็นพื้นที่น้ำแข็งใกล้ขั้วโลกที่กำลังเผชิญการละลาย ขณะที่กว่า 40% ได้รับผลเลวร้ายแล้วจากน้ำมือมนุษย์ ระบุเป็น "เสียงปลุก" ให้ผู้กำหนดนโยบายเริ่มปฏิบัติการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางทะเล

    ดร.เบนจามิน ฮัลเพิร์น (Dr Benjamin Halpern) จากศูนย์วิเคราะห์และสังเคราะห์นิเวศวิทยาแห่งสหรัฐฯ ในซานตา บาร์บารา (National Center for Ecological Analysis and Synthesis in Santa Barbara) ซึ่งเป็นหัวหน้าในการทำแผนที่โลกแสดงผลกระทบต่อมหาสมุทรอันเกิดจากการกระทำของมนุษย์นี้กล่าวว่า มนุษย์ได้สร้างผลกระทบอันใหญ่หลวงต่อมหาสมุทรและระบบนิเวศที่อยู่ภายใต้ทะเล

    ภาพแผนที่โลกนี้แสดงให้เห็นว่า 41% ได้รับผลกระทบอย่างหนักจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ 17 รายงานซึ่งสัดส่วนที่มากกว่าที่เคยคิดกัน และเพียง 4% ที่ยังไม่ได้รับความเสียหาย โดยแผนที่ซึ่งเกิดจากการทำงานร่วมกันของนักวิทยาศาสตร์จากสหราชอาณาจักร สหรัฐฯ และแคนาดานี้เป็นครั้งแรกที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอิทธิพลของมนุษย์ในด้านต่างๆ ที่กระทบต่อมหาสมุทร และยังได้ตรวจสอบตัวบ่งชี้คุณภาพของสิ่งแวดล้อมที่รวมถึงแนวปะการัง แหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ ดงสาหร่ายและคุณภาพน้ำ

    จากการศึกษาพบว่าทั้งการประมง มลพิษ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและปัจจัยอื่นๆ ที่เกิดจากมนุษย์ได้ทำให้เกิดผลเสียหายอย่างหนักต่อมหามสมุทรเกือบครึ่ง ขณะที่พื้นที่น้ำแข็งซึ่งอยู่ใกล้ขั้วโลกนั้นยังบริสุทธิ์อยู่ แต่ก็กำลังเผชิญการคุกคามจากแผ่นน้ำแข็งละลาย ซึ่งข้อมูลนี้ทีมวิจัยระบุว่าเป็น "เสียงปลุก" สำหรับผู้กำหนดนโยบาย

    "ในอดีตนั้นการศึกษาส่วนใหญ่แสดงให้เห็นผลกระทบจากกิจกรรมเดี่ยวๆ แต่นี่เป็นครั้งแรกที่เราได้สร้างแผนที่โลกซึ่งแสดงถึงกิจกรรมต่างๆ ที่หลากหลายเรียงซ้อนกันหลายชั้น เราจึงได้ภาพใหญ่ของผลกระทบทั้งหมดที่มนุษย์ได้ทำมากกว่าแค่ผลเสียจากเรื่องเดียว" ดร.ฮัลเพิร์นกล่าว

    ด้าน ดร.มาร์ก สปอลดิง (Dr.Mark Spalding) ซึ่งร่วมในการศึกษาครั้งนี้กล่าวว่า แผนที่นี้เป็นการทดลองครั้งแรกที่จะอธิบายและแสดงปริมาณถึงสิ่งที่มหาสมุทรทั่วโลกต้องเผชิญจากปัจจัยอันเนื่องจากมนุษย์ ซึ่งเรียงลำดับตั้งแต่การขนส่งทางเรือเชิงพาณิชย์ไปจนถึงการทำประมงเกินพอดี

    "มีปัจจัยสำคัญที่จะปลุกคุณให้ตื่นเมื่อเห็นแผนที่ลักษณะนี้ เพราะมนุษย์ได้คุกคามมหาสมุทรไปทั่วโลก แผนที่นี้จะกระตุ้นให้เกิดการเคลื่อนไหว ซึ่งผมคิดว่าเป็นสัญญาณจริงที่จะเริมต้นลงมือจัดการชายฝั่งและมหาสมุทรของเราเสียที" ดร.สปอลดิงกล่าว

    ในการทำแผนที่นี้ทีมนักวิทยาศาสตร์นานาชาติราว 20 คนได้แบ่งพื้นที่มหาสมุทรออกเป็นตารางกิโลเมตรเพื่อสร้างแบบจำลองอันซับซ้อนโดยพิจารณาข้อมูลจริงที่หาได้เกี่ยวกับอิทธิพลของมนุษย์จากกิจกรรมต่างๆ ที่มีต่อสิ่งแวดล้อมทางทะเล โดยได้คำนวณ "คะแนนผลกระทบจากมนุษย์" สำหรับแต่ละพื้นที่ เพื่อแสดงให้เห็นว่าเป็นแผนที่ของความเสียหายที่มนุษย์ทำให้เกิดแก่ทะเลจริงๆ และบรรดานักวิทยาศาสตร์ต่างตกตะลึงกับผลลพธ์ของแบบจำลองนี้ แต่พวกเขาก็หวังว่าแผนที่นี้จะถูกนำไปใช้เพื่อความพยายามอนุรักษ์ทะเลในลำดับต้นๆ

    "ผมว่าสิ่งน่าอัศจรรย์ใจที่สำคัญของแผนที่นี้คือการได้เห็นผลกระทบจากมนุษย์ที่ครอบคลุมทุกเรื่องอย่างสมบูรณ์ ไม่มีที่ไหนเลยที่รอดพ้นมนุษย์ไปได้ ช่างเป็นแผนที่ช็อคความรู้สึกเมื่อได้เห็น" คำกล่าวของ ดร.สปอลดิงซึ่งนำการวิจัยครั้งนี้และยังเป็นนักวิทยาศาสตร์ทางทะเลอาวุโสของกลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติสากล "เนเจอร์ คอนเซอร์แวนซี" (The Nature Conservancy) โดยเขายังระบุอีกว่าปัจจัยใหญ่ในการทำลายถิ่นที่อยู่ของสิ่งมีชีวิตทางทะเลคือการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศและการทำประมงเกินพอดี

    ด้าน แอนดรูว โรเซนเบิร์ก (Andrew Rosenberg) ศาสตราจารย์ด้านทรัพยากรธรรมชาติจากมหาวิทยาลัยนิวแฮมป์เชียร์ (University of New Hampshire) สหรัฐฯ ซึ่งไม่ได้ร่วมในการศึกษาครั้งนี้ด้วยกล่าวว่า ผู้กำหนดนโยบายต้องไม่มองว่าการประมงและมลพิษเป็นเรื่องที่แยกจากกันอีกต่อไป โดยผลกระทบจากมนุษย์นี้เป็นเรื่องที่ซ้อนทับกันระหว่างพื้นที่และเวลา ซึ่งเมือ่นานไปในหลายกรณีจะขยายผลจนเพิ่มความน่ากลัวอย่างสูง

    "ข้อความถึงผู้กำหนดนโยบายค่อนข้างชัดเจนสำหรับผม ปฏิบัติการอนุรักษ์ธรรมชาติที่ตัดตอนผลกระทบจากการกระทำอันครบชุดของมนุษย์เป็นสิ่งจำเป็นในหลายๆ พื้นที่ทั่วโลก" โรเซนเบิร์กกล่าว

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>แพทยสภาห่วง! โลกร้อนทำคนไทยเป็นโรคประสาทมากขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>นอกจากภัยพิบัตินานาจะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแล้ว โรคภัยต่างๆ ยังมากับภาวะโลกร้อนด้วย (ภาพจาก www.worldproutassembly.org) </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ศ.นพ.สมศักดิ์ โล่ห์เลขา นายกแพทยสภา </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ผศ.ดร.จิรพล สินธุนาวา นักวิชาการจากคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>นางสุธิศา พรเพิ่มพูน นักวิชาการสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>นายกแพทยสภาชี้โลกร้อนจะทำให้คนไทยป่วยเป็นโรคประสาทเพิ่มขึ้น พร้อมโรคที่มาจากสัตว์อย่างไข้สมองอักเสบจากค้างคาว โรคท้องร่วงและอหิวาต์ที่มากับน้ำท่วม ด้านนักวิชาการ ม.มหิดล ปลงปัญหาโลกร้อนสายเกินแก้แล้ว ดีที่สุดทำได้เพียงเตรียมร่างกายให้พร้อม ส่วน กทม.เผยพอใจผลการรณรงค์ลดโลกร้อนตลอดปีที่ผ่านมา สร้างกระแสถุงผ้าแทนถุงพลาสติก

    สภาสมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (สสวทท) จัดการประชุมวิชาการประจำปี พ.ศ.2550 เรื่อง "ภาวะโลกร้อน" ขึ้นเมื่อวันที่ 23 ม.ค. 51 ณ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ โดยมี 25 องค์กรสมาชิกด้านวิชาการและวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นักวิชาการภาครัฐ เอกชน ตลอดจนนักเรียนนักศึกษาเข้าร่วมฟังการบรรยายกว่า 300 คน

    ศ.นพ.สมศักดิ์ โล่ห์เลขา นายกแพทยสภา กล่าวในหัวข้อโรคภัยที่จะติดตามมากับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศว่า เมื่ออุณหภูมิโดยรวมของภูมิอากาศสูงขึ้นจะทำให้ผู้คนเสี่ยงต่อการเกิดโรคประสาทได้มากขึ้นด้วยหากอุณหภูมิภายนอกสูงกว่าอุณหภูมิเฉลี่ยของร่างกายที่ 37.5 องศาเซลเซียส โดยกลุ่มคนจนจะได้รับผลกระทบมากกว่าคนรวย เพราะผู้มีฐานะดีย่อมหลีกเลี่ยงไปอยู่ในที่ที่มีอากาศเย็นด้วยการติดตั้งเครื่องปรับอากาศได้ อย่างไรก็ตามวิธีง่ายๆ ที่ช่วยบรรเทาได้คือ การดื่มน้ำในปริมาณที่มากพอเพื่อช่วยระบายความร้อนจากร่างกาย

    นอกจากนี้แล้ว นายกแพทยสภา กล่าวด้วยว่า เมื่ออุณหภูมิโดยรวมที่สูงขึ้นยังชักนำให้เกิดการระบาดของโรคมาลาเรียในวงกว้างด้วย เช่นในทวีปยุโรปที่ปกติจะไม่มีการระบาดของโรค แต่เมื่ออากาศร้อนขึ้น โรคก็แพร่กระจายได้กว้างขวางขึ้น ซึ่งในส่วนของประเทศไทยเองจะมีปัญหาตามเขตป่าเขาที่มีแหล่งน้ำที่ใสสะอาดเท่านั้น แต่ในเขตเมืองจะไม่มีการระบาดแน่นอนเพราะยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะของโรคมาลาเรียจะไม่สามารถอยู่ในแหล่งน้ำที่มีความสกปรกมากในเขตตัวเมืองได้

    ขณะที่โรคไข้สมองอักเสบจากเชื้อไวรัสนิปาห์ที่มีค้างคาวเป็นพาหะซึ่งพบการระบาดมาก่อนหน้านี้ในประเทศมาเลเซียก็มีความเป็นไปได้เช่นกันที่จะพบการระบาดในเขตเมืองของประเทศไทย หากผลไม้ในเขตป่าเขาที่เป็นแหล่งอาศัยของค้างคาวมีจำนวนลดลง ทำให้ค้างคาวต้องเข้ามาหากินใกล้ตัวเมืองมากขึ้น โดยจากงานวิจัย ค้างคาวในประเทศไทยมีภูมิคุ้มกันเชื้อไวรัสนิปาห์ จึงเชื่อได้ว่าสามารถติดเชื้อดังกล่าวได้ และอาจแพร่กระจายโรคไปยังคนที่อาศัยในเขตเทือกเขาจนทำให้เสียชีวิตแล้ว แต่ยังไม่มีรายงานยืนยันใดๆ ยืนยันออกมา

    ศ.นพ.สมศักดิ์ บอกด้วยว่า ส่วนอีกปัจจัยหนึ่งที่ติดตามมากับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คือ ระดับน้ำทะเลที่เพิ่มสูงขึ้นและการเกิดน้ำท่วม ทำให้ผู้คนมีอาการของโรคทางเดินอาหารอย่างท้องเสีย ท้องร่วง การระบาดของอหิวาตกโรค และยังจะทำให้เกิดน้ำท่วมขังเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ซึ่งเป็นพาหะของโรคอื่นๆ เช่น ไข้เลือดออก เป็นต้น

    ทั้งนี้ ในการประชุมยังมีการแลกเปลี่ยนทัศนะเกี่ยวกับการรับมือกับปัญหาภาวะโลกร้อนด้วย โดย ผศ.ดร.จิรพล สินธุนาวา นักวิชาการจากคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มองว่า การป้องกันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในเวลานี้ถือว่าสายจนสุดมือเอื้อมไปกว่า 15 ปีแล้ว ซึ่ง 30 ปีก่อนได้มีการรณรงค์ให้ตระหนักและร่วมกันป้องกันปัญหามาครั้งหนึ่ง เช่น การงดใส่สูท การใช้เครื่องปรับอากาศอย่างประหยัด หรือแม้แต่การขับรถอย่างมีประสิทธิภาพ แต่กลับไม่ได้รับการตอบรับจากสังคม

    อย่างไรก็ดี เมื่อปัญหาเกิดขึ้นแล้ว ประเทศไทยซึ่งเป็นผู้ปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศโลกประมาณร้อยละ 1 ของทั้งโลกก็ไม่สามารถแก้ไขใดๆ ได้แล้ว เพราะอีกร้อยละ 99 ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอยู่พ้นขอบเขตที่ไทยจะเข้าไปจัดการได้ แม้ว่าไทยจะพยายามลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกด้วยการหันไปใช้พลังงานไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ก็ตาม

    ผศ.ดร.จิรพล ยังชี้ด้วยว่า ปัจจุบันชั้นบรรยากาศของไทยมีความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงถึง 384 ส่วนจากล้านส่วน (พีพีเอ็ม) แล้ว ซึ่งห่างจากจุดวิกฤติที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามรายงานของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ไอพีซีซี) ระบุไว้ที่ระดับความเข้มข้น 450 พีพีเอ็มเพียงประมาณ 60 พีพีเอ็มเท่านั้น

    ขณะที่รายงานจากองค์การบริหารการบินอวกาศาสหรัฐฯ (นาซา) รายงานว่า จุดวิกฤติที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพจริงๆ อาจไม่สูงถึง 450 พีพีเอ็ม แต่อยู่ที่ความเข้มข้นเพียง 350 พีพีเอ็มเท่านั้น โดยหลายประเทศเริ่มซ้อมรับมือกับปัญหาและมีการรายงานสถานะการแตกตัวของน้ำแข็งขั้วโลกเหนือทุกต้นชั่วโมง หรืออย่างในประเทศอังกฤษที่มีการซ้อมอพยพคนออกจากรุงลอนดอน และหมู่เกาะมัลดีฟที่มีการถมเกาะให้สูงขึ้น 4 เมตร

    อย่างไรก็ตาม ผศ.ดร.จิรพล ชี้ว่า แม้จะมีความเปลี่ยนแปลงหลายอย่างเกิดขึ้นแล้ว แต่สังคมไทยก็ยังคิดว่าตัวเองปลอดภัยและนิ่งนอนใจอยู่ โดยขาดทั้งผู้นำและสื่อมวลชนที่เป็นตัวนำสังคมได้ตระหนักและเกิดการเรียนรู้ แถมบางครั้งการเสนอข่าวของสื่อแทนที่จะสร้างความตระหนักกลับจะสร้างความตระหนกขึ้นแทน ทางรอดที่จะเตรียมรับมือกับผลกระทบได้ดีที่สุดคือการเตรียมร่างกายให้แข็งแรงมากที่สุดเท่าที่จะทำได้

    ส่วนผลความพึงพอใจต่อมาตรการลดปัญหาภาวะโลกร้อนที่กรุงเทพมหานครได้ดำเนินการเกือบ 1 ปี ตั้งแต่การลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯ เมื่อ 9 พ.ค.2550 ซึ่งทำให้เกิดโครงการรณรงค์ต่างๆ ตามมา อาทิ การถือฤกษ์วันที่ 9 ของทุกเดือนเพื่อรณรงค์ให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโลกร้อน เช่น การรณรงค์ใช้ถุงผ้าจ่ายตลาดแทนการใช้ถุงพลาสติก การรณรงค์ปลูกต้นไม้ และการรณรงค์ใช้หลอดตะเกียบ ฯลฯ

    นางสุธิศา พรเพิ่มพูน นักวิชาการสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร กล่าวว่า การรณรงค์ดังกล่าวได้ผลเป็นที่น่าพอใจ และจุดประกายให้คนหันมาสนใจปัญหาโลกร้อนมากขึ้น เช่น เกิดกระแสการหันมาใช้ถุงผ้าอย่างแพร่หลายของห้างร้านเอกชน หน่วยงานรัฐ ตลอดจนประชาชนทั่วไป ซึ่ง 9 ม.ค.51 ที่ผ่านมา ยังได้มีการลงนามบันทึกความร่วมมือโครงการไบโอดีเซลเพื่อสังคมไทยสู่เศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ที่ได้รับการตอบรับที่ดีจากห้างสรรพสินค้าต่างๆ ตลอดจนตลาดสดทั่วกรุงเทพฯ อีกด้วย

    ขณะเดียวกัน นางสุธิศา ก็ยอมรับว่า ยังมีคนบางกลุ่มที่จะไม่สนใจปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเลยก็ทำให้ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ กับคนกลุ่มนี้

    ส่วนที่มีคนมองว่ามาตรการต่างๆ ของกรุงเทพมหานครที่ใช้รับมือกับปัญหานี้เป็นการกระทำแบบไฟไหม้ฟาง นักวิชาการสิ่งแวดล้อมรายนี้ชี้ว่าไม่อยากให้มองเช่นนั้น แต่อยากให้มองว่าทุกการรณรงค์ที่ทำไปจะเป็นการจุดประกายให้ประชาชนนำกลับไปปฏิบัติร่วมกันมากกว่า เพราะหากกรุงเทพมหานครไม่ริเริ่มการรณรงค์ใดๆ เลยก็ย่อมจะไม่มีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น เพียงแต่อย่าให้ทุกอย่างจบลงเมื่อกิจกรรมรรรงค์จบลงไปเท่านั้น

    นอกจากนั้น จากการที่กรุงเทพมหานครได้ออกแผนปฏิบัติการว่าด้วยการลดปัญหาภาวะโลกร้อนระยะ 5 ปี (พ.ศ.2550 -2555) โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการเกิดก๊าซเรือนกระจกลง 15 % นางสุธิศา เชื่อว่า แม้กรุงเทพมหานครจะมีการเปลี่ยนแปลงผู้ว่าราชการจังหวัดคนใหม่แล้ว แผนดังกล่าวก็จะคงอยู่ต่อไปแน่นอน เนื่องจากเป็นแผนที่ดี ต้องทำ และเป็นเสมือนสัญญาที่ไทยมีต่อนานาชาติด้วย
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    อากาศวิปริต แตนทะเลเกลื่อนหาด
    จากสถานการณ์อุณหภูมิน้ำทะเลที่ต่ำกว่าค่าปกติมากในแนวพื้นที่ตอนกลางและตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกเขตศูนย์สูตร โดยอุณหภูมิผิวหน้าน้ำทะเลต่ำกว่าปกติ 2-3 <SUP>๐ซ ในขณะที่อุณหภูมิเฉลี่ยน้ำทะเลลึกลงไป 300 เมตร ต่ำกว่าค่าปกติ 2-6 ๐ซ และลมที่ระดับ 850-hPa (ประมาณ 5,000 ฟุต) เป็นลมตะวันออกกำลังแรง ส่วนที่ระดับสูงขึ้นไป 200
     
  5. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="96%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=headnews vAlign=top>6 องศาเซลเซียสเปลี่ยนโลกทั้งโลก
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=4></TD></TR><TR><TD class=dessubmmenu1><CENTER>[​IMG]</CENTER>


    หากโลกร้อนขึ้น0.8 องศาเซลเซียส จะเป็นอย่างไร คำตอบปรากฏอยู่บนจอวีดิทัศน์ขนาดยักษ์ฉายให้เห็นภาพหมีขาวโดดเดี่ยวอยู่บนก้อนน้ำแข็งไฟไหม้ป่าอย่างรุนแรง ภูเขาน้ำแข็งทั่วโลกทลาย เกิดพายุเฮอริเคนพัดกระหน่ำอย่างรุนแรง ฯลฯ

    <CENTER>[​IMG]</CENTER>



    แล้วถ้าโลกร้อนขึ้นอีก1 องศาเซลเซียส ก่อนจะเพิ่มเป็น 2 องศาเซลเซียส และ 3 องศาเซลเซียส ภัยพิบัติทางธรรมชาติเหล่านี้จะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นอีกหลายเท่า
    เมื่อเพิ่มขึ้น4-5 องศาเซลเซียส มหานครใหญ่ๆ ของโลก เช่น นิวยอร์ก ลอนดอน เซี่ยงไฮ้ หรือแม้แต่ กรุงเทพฯ และอีกหลายๆ เมืองทั่วโลกจะกลายเป็นเมืองบาดาลในชั่วพริบตา คลื่นมหาชนผู้ประสบภัยทั่วโลกจะเคลื่อนย้ายถิ่นฐานครั้งมโหฬาร <CENTER>[​IMG]</CENTER>


    พอเพิ่มถึง6 องศาเซลเซียส นักวิทยาศาสตร์ไม่อาจคาดเดาได้อีกต่อไปว่า จะเกิดอะไรขึ้นกับมนุษย์และโลกใบนี้ !?!
    เหล่านี้คือปฐมบทจากสารคดี"Six Degrees Could Change the World" หรืออุณหภูมิ6 องศาเซลเซียส เปลี่ยนแปลงโลก นำเสนอแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิทั้ง 5 ทวีป จัดทำโดยเนชั่นแนล จีโอ กราฟฟิก โดยมีแรงบันดาลใจจากหนังสือ "Six Degrees" ซึ่ง "มาร์ค ไลนัส" นักข่าวและนักอนุรักษนิยมชาวอังกฤษค้นคว้าบทความทางวิชาการหลายหมื่นชิ้น เพื่อเผยให้เห็นความน่าสะพรึงกลัวของอุณหภูมิโลกที่จะเพิ่มขึ้น 6 องศาเซลเซียส ในอีก 100 ปีข้างหน้า
    "สภาวะโลกร้อนไม่ได้หมายถึงแค่การเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ ของอุณหภูมิโลก แต่จริงๆ แล้วมันคือการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ ในโลก นั่นเป็นเหตุผลให้เราได้เห็นทั้งความแห้งแล้งและน้ำท่วมในสถานที่ต่างๆ หรือแม้แต่การเกิดน้ำท่วมและสภาวะแห้งแล้งในพื้นที่เดียวกันอย่างต่อเนื่อง" ไลนัส วิทยากรสารคดีชุดนี้ เปรยขึ้น <CENTER>[​IMG]</CENTER>


    ถ้าให้ทุกคนลองจินตนาการถึงผลกระทบจากภาวะโลกร้อนคงไม่ใช่เรื่องง่ายๆ ไลนัส อาจช่วยไขภาพความเป็นจริงของภาวะโลกให้เข้าใจง่ายขึ้น เพราะใครเลยจะคิดว่าสารพิษที่ปล่อยออกมาจากท่อไอเสียรถคุณวันนี้ จะทำให้ธารน้ำแข็งในเทือกเขาหิมาลัยละลายในอีก 50 ปีข้างหน้าได้ !
    หากอุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้นอีก1 องศาเซลเซียส พื้นดินชั้นบางๆ เพียงไม่กี่เซนติเมตรที่ปกคลุมผืนทรายทางตะวันตกของอเมริกา จะแปรเปลี่ยนเป็นพายุฝุ่นที่มีความรุนแรง ซัดพาตะกอนดินปลิวหายไปในอากาศ หลงเหลือเพียงทะเลทรายอันแห้งแล้งในชั่วพริบตา
    ส่วนธารน้ำแข็งขนาดยักษ์ในกรีนแลนด์อายุ1.5 แสนปี ก็กำลังละลายลงสู่ทะเล โดยเฉพาะแผ่นน้ำแข็ง "จาคอบชวาน" ในกรีนแลนด์เป็นแผ่นน้ำแข็งที่เคลื่อนตัวเร็วที่สุดในโลก 40 เมตรต่อวัน หากอุณหภูมิสูงขึ้น 1 องศาเซลเซียส จะทำให้แผ่นน้ำแข็งละลาย เพียงแค่ 2 วันก็เท่ากับปริมาณน้ำที่ใช้ในเมืองนิวยอร์ก 1 ปี <CENTER>[​IMG]</CENTER>


    ณ"สวิส แคมป์" ศูนย์วิจัยที่สร้างขึ้นกลางแผ่นน้ำแข็งขั้วโลก เพื่อติดตามความเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศของ ดร.คอนราด สเตฟเฟนส์ ติดตั้งสถานีอากาศเต็มรูปแบบ 23 สถานี เพื่อวัดค่าสภาพอากาศทุก 15 นาที เพื่อป้อนข้อมูลแก่โมเดลภาวะโลกร้อนทั่วโลก นักวิจัยน้ำแข็งยังขุดสำรวจแผ่นน้ำแข็งในพื้นที่ต่างๆ และค้นพบลักษณะแปลกประหลาดและอันตรายที่สุดของแผ่นน้ำแข็ง
    แอ่งน้ำขนาดใหญ่ดั่งโอเอซีสกลางทะเลทรายแต่ที่นี่เป็นน้ำแข็งที่ละลายอยู่บนก้อนน้ำแข็งมหึมา และมีช่องทางให้น้ำไหลไปตามเส้นทางของมันทะลุทะลวงก้อนน้ำแข็งลึกไปยังแผ่นหินเบื้องล่าง จนเกิดเป็นโพรงขนาดใหญ่ที่เรียกว่า "มูแลง" โดยน้ำแข็งที่ละลายแล้วจะทำหน้าที่หล่อเลี้ยงแผ่นน้ำแข็งขนาดมหึมานั้น เป็นสาเหตุทำให้แผ่นน้ำแข็งเคลื่อนตัวสู่มหาสมุทรเร็วขึ้นเรื่อยๆ ยิ่งเคลื่อนตัวเร็วเท่าไร โอกาสที่แผ่นน้ำแข็งจะละลายเร็วก็มีมากขึ้นเท่านั้น
    เมื่อเวลานั้นมาถึง"หายนะ" ก็จะมาเยือนโลก !!! <CENTER>[​IMG]</CENTER>


    หากแผ่นน้ำแข็งกรีนแลนด์ละลายจะเพิ่มระดับน้ำทะเลทั่วโลกสูงขึ้นประมาณ 7 เมตร ซึ่งมากพอจะท่วม ลอนดอน นิวยอร์ก เซี่ยงไฮ้ กทม. และอีกหลายๆ เมือง หากอุณหภูมิเพิ่มเป็น 2 องศาเซลเซียส นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกเห็นพ้องต้องกันว่า มันเกินจะเยียวยาโลกแล้ว เพราะสมดุลธรรมชาติอันอ่อนไหว ตั้งแต่ยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก จนจรดส่วนที่ลึกที่สูงของโลกมหาสมุทร จะเกิดการเปลี่ยนแปลง
    "โอฟ เฮิก กัลต์เบิร์ก" นักชีววิทยาทางทะเลประจำมหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย เฝ้าติดตามความเปลี่ยนแปลงของปะการัง ซึ่งเกิดปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวครั้งใหญ่ถึง 2 ครั้ง ที่เกรทแบริเออร์รีฟ แหลมเคปยอร์ก รัฐควีนส์แลนด์ ซึ่งเป็นแหล่งปะการังใหญ่ที่สุดในโลก ได้รับการเรียกขานว่า "สิ่งก่อสร้างที่มีชีวิต" กำลังตกอยู่ในอันตรายจากน้ำทะเลที่อุ่นเกิน30 องศาเซลเซียส ปะการังเริ่มพ่นสาหร่ายที่จำเป็นต่อการยังชีพออกมา แล้วมันก็ล้มตายลง ส่งผลให้สิ่งมีชีวิตกว่าล้านสายพันธุ์ที่หากินตามแนวปะการังล้มตายดั่งโดมิโน
    สัญญาณแห่งความตายจากชายฝั่งทะเลยังแพร่ปกคลุมไปถึงก้นทะเลลึกในมหาสมุทร ซึ่งเปรียบเสมือนอ่างเก็บกักคาร์บอนไดออกไซด์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก แม้ว่าจะมีสิ่งมีชีวิตเล็กจิ๋วเพียงไม่กี่มิลลิเมตร อย่าง โฟแรม และคอดโคลิโธฟอร์ ต้องใช้ประโยชน์จากคาร์บอนไดออกไซด์ในทะเล เพื่อสร้างเปลือกและโครงกระดูกของมัน แต่เมื่อคาร์บอนไดออกไซด์มีมากเกินไป ก็ย้อนกลับมาทำลายชีวิตของมันเอง จากภาวะน้ำทะเลเป็นกรด ทำลายเปลือกและโครงกระดูก และไม่ว่าสัตว์ทะเลหน้าตาเป็นอย่างไร ตัวเล็กหรือตัวใหญ่ ล้วนตกอยู่ในชะตากรรมเดียวกันหมด
    เมื่ออุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้นเป็น3 องศาเซลเซียส "อะเมซอน" ผืนป่าดิบชื้นที่สมบูรณ์แห่งหนึ่งของโลก อาจจะกลายเป็นทุ่งหญ้าสะวันนา เมื่อช่วงฤดูร้อนปี 2548 อุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้นไม่ถึง 1 องศาเซลเซียส อะเมซอนต้องเผชิญกับสภาพอากาศร้อนอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ส่งผลให้แม่น้ำอะเมซอนสายที่ใหญ่ที่สุดในโลกแห้งขอดจนมองเห็นผืนดิน ต่อจากนั้นก็เกิดไฟป่าเผาผลาญผืนป่า ทำลายแหล่งกำเนิดน้ำเป็นวงกว้างถึง 2,500 ตารางกิโลเมตร
    "ภาวะโลกร้อนกำลังนำหายนะมาสู่ป่าไม้ในภูมิภาคนี้" แดเนียล เนปสแตด ผู้ศึกษาผืนป่าอะเมซอนมา 25 ปี ระบุ
    และเมื่ออุณหภูมิโลกขยับขึ้นมาอีก4 องศาเซลเซียส ยอดเขา "หิมาลัย" ที่ปกคลุมด้วยหิมะตลอดปีจะเหลือเพียงตำนาน แม่น้ำสายสำคัญที่เกิดจากเทือกเขาหิมาลัย โดยเฉพาะแม่น้ำคงคาจะถึงกาลอวสาน
    "ชวามี ซันดารานันต์" นักพรตวัย 80 ปี เคยบันทึกภาพธารน้ำแข็งต้นแม่น้ำเมื่อปี 2499 อีก 15 ปีต่อมาเขากลับไปเยือนธารน้ำแข็งอีกครั้งและพบกับความหวั่นวิตก
    "เมื่อ 50 ปีก่อนผมเดินเท้าขึ้นไปยังธารน้ำแข็งถึงฐานเมรูพีด พอกลับไปอีกครั้งธารน้ำแข็งก็หายไปหมดแล้ว เวลาที่ผมเห็นธารน้ำแข็งละลายไป ผมรู้สึกกังวลใจมาก แล้วน้ำตาก็ไหลออกมา" ชวามี บอกความในใจ ขณะที่ภาพภ่ายดาวเทียมขององค์การนาซาก็ยืนยันถึงความสูญเสียลักษณะเดียวกัน
    หากยังเป็นเช่นนี้เรื่อยๆอีก 100 ปีข้างหน้า การเกษตร การผลิตไฟฟ้าจากน้ำ การคมนาคม การทำเหมืองแร่ และสัตว์ป่าริมสองฝั่งแม่น้ำคงคาจะได้รับผลกระทบอย่างหนัก โดยลำดับแรกจะเกิดน้ำท่วมใหญ่ก่อน แต่หลังจากนั้นจะเกิดการขาดแคลนน้ำอย่างหนักตลอดทั้งปี
    เมื่อโลกเดินทางถึงจุดเดือดที่อุณหภูมิสูงขึ้นอีก5-6 องศาเซลเซียส ไลนัส เชื่อว่า มนุษย์ไม่สามารถทนความเปลี่ยนแปลงอันโหดร้ายเช่นนี้ได้ เขา บอกว่า ตอนนี้เรากำลังอยู่ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อภาพแห่งฝันร้ายของทุกชีวิตบนโลกใบนี้ หากโลกร้อนขึ้นอีก 6 องศาเซลเซียส จริง มหาสมุทรจะกลายเป็นสีฟ้าสดใส ภัยธรรมชาติจะเป็นเรื่องธรรมดา และทะเลทรายจะแผ่ปกคลุมทวีปต่างๆ ดั่งกองทัพที่มีชัยไปทั่วทุกแคว้น ชีวิตของเราก็จะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป
    ขณะที่หลายประเทศทั่วโลกพยายามหาหนทางหยุดโลกร้อนไว้ที่2 องศาเซลเซียส พวกเราทุกคนก็สามารถช่วยลดโลกร้อนได้ ก่อนที่มันจะสายเกินเยียวยา ร่วมหาคำตอบได้ใน "Six Degrees Could Change the World" ทางเนชั่นแนล จีโอ กราฟฟิก แชนแนล ทรูวิชั่นส์ ตลอดเดือนมีนาคมนี้




    ลำดับหายนะ

    -- 1 ํ --
    - มหาสมุทรอาร์กติกจะปราศจากน้ำแข็งเป็นเวลา 6 เดือน ปิดเส้นทางเดินเรือ "นอร์ทเวสต์ พาสสาจ" เส้นทางเชื่อมระหว่างยุโรปและเอเชีย ซึ่งเคยสร้างตำนานแห่งการผจญภัยให้นักบุกเบิกเผชิญหน้ากับความตาย ขณะพยายามแล่นเรือฝ่าแผ่นน้ำแข็ง และสภาพอากาศเลวร้ายอันแสนหนาวเหน็บมานักต่อนัก
    - กระแสน้ำที่เพิ่มสูงขึ้นส่งผลให้หลายพันครัวเรือนบริเวณอ่าวเบงกอลจมหายอยู่ใต้น้ำ
    - พายุเฮอริเคนอาจเข้าโจมตีมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้
    - เกิดความแห้งแล้งอย่างรุนแรงทางภาคตะวันออกของสหรัฐอเมริกา ส่งผลให้ตลาดขาดแคลนข้าวและเนื้อสัตว์
    - พื้นที่ด้านฝั่งตะวันออกของสหรัฐอเมริกา จะแปรเปลี่ยนเป็นทะเลทราย
    - วิถีเกษตรกรรมในประเทศอังกฤษจะเกิดการเปลี่ยนแปลง ไร่องุ่นกว่า 400 แห่ง แหล่งผลิตไวน์รสเลิศจะได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศที่ร้อนขึ้น

    -- 2 ํ --
    - ธารน้ำแข็งในกรีนแลนด์ค่อยๆ ละลายหายไป "จาคอบชวาน" ธารน้ำแข็งขนาดใหญ่ที่สุดของกรีนแลนด์ กลายเป็นธารน้ำแข็งที่เคลื่อนที่เร็วที่สุดในโลก
    - เมื่อน้ำแข็งในทะเลลดน้อยลง หมีขั้วโลกเหนือจะตกอยู่ในสภาวะอันตรายและถึงขั้นเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์
    - แมลงอาจอพยพไปพื้นที่ใหม่ๆ เช่น ด้วงสนอาจทำลายป่าไม้ทางตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา
    - ขั้วโลกเหนือของประเทศแคนาดา บริเวณพื้นราบจะมีป่าไม้จากเดิมที่ไม่เคยมีมาก่อน
    - ประเทศตูวาลูในหมู่เกาะแปซิฟิก อาจจมอยู่ใต้น้ำ เนื่องจากระดับน้ำทะเลสูงขึ้น
    - ระบบนิเวศทางทะเลจะเกิดผลกระทบรุนแรง ทำให้ปะการังเขตร้อนตายหมดสิ้น

    -- 3 ํ--
    - ป่าอะเมซอนจะแห้งเหือดและเกิดไฟป่าซ้ำซาก ทำให้ผืนป่าอะเมซอนเสียหายเป็นบริเวณกว้าง ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซคาร์บอน ตัวการโลกร้อนหลายร้อยตันสู่ชั้นบรรยากาศโลก
    - ธารน้ำแข็งบนเทือกเขาแอลป์ละลายจนหมดสิ้น
    - ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในฝั่งทวีปยุโรปจะแห้งเหือดในฤดูร้อน
    - ปรากฏการณ์เอลนีโญ่จะทวีความรุนแรง เกิดสภาวะอากาศวิปริตแปรปรวน
    - พายุเฮอริเคนจะทวีความรุนแรงเป็นระดับ 6 ซึ่งไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนหน้านี้
    - เมื่อโลกร้อนขึ้นอีก 3 องศาเซลเซียส นักวิทยาศาสตร์เห็นพ้องต้องกันว่า จะเกิดผลกระทบต่อการใช้ชีวิตของมนุษย์

    -- 4 ํ --
    - แผ่นน้ำแข็งในมหาสมุทรแอนตาร์กติกตะวันตก อาจละลายและจมหายไปในทะเล ส่งผลให้ระดับน้ำในมหาสมุทรเพิ่มสูงขึ้น เกิดปัญหาน้ำท่วมรุนแรงบริเวณพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำ ที่มีผู้คนอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น ทำให้ประเทศต่างๆ ได้รับความเสียหาย เช่น บังกลาเทศ และอียิปต์ ส่วนเมืองเวนิสทั้งเมืองอาจจมอยู่ใต้บาดาล
    - แม่น้ำคงคาสายน้ำแห่งชีวิตของคนกว่าพันล้านคนในประเทศจีน เนปาล และอินเดีย จะเอ่อล้นท่วมครั้งยิ่งใหญ่ และจากผลพวงการละลายของธารน้ำแข็งในเทือกเขาหิมาลัย ที่คาดว่าจะละลายหมดในปี 2578 จะเกิดปัญหาขาดแคลนน้ำ อาหาร และที่อยู่อาศัยตามมา
    - ประเทศแคนาดาทางตอนเหนือจะกลายเป็นพื้นที่เกษตรกรรมที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก

    -- 5 ํ --
    - แผ่นดินที่ไม่เคยมีมนุษย์อาศัยอยู่ทางตอนเหนือและใต้ของโลก จะกลายเป็นเขตอบอุ่น และกลายเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์ในอนาคต
    - มหานครของโลก เช่น ลอสแองเจลิส กรุงไคโร ลิมา และบอมเบย์ ที่เคยปกคลุมด้วยหิมะและน้ำแข็งบางช่วงเวลาจะไม่มีหิมะตกอีกต่อไป
    - ผู้คนหลายสิบล้านคนจะกลายเป็นผู้อพยพลี้ภัย อันเนื่องมาจากสภาพอากาศและความขัดแย้ง อันเกิดจากการแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติ

    -- 6 ํ --
    - โลกของเราจะมีสภาพคล้ายคลึงกับยุคครีเตเซียส ซึ่งโลกมีอุณหภูมิสูงมาก เหมือนที่เคยเกิดขึ้นเมื่อประมาณ 65-144 ล้านปีก่อน
    - น้ำทะเลมีสีฟ้าใส เพราะไม่หลงเหลือวงจรห่วงโซ่อาหาร และสารอาหารในทะเลอีกแล้ว
    - ทะเลทรายจะเข้ายึดครองพื้นที่ในทวีปต่างๆ ทั่วโลก
    - ภัยพิบัติทางธรรมชาติกลายเป็นเรื่องปกติ เมืองใหญ่ๆ เกิดภาวะอุทกภัยจนผู้คนต้องอพยพย้ายถิ่นฐาน

    เมื่อเวลานั้นมาถึง...มนุษย์โลกจะเผชิญชะตากรรมอย่างไร!!

    ทีมข่าวรายงานพิเศษ: เรื่อง
    เนชั่นแนลจีโอ กราฟฟิก : ภาพ​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    http://www.komchadluek.net/2008/03/22/x_sun_t006_194129.php?news_id=194129
     
  6. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • โลกร้อนทำให้แผ่นน้ำแข็งขนาดใหญ่เสี่ยงหลุดจากทวีปแอนตาร์กติกา [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย สำนักข่าวไทย [ 26-03-2551 | 11:51:51 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> แอนตาร์กติกา 26 มี.ค.- ผลสำรวจของ บริติช แอนตาร์กติก เซอร์เวย์ พบว่า ปัญหาโลกร้อน ส่งผลให้แผ่นน้ำแข็ง แตกออกจากทวีปแอนตาร์กติกา คิดเป็นพื้นที่ถึง 570 ตารางกิโลเมตร ส่วนแผ่นน้ำแข็ง วิลคินส์ ที่มีขนาดใหญ่เท่ารัฐคอนเนตทิคัต ของสหรัฐ ก็กำลังอยู่ในภาวะสุ่มเสี่ยง ที่จะหลุดออกจากทวีปแอนตาร์กติกาในเวลานี้
    นักธรณีวิทยาน้ำแข็งประจำศูนย์ข้อมูลน้ำแข็งและหิมะ ของมหาวิทยาลัย โคโลราโด เป็นผู้กระตุ้นเตือนให้ บริติช แอนตาร์กติก เซอร์เวย์ ไปสำรวจเรื่องนี้ หลังศึกษาภาพถ่ายดาวเทียมขององค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐ หรือ นาซา แล้วพบว่า แผ่นน้ำแข็ง วิลคินส์ กำลังแยกตัวออกจากทวีปแอนตาร์กติกา เมื่อปลายเดือนที่แล้ว ซึ่งในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา แผ่นน้ำแข็งยักษ์นี้ ก็ได้สูญเสียมวลน้ำแข็งไปแล้วถึงร้อยละ 6
    ผลสำรวจพบว่า ขณะนี้มีเพียงก้อนน้ำแข็งเป็นทางยาวเพียงเส้นเดียว ที่ยังช่วยยึดติดแผ่นน้ำแข็งวิลคินส์ กับทวีปแอนตาร์กติกา และเมื่อต้นเดือนที่ผ่านมา ยังสังเกตเห็นก้อนน้ำแข็งขนาดเท่าบ้าน อีกหลายก้อน แตกกระจัดกระจายออกมาจากแผ่นน้ำแข็งวิลคินส์ ซึ่งมีพื้นที่เท่ากับรัฐคอนเนตทิคัต หรือคิดเป็นครึ่งหนึ่งของสกอตแลนด์
    แผ่นน้ำแข็งวิลคินส์ เป็นแผ่นน้ำแข็งที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ในคาบสมุทรแอนตาร์กติก ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ก็ไม่เคยคาดคิดมาก่อนว่า จะได้เห็นแผ่นน้ำแข็งขนาดยักษ์ แยกตัวออกจากทวีปแอนตาร์กติกาเร็วถึงเพียงนี้ ซึ่งการแยกตัวของแผ่นน้ำแข็งวิลคินส์คาดว่า ไม่น่าส่งผลกระทบกับเรือที่ขนนักท่องเที่ยว เดินทางจากอเมริกาใต้ ไปยังแอนตาร์กติกา แต่จะส่งผลต่อสัตว์และพืชบางชนิด ที่ต้องปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  7. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>'กรีนพีซ' ชี้ปัญหาโลกร้อน บีบ ปชช.ร้อยล้านคนอพยพ</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>27 มีนาคม 2551 00:13 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> เอเอฟพี - กลุ่มกรีนพีซเผยแพร่ผลการศึกษาชิ้นใหม่เมื่อวานนี้ (26) ระบุว่าหากปัญหาภาวะโลกร้อนยังไม่ได้รับการแก้ไข ระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นและการขาดแคลนน้ำจะทำให้ประชาชน 125,000,000 คนในเอเชียใต้ ต้องอพยพย้ายถิ่นฐาน

    สุธีร์ เชลลา ราจาน ผู้เชี่ยวชาญด้านปัญหาโลกร้อนชั้นนำในอินเดีย ซึ่งเป็นผู้จัดทำผลการศึกษาชิ้นนี้ กล่าวว่า ถ้าปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกยังคงเพิ่มขึ้นในระดับตามที่คาดการณ์ไว้ ภูมิภาคเอเชียใต้จะประสบปัญหาผู้อพยพมหาศาล

    ผลการศึกษาของกรีนพีซ ระบุว่า ประชาชน 125,000,000 คน ที่อาศัยอยู่ตลอดแนวชายฝั่งของอินเดียและบังกลาเทศ จะต้องอพยพย้ายถิ่นฐาน โดยประชาชน 75,000,000 คนที่อาศัยอยู่บนพื้นที่ลาดต่ำในบังกลาเทศ จะอพยพไปยังอินเดีย

    ราจาน อธิบายว่า ประชาชนในเอเชียใต้จำต้องละทิ้งบ้านเรือน สืบเนื่องจากผลกระทบจากปัญหาโลกร้อน อาทิเช่น ระดับน้ำทะเลที่เพิ่มสูงขึ้น ภาวะแห้งแล้งที่เกิดร่วมกับการขาดแคลนน้ำอย่างหนัก และการเปลี่ยนแปลงไปสู่ฤดูมรสุม
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  8. LuckyFriday

    LuckyFriday เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,153
    กำลังตั้งไข่ส่วนจะไปทางไหนรอลุ้นกัน
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • shirgmsw.html
      ขนาดไฟล์:
      2 KB
      เปิดดู:
      93
  9. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    นักวิทยาศาสตร์ได้เตือนว่าความเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศที่จะมาถึงในอีกหลายทศวรรษนั้นจะทำให้เกิดน้ำท่วมมากขึ้นในบริเวณซีกโลกตอนเหนือ และความแห้งแล้งที่มากขึ้นในตอนใต้และพื้นที่แห้งแล้งซึ่งอาจนำไปสู่วิกฤตอาหารทั่วโลกได้

    พื้นที่ที่จะทนทุกข์ทรมานจากการขาดน้ำนั้นรวมไปถึงลุ่มน้ำทะเลเมดิเตอร์เรเนียน , ทางตะวันตกของอเมริกา , หลายส่วนในแอฟริกาใต้และทางตะวันออกเฉียงเหนือของบราซิล

    คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ(IPCC),ประธาน Rajendra Pachauri ได้กล่าว ณ ตอนจบการประชุมที่ Budapest ว่าความถี่และความเข้มข้นที่เพิ่มสูงขึ้นของเหตุน้ำท่วมและความแห้งแล้งนั้นสามารถนำไปสู้วิกฤตอาหารได้

    “นี่เป็นเรื่องที่ร้ายแรงมาก” Pachauri กล่าว “เราอาจจะเห็นความถดถอยในผลิตภัณฑ์เกษตร , แต่อย่างที่สามารถคาดได้ว่า ด้วยรายได้ที่สูงขึ้นและการเติบโตของจำนวนประชากรนั้น เราอาจได้ความต้องการอาหารที่สูงขึ้นด้วย

    รายงานของ IPCC ฉบับหนึ่งที่ถูกเสนอในที่ประชุมนั้นบอกว่า การลดลงในคุณภาพและปริมาณของน้ำนั้นจะมีผลกระทบในด้านลบในเรื่องของสุขภาพและส่งผลให้มีพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากปัญญาเรื่องน้ำนั้นมีมากขึ้น - การขาดน้ำสำหรับดื่มกินและสำหรับการเกษตรกรรม


    ชาวแอฟริกันจำนวน 250 ล้านคนอาจจะทรมานจากปัญญาเรื่องน้ำในปี 2020 เว้นเสียแต่ว่าจะมีการกระทำเพื่อบรรเทาความเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ , ผู้เชี่ยวชาญกล่าว

    ในขณะที่สัดส่วนของปริมาณน้ำฝนนั้นมีแนวโน้มมากที่จะเพิ่มสูงขึ้น เช่นเดียวกับพื้นที่ที่ทุกข์ทรมานจากความแห้งแล้งรุนแรงมาอย่างต่อเนื่อง

    ตัวรายงานดังกล่าวก็ยังอ้างอิงถึงปัญหาธารน้ำแข็งและการละลายของหิมะบนภูเขาที่มีอยู่ทั่วโลกด้วย

    หัวหน้าด้านภูมิอากาศของ U.N. Yvo de Boer บอกผู้สื่อข่าวว่าธารน้ำแข็งบนเทือกเขาหิมาลัยที่ได้มอบน้ำดื่มแก่ชาวอินเดียและชาวจีนกว่านับสิบล้านคนนั้นมี “ความเป็นไปได้ที่จะหายไป”

    หนึ่งในผู้ร่วมเขียนรายงานของ IPCC นั้นบอกว่ากรณีเรื่องน้ำนั้นจะเป็นหนึ่งในปัญหาหลักๆของความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ

    “ทุกๆคนนั้นเห็นด้วยมากพอตัวว่าน้ำนั้นเป็นตัวสำคัญในการที่ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศนั้นจะมีผลกระทบต่อระบบนิเวศน์และมนุษย์ทุกคน” Kathleen Miller ,นักวิทยาศาสตร์ใน National Center for Atmospheric Research ในรัฐ Colorado กล่าว “มันเป็นหนึ่งในสิ่งสำคัญหลายๆอย่างที่เราพึ่งพาอาศัยอยู่”

    Miller ได้กล่าวถึงแม่น้ำในเอเซียเช่น แม่โขง ในฐานะของหนึ่งในพื้นที่ๆเรื่องน้ำท่วมนั้นเป็นความกังวลที่เพิ่มขึ้น

    “สถานที่เหล่านั้นจะมีความเสี่ยงสูงขึ้นมากในอนาคต” Miller กล่าว

    ในอเมริกานั้น “ ความเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาตินั้นจะรุนแรงพอสมควร” Miller กล่าว “ มีความเป็นไปได้ที่ทางตะวันตกนั้นจะแห้งแล้งขึ้น”

    IPCC , ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลปี 2007 ร่วมกับรองประธานาธิบดีคนก่อนของสหรัฐอเมริกา อัล กอร์นั้น วางแผนที่จะทำรายงานการประเมินผลสภาพภูมิอากาศครั้งต่อไปให้เสร็จสิ้น ซึ่งเป็นชิ้นที่ห้านับตั้งแต่ปี1990 ภายในปี 2014

    ซึ่งตามรายงานของ IPCC นั้น มีการพยากรณ์สภาวะของจากปัจจุบันไปถึงอีกจนถึงปี 2200 ด้วย ซึ่งเขาได้เขียนรายละเอียดไว้ดังนี้

    2008: การผลิตน้ำมันของทั้งโลกนั้นขึ้นถึงจุดสูงสุดในระหว่างปี 2008 และ 2018, กระตุ้นให้เกิดภาวะตกต่ำทางเศรษฐกิจโลก การขาดแคลนอาหารและความขัดแย้งระหว่างนานาประเทศในเรื่องเสบียงที่พร่องลง

    2020: น้ำท่วมฉับพลันได้เพิ่มขึ้นทั่วยุโรป ปริมาณน้ำฝนที่ลดน้อยลงได้ลดทอนพืชผลการเกษตรถึง 50% ในบางพื้นที่ จำนวนประชากรได้ไปถึง 7.6 พันล้านคน

    2030: ปะการังมากถึง 18% ได้สาปสูญไปสืบเนื่องมาจากความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อมอื่นๆ

    2040: ทะเลที่อยู่ใกล้บริเวณขั้วโลกเหนือนั้นปราศจากน้ำแข็งในฤดูร้อน และความลึกของน้ำแข็งในฤดูหนาวนั้นลดตัวลงอย่างรุนแรง บางคนกล่าวว่าเรื่องนี้จะไม่เกิดขึ้นจนกระทั่งปี 2060 ถึง 2105

    2050: ธารน้ำแข็งใหญ่นั้นหดตัวลง 30 ถึง 70 เปอร์เซนต์ในขณะที่หนึ่งในสี่ของพืชและสัตว์ชนิดมีกระดูกสันหลังนั้นเผชิญกับการสูญพันธุ์

    2070: เมื่ออุ่นขึ้น , สภาพแห้งแล้งมากขึ้นนำไปสู่ความแห้งแล้งที่ถี่และยาวนานขึ้น , ปริมาณการผลิตกระแสไฟฟ้าสำหรับโรงไฟฟ้าพลังงานน้ำที่ยังคงมีอยู่ในโลกนั้นลดลง

    2080: ประชากรระหว่าง 1.1 และ 3.2 พันล้านคนประสบกับการขาดแคลนน้ำและอีกถึงหกร้อยล้านคนพบกับความหิวโหย
    2085: ความเสี่ยงของโรคไข้เลือดออกจากความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมเพิ่มขึ้นจนถึง 3.5 พันล้านคน

    2100: หนึ่งในสี่ของพันธุ์พืชและสัตว์บก -- รวมแล้วมีปริมาณมากกว่าหนึ่งล้านนั้น -- พบกับการสูญพันธุ์

    2200: หนึ่งวันของโลกนั้นจะสั้นลง 0.12 milliseconds (หนึ่งในพันของหนึ่งวินาที) , ในขณะที่อุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้นนั้นทำให้มหาสมุทรนั้นขยายตัวขึ้นสู่ขั้วโลกทั้งสอง ทำให้การหมุนรอบตัวเองของโลกเร็วขึ้น



    แหล่งที่มา : http://news.aol.com/story/_a/scient...09990001?icid=100214839x2500160571x2500101471
     
  10. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    นักสิ่งแวดล้อมทางทะเลระบุแนวโน้มปะการังลดลง

    นักสิ่งแวดล้อมทางทะเลระบุ แนวปะการังธรรมชาติมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ เนื่องจากผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD height=5></TD></TR>



    <!-- Show Image -->
    [​IMG]


    <!-- End Show Image -->


    </TBODY></TABLE>


    ในการประชุมเรี่อง ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกที่มีต่อแนวปะการังที่สำนักงานธนาคารโลก ประจำประเทศไทย เจ้าหน้าที่สิ่งแวดล้อมอาวุโส มาเรีย ฮัทซิโอโรซ กล่าวว่า ใน 10 ปีข้างหน้า ปะการังแข็งจะลดจำนวนลงมาก เพราะก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่มนุษย์ปล่อยสู่บรรยากาศ ส่วนหนึ่งจะถูกดูดซับลงในมหาสมุทรทำให้น้ำทะเลมีสภาวะเป็นกรด ขัดขวางการเจริญเติบโตของปะการัง

    นายปิ่นสักก์ สุรัสวดี ผู้อำนวยการส่วนอนุรักษ์และฟื้นฟู สำนักอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งกล่าวว่า แนวปะการังธรรมชาติของไทยเสื่อมโทรมลงมากถึงร้อยละ 40

    การสร้างแนวปะการังเทียมจึงมีความสำคัญมากขึ้น เพราะจะช่วยให้สัตว์น้ำมีแหล่งอาศัย วางไข่ เลี้ยงลูกวัยอ่อนเพิ่มขึ้นและตัวอ่อนปะการังจะมาเกาะเจริญเติบโตต่อไป

    โดยทีมข่าว INN News <!-- Show Date -->20 เมษายน 2551 12:58:55 น. [​IMG] <!-- End Show Date -->
     
  11. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>พายุถล่มพิจิตรบ้านเสียหายกว่า 500 หลัง จังหวัดเร่งช่วยเหลือด่วน</TD><TD vAlign=baseline align=right width=85>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>23 เมษายน 2551 13:56 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>พิจิตร – ผู้ว่าฯ พิจิตรลงพื้นที่มอบวัสดุก่อสร้างแก่ชาวบ้านที่เดือดร้อนหลังพายุฝนพัดกระหน่ำบ้านเรือนเสียหายกว่า 500 หลังคาเรือน ในพื้นที่ 5 อำเภอ

    วันนี้ (23 เม.ย.) นายปรีชา เรืองจันทร์ ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร เดินทางลงพื้นที่ตรวจความเสียหาย หลังจากที่เกิดพายุพัดกระหน่ำบ้านเรือนประชาชนในเขตพื้นที่ 5 อำเภอของจังหวัดพิจิตรและส่งผลให้เกิดความเสียหายแก่บ้านเรือนประชาชน สวนไม้ผล คอกปศุสัตว์ เป็นบริเวณกว้าง

    นายปรีชา เปิดเผยว่า จากการสำรวจพบบ้านเรือนถูกลมพายุฤดูร้อนพัดหลังคาและฝาบ้านพังเสียหายในพื้นที่อำเภอเมือง 25 หลังคาเรือน อ.วังทรายพูน 125 หลังคาเรือน อ.สากเหล็ก 26 หลังคาเรือน อ.ตะพานหิน 195 หลังคาเรือน และ อ.ทับคล้อ 290 หลังคาเรือนรวมมีบ้านเรือนเสียหายประมาณ 500 กว่าหลังคาเรือน

    ผู้สื่อข่าวรายงานว่า นายปรีชาพร้อมด้วย นางปิยะธิดา เรืองจันทร์ นายกเหล่ากาชาดจังหวัดพิจิตรได้มอบข้าวสารอาหารแห้ง วัสดุก่อสร้าง สังกะสีให้แก่ประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนที่บ้านหนองโสน ม.10 ต.หนองปล้อง อ.วังทรายพู จ.พิจิตร เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนและเร่งซ่อมแซมบ้านเรือนอย่างเร่งด่วนด้วย

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=102 height=25>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/TabGalleryUBG.gif height=25>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=11 height=25>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle height=7>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ede9e8><TABLE cellSpacing=8 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width="33%"> </TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle width="33%"> </TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle> </TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width="33%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle width="33%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle width="33%"></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=baseline align=middle width="33%"></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=baseline align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width="33%"> </TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle width="33%"> </TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle> </TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width="33%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle width="33%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle width="33%"></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=baseline align=middle width="33%"></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=baseline align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width="33%"> </TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle width="33%"> </TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9510000047430
     
  12. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <big>2008-04-24 04:13:42 - Biological Hazard - New Zealand</big>

    <code> GLIDE CODE: BH-20080424-16456-NZL
    Date & Time: 2008-04-24 04:13:42 [UTC]
    Area: New Zealand, , Baylys Beach, Near Dargaville

    Description:

    The Department of Conservation says it is rare for sea snakes to wash up in our waters. DOC is dealing with a poisonous yellow bellied sea snake found on Baylys Beach, near Dargaville. Its discovery prompted local police to cordon off the area. Although potentially lethal, the snakes are not considered aggressive. DOC biosecurity manager Joanne Perry says the snake has most likely come to New Zealand with currents from somewhere in the Pacific. She says it is not a very common occurrence as DOC might only get one or two reports a year. Ms Perry says few sea snakes survive long in New Zealand's cold waters. Biosecurity New Zealand says the snake is nothing to be concerned about. Spokeswoman Lesley Patston says the fact the snake got to New Zealand on its own means it is not a biosecurity issue.

    Damage level: Moderate (Level 2)</code>
     
  13. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    ก๊าซเรือนกระจก,ทั้งคาร์บอนไดออกไซด์และมีเทน
    เพิ่มสูงขึ้นมากในปีที่ผ่านมา

    เฉพาะปีที่แล้วระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศของโลกซึ่งเป็นตัวพลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกนั้นได้เพิ่มขึ้นมา 6 เปอร์เซนต์โดยประมาณ หรือ 19 พันล้านตัน ยิ่งไปกว่านั้นระดับของมีเทนก็เพิ่มขึ้นมาประมาณ 27 ล้านตันหลังจากเป็นเวลาเกือบสิบปีที่มีการเพิ่มขึ้นเล็กน้อยหรือไม่มีเลย วันนี้ นักวิทยาศาสตร์จาก NOAA [ National Oceanic and Atmospheric Admisnistration ] ได้ปล่อยข่าวดังกล่าวและการค้นพบในขั้นต้นอื่นๆในฐานะส่วนหนึ่งของการอัพเดทข้อมูลแก่ดัชนีก๊าซเรือนกระจกประจำปีขององค์การเองซึ่งได้ติดตามข้อมูลจาก 60 สถานที่รอบโลก

    การเผาไหม้ของถ่าน,น้ำมัน และ ก๊าซ ที่รู้จักกันในชื่อเชื้อเพลิงฟอสซิลนั้น เป็นต้นกำเนิดหลักของการปล่อยก๊าซมลพิษคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มสูงขึ้น มหาสมุทรของโลก,พืชพันธุ์ต่างๆรวมถึงดินนั้นซึมซับสารที่แผ่ออกมาเหล่านี้ครึ่งหนึ่ง ส่วนที่เหลือจากการซึมซับดังกล่าวนั้นจะยังอยู่ในอากาศเป็นเวลานับศตรวรรษหรือนานกว่านั้น 20เปอร์เซนต์ของมลพิษจากเชื้อเพลิงฟอสซิลของคาร์บอนไดออกไซด์ในปี 2007 นั้นคาดว่าจะยังคงเหลือตกค้างอยู่ในชั้นบรรยากาศนับพันๆปีโดยอ้างอิงจากการประเมิณผลทางวิทยาศาสตร์ครั้งล่าสุดโดยคณะกรรมการด้านการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศนานาชาติ

    หากมองอีกทางหนึ่ง,การเพิ่มขึ้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในปีที่แล้วนั้นหมายถึง 2.4 โมเลกุลของก๊าซนั้นถูกเพิ่มเข้าไปในทุกๆหนึ่งล้านโมเลกุลของอากาศ, เพิ่มความหนาแน่นทั้งโลกขึ้นจนถึงเกือบ 385 ppm ( parts per million ) โดยในยุคก่อนช่วงอุตสาหกรรมนั้นระดับของคาร์บอนไดออกไซด์จะแกว่งไปมาอยู่แถวๆ 280 ppm จนกระทั่งปี 1850 และการกระทำของมนุษย์ก็ได้พลักระดับเหล่านั้นขึ้นไปจนถึง 380ppm ประมาณช่วงต้นปี 2006

    อัตราการเพิ่มขึ้นในความหนาแน่นของคาร์บอนไดออกไซด์นั้นได้สูงขึ้นในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาพร้อมๆกับมลพิษของเชื้อเพลงฟอสซิล ตั้งแต่ปี 2000, การเพิ่มขึ้นประจำปีของ 2 ppm หรือมากกว่านั้นถือว่าเป็นเรื่องปกติเมื่อเทียบกับ 1.5 ppm ต่อปีในช่วง 1980 และน้อยกว่า 1ppm ระหว่างช่วงปี 1960

    ระดับของมีเทนนั้นได้เพิ่มขึ้นในปีที่แล้วเป็นครั้งแรกตั้งแต่ปี 1998 โดยมีเทนนั้นมีผลรุนแรงในฐานะก๊าซเรือนกระจกกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ถึง 25 เท่า แต่มันมีจำนวนอยู่ในชั้นบรรยากาศน้อยกว่ามากนัก ซักประมาณ 1800 ส่วนต่อพันล้าน ( parts per billion ) ได้ เมื่อโยงผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศเข้ามาคิดแล้ว ผลกระทบของมีเทนที่มีต่อสภาพภูมิอากาศทั้งหมดนั้นมีผลเกือบครึ่งหนึ่งของคาร์บอนไดออกไซด์

    กระบวนการสร้างความเป็นอุตสาหกรรมที่เพิ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในแถบเอเชียและการเพิ่มสูงขึ้นของมลพิษจากพื้นที่ๆมีน้ำท่วมขังในบริเวณขั้วโลกเหนือและพื้นที่เขตร้อนนั้นมีแนวโน้มสูงสุดที่จะเป็นสาเหตุของการเพิ่มขึ้นของมีเทนในระยะนี้ , Ed Dlugokencky นักวิทยาศาสตร์จาก NOAA’s Earth System Research Laboratory กล่าว “พวกเรากำลังอยู่ระหว่างการเฝ้าดูสัญญาณแรกของการปลดปล่อยมีเทนจากพื้นที่ๆเป็นน้ำแข็งตลอดปี (Permafrost) ในบริเวณขั้วโลกเหนือที่กำลังละลาย” Dlugokencky กล่าว “มันยังเร็วไปที่เราจะบอกว่าการพุ่งขึ้นของมลพิษในปีที่แล้วนั้นจะรวมถึงการเริ่มขึ้นของเรื่องดังกล่าวด้วยหรือไม่”

    Permafrost, หรือพื้นที่ๆเป็นน้ำแข็งถาวรนั้นได้กักเก็บคาร์บอนอยู่อย่างมหาศาล ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ก็กังวลว่าถ้าบริเวณขั้วโลกเหนือนั้นยังคงอุ่นอยู่และพื้นที่ๆเป็นน้ำแข็งละลายไปแบบนี้แล้วคาร์บอนอาจจะซึมหรือรั่วไหลสู่ชั้นบรรยากาศในรูปแบบของมีเทนซึ่งอาจไปกระตุ้นวัฏจักรการปลอดปล่อยคาร์บอนและทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นได้



    [​IMG]

    การเพิ่มขึ้นของความหนาแน่นของคาร์บอนไดออกไซด์ทั้งโลกในปี 2007 นั้นผูกอยู่กับ ปี 2005 ในฐานะจุดสูงสุดที่สามตั้งแต่การวัดค่าชั้นบรรยากาศเริ่มขึ้นในปี 1958 ซึ่งเส้นสีแดงแสดงให้เห็นถึงการทิศทางที่เป็นไปพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล และเส้นสีดำก็บ่งชี้ถึงทิศทางที่เกิดขึ้นเมื่อไม่คำนึงถึงวัฏจักรของฤดูกาล ( ภาพจาก NOAA )









    ที่มา : http://www.sciencedaily.com/releases/2008/04/080423181652.htm
     
  14. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • คาดน้ำแข็งขั้วโลกเหนือจะเหลือน้อยที่สุดในปีนี้[​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%">
    </td> <td width="92%">โดย สำนักข่าวไทย [ 01-05-2551 | 10:40:20 น. ]</td> </tr> <tr> <td>
    </td> <td>
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top">
    </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%">
    </td> <td width="93%"> วอชิงตัน 1 พ.ค. - นักวิทยาศาสตร์คาดการณ์ว่า น้ำแข็งขั้วโลกเหนือที่ช่วยปรับ ผลกระทบของสภาพอากาศโลก จนบางครั้งได้รับการเปรียบเทียบเป็น เครื่องปรับอากาศของโลก จะลดลงจนเหลือน้อยที่สุดเป็นประวัติการณ์ในปีนี้
    นายเชลดอน โดรบอท นักวิจัยสภาพอากาศของมหาวิทยาลัยโคโลราโด ที่เมืองโบลเดอร์ และคณะ ชี้ว่า การเปลี่ยนแปลงของน้ำแข็งที่ขั้วโลกเหนือ จะเป็นหนึ่งในสัญญาณ ของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่เห็น ได้ชัดเจนที่สุดอย่างหนึ่ง หากการคาดการณ์นี้เป็นจริง ก็จะเป็นครั้งที่ 3 ในรอบ 5 ปี ที่น้ำแข็งขั้วโลกเหนือ ลดลงเหลือน้อยที่สุด อันเป็นผลจากอุณหภูมิโลกสูงขึ้น คณะนักวิจัยพยากรณ์โดยอ้างข้อมูลจากดาวเทียม และการบันทึกอุณหภูมิว่า มีโอกาสร้อยละ 59 ที่พื้นที่น้ำแข็งขั้นต่ำประจำปีจะลดลงอีกในปีนี้
    น้ำแข็งขั้วโลกเหนือลดลงราวร้อยละ 10 ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา โดยเมื่อปี 2550 เหลือพื้นที่น้ำแข็งขั้นต่ำเพียง 4.1 ล้านตารางกิโลเมตร ถือว่าน้อยที่สุด เป็นประวัติการณ์ และลดลงจากสถิติเดิมเมื่อปี 2548 ถึง 1.1 ล้านตารางกิโลเมตร น้ำแข็งขั้วโลกเหนือในปัจจุบันบางลงและมีอายุน้อยลงกว่าแต่ก่อน ส่งผลให้ละลายเร็ว และเหลือน้อยลง หากยังคงลดลงไปเรื่อย ๆ จะเป็นอันตรายต่อการดำเนินชีวิต ของหมีขั้วโลก วอลรัส และแมวน้ำ แต่หากมองในเชิงพาณิชย์แล้ว น้ำแข็งขั้วโลกเหนือ ที่ละลายมากขึ้นและกินเวลานานขึ้น จะช่วยให้การเดินเรือระหว่างยุโรป และอเมริกาเหนือ เสียค่าใช้จ่ายลดลง</td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  15. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <TABLE class=news2006_topic cellSpacing=0 cellPadding=0 width=595 border=0><TBODY><TR><TD width=585 height=10><TABLE class=news2006_topic width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left>ภาวะโลกร้อน ทำน้ำแข็งในทะเลบอลติคมีปริมาณต่ำสุดในรอบ100ปี

    </TD><TD align=right width=100></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=news2006_graylight height=10>โดย INN News<SCRIPT language=JavaScript src="/global_js/global_function.js"></SCRIPT> <!--START-->วัน เสาร์ ที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 00:00 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=595 border=0><TBODY><TR><TD height=10></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=news2006_black cellSpacing=0 cellPadding=0 width=595 border=0><TBODY><TR><TD width=10 rowSpan=4></TD><TD width=575>สวีเดนเผย ปริมาณน้ำแข็งในทะเลบอลติคลดต่ำลงมากที่สุดในรอบ 100 ปี

    [​IMG]สำนักงานอุตุนิยมวิทยาแห่งชาติของสวีเดน หรือ SMHI รายงานว่า ผลการตรวจสอบปริมาณของน้ำแข็งในทะเลบอลติคครั้งล่าสุด ปรากฏว่า ปริมาณของน้ำแข็งในทะเลบอลติคได้ลดจำนวนลงจนน่าตกใจ โดยมีปริมาณน้อยที่สุดในรอบ 100 ปี หรือน้อยที่สุดในรอบศตวรรษ

    นอกจากนั้น ข้อมูลจากการลงพื้นที่สำรวจของทีมนักวิจัยยังพบว่า น่านน้ำที่อยู่บริเวณตอนใต้ของอ่าวบอธเนีย (Gulf of Bothnia) ซึ่งเคยมีน้ำแข็งปกคลุมมาโดยตลอดทุกปี กลับไม่มีน้ำแข็งปกคลุมเลยในช่วงฤดูหนาวที่ผ่านมา

    ขณะเดียวกัน บริเวณ อ่าวฟินแลนด์ ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของทะเลบอลติค ก็มีน้ำแข็งปกคลุมอยู่น้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงฤดูหนาวของปีก่อนหน้านั้น

    ทั้งนี้ สำนักงานอุตุนิยมวิทยาแห่งชาติของสวีเดน ชี้ว่า ปรากฏการณ์ที่ทำให้ปริมาณน้ำแข็งลดจำนวนลงอย่างน่าตกใจในครั้งนี้ เกิดขึ้นจากผลของสภาวะโลกร้อน พร้อมเรียกร้องให้ประเทศต่างๆ ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกออกสู่ชั้นบรรยากาศอย่างจริงจัง
    <!--END--><!--PICLIST--></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  16. ปาฏิหาริย์

    ปาฏิหาริย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2006
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +3,516
    ผมเพิ่งกลับจากเนปาล
    ได้คุยกับเจ้าหน้าที่ของยูเอ็นที่นั่น เกื่ยวกับสภาวะโลกร้อน
    ถึงแม้ เนปาล สิกขิม ภูฎาน จะเป็นประเทศที่อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลมาก
    ซึ่งคนส่วนใหญ่คิดว่าไม่น่าจะมีปัญหาอะไร
    แต่จริงจริงแล้ว
    ธารน้ำแข็งของหิมาลัย ละลายหายไป เฉยเฉย
    จนเกิดอุทกภัยเพราะ เขื่อนทะเลสาบที่กักน้ำบนยอดเขาพังลงมา
    ซึ่งทางเจ้าหน้าที่ บอกว่ายังโชคดี
    ถ้าไปเกิดที่ทะเลสาบที่สูงกว่า ที่มีหลายระดับถัดไป
    และพังทลายต่อกัน ต่อเนื่องเป็นลูกโซ่
    ผลกระทบที่เกิดคงเลวร้ายกว่านี้มากครับ
     
  17. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • สัตว์ป่าเขตร้อนจะเดือดร้อนที่สุด เพราะการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ[​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย สำนักข่าวไทย [ 06-05-2551 | 09:51:18 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> วอชิงตัน 6 พ.ค.- นักวิทยาศาสตร์ชี้ว่า สัตว์ป่าเขตร้อนจะได้รับความเดือดร้อนมากที่สุด จากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ หากอุณหภูมิโลกสูงขึ้นอีกเล็กน้อยในถิ่นที่อยู่อาศัยที่ร้อนอยู่แล้ว
    นายเคอร์ติส ดอยท์ช นักวิจัยมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียในสหรัฐเผยว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศจะส่งผลต่อหมีและสิ่งมีชีวิตขั้วโลก เพราะคาดกันว่า อุณหภูมิจะสูงขึ้นอย่างรุนแรงที่สุดถึง 10 องศาเซลเซียส ภายในสิ้นศตวรรษนี้ แต่เนื่องจากขั้วโลกเหนือและใต้ มีสัตว์ป่าน้อยกว่าเขตร้อนที่มีอุณหภูมิสูงอยู่แล้ว ดังนั้นสัตว์ป่าในเขตร้อนจึงเสี่ยงอันตรายอย่างยิ่ง แม้อุณหภูมิเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเพียง 3 องศาเซลเซียส เขาและคณะศึกษาเพื่อหาความเป็นไปได้ว่า จะเกิดอะไรขึ้นกับ สัตว์เลือดเย็น เขตร้อนในอีก 100 ปีข้างหน้าหากการคาดการณ์เรื่องโลกร้อนเป็นจริง สาเหตุที่เลือกสัตว์เลือดเย็นซึ่งได้แก่แมลงและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เพราะสัตว์เลือดอุ่น สามารถปรับเปลี่ยนอุณหภูมิในร่างกาย ไปตามสภาพอากาศที่ร้อนและเย็นได้ แต่สัตว์เลือดเย็นทำได้เพียงหลบเข้าที่ร่ม เมื่อร้อนและออกไปโดนแดดเมื่อหนาว ผลการศึกษาคาดว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ จะทำให้ประชากรสัตว์เลือดเย็นลดลงอย่างรวดเร็ว เพราะตาย และมีอัตราการสืบพันธุ์ลดลง ไม่เช่นนั้นก็จะต้องอพยพหนีขึ้นที่สูง มุดลงรู หรือปรับตัวให้ทนอากาศร้อนจึงจะรอดได้ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว จะส่งผลใหญ่หลวงต่อมนุษย์ในเขตร้อน เพราะแมลงมีบทบาทสำคัญด้านการเกษตร และย่อยสลายอินทรีย์สารให้เป็นสารอาหารสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตอื่น</td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  18. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td colspan="3">
    • ชี้การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศทำให้โลกยิ่งต้องเพิ่มผลผลิต ด้านอาหาร
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="8%"> </td> <td width="92%">โดย สำนักข่าวไทย [ 05-05-2551 | 13:35:19 น. ]</td> </tr> <tr> <td> </td> <td> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td valign="top"> </td> <td colspan="2" valign="top"><table border="0" bordercolor="#666666" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="2%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="93%"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="7%"> </td> <td width="93%"> สิงคโปร์ 5 พ.ค. - นักวิทยาศาสตร์ระบุว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ จะทำให้เกษตรกรทั่วโลกต้องเร่งเพิ่มผลผลิตอาหาร ด้วยการปรับเปลี่ยนวิธีการเพาะปลูกขนานใหญ่ ทั้งการรับมือกับภัยธรรมชาติเรื่องภาวะน้ำท่วมและแห้งแล้งรุนแรง การปลูกพืชหลากหลายสายพันธุ์ ที่ทนทานต่อสภาพอากาศ และการเตรียมพร้อมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน
    ลิซา เอนส์เวิร์ธ นักชีววิทยาสังกัดกระทรวงเกษตรสหรัฐ ชี้ว่า ปัญหาใหญ่ในอนาคต คือ เรื่องอุณหภูมิและเรื่องน้ำ โดยยกตัวอย่างว่า อุณหภูมิที่สูงขึ้นในอนาคต อาจเป็นผลดีต่อพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ที่มีอุณหภูมิหนาวเย็น มีฤดูเพาะปลูกสั้น และมีน้ำน้อย แต่ขณะเดียวกันจะทำให้ผลผลิตทางตอนใต้ของประเทศ ที่มีอุณหภูมิค่อนข้างสูงอยู่แล้วได้รับความเสียหาย
    ปัญหาอีกอย่างหนึ่ง คือ เรื่องมลภาวะที่ทำให้โอโซนระดับพื้นดินซึ่งเป็นก๊าซพิษมีมากขึ้น ส่งผลให้ผลผลิตลดลง ปัญหานี้เกิดขึ้นแล้วในจีนและอินเดีย ซึ่งมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวสำคัญหลายแห่ง ดังนั้น เกษตรกรต้องเร่งปรับตัวเรื่องสายพันธุ์พืช ที่จะปลูกในอนาคตให้มีความหลากหลาย เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ
    ด้านนายไรเนอร์ วาสมานน์ จากสถาบันวิจัยข้าวระหว่างประเทศ (อีร์รี) คาดว่า สภาพอากาศโลก มีแนวโน้มจะเกิดความสุดขั้วมากขึ้นกว่าปัจจุบัน บางพื้นที่อาจแล้งจัด บางพื้นที่อาจน้ำท่วม และบางพื้นที่อาจประสบภัยทั้ง 2 อย่าง ดังนั้น ลำพังการปรับปรุงสายพันธุ์พืชอาจไม่เพียงพอ แต่ต้องเร่งปรับปรุงการบริหารจัดการการเพาะปลูก และเทคนิคการใช้น้ำให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
    ประมาณกันว่า ความต้องการธัญพืชทั่วโลกภายในปี 2593 จะเพิ่มขึ้นจากปัจจุบันอีกร้อยละ 50 เพราะประชากรโลกจะเพิ่มขึ้นจาก 6,600 ล้านคน เป็น 9,000 ล้านคน ความต้องการอาหารที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ และความผันผวนด้านผลผลิต จะยิ่งทำให้ราคาอาหารโลกที่แพงอยู่ในขณะนี้มีความผันผวนมากยิ่งขึ้น
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  19. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>กางผลวิจัยฝ่ามายาคติ‘โลกร้อน’ - ชี้ฝีมือ”มนุษย์”ตัวการทำลายชายฝั่ง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>8 พฤษภาคม 2551 09:46 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=250 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=250>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ชายหาดปากพนัง 2 ภายหลังมีการก่อสร้างเขื่อนกันทรายปากคลองพังกาด (ในวงกลม) ส่งผลให้พื้นที่ชายหาดด้านเหนือของเขื่อนถูกคลื่นกัดเซาะได้รับความเสียหายอย่างหนัก จนต้องมีการสร้างเขื่อนกันคลื่นมาป้องกันไว้ </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> รายงาน 3 ตอนจบ-ชายฝั่งทะเลไทยพินาศฝีมือใคร (จบ)

    ศูนย์ข่าวหาดใหญ่
    – ฝ่าหมอกควันทางวิชาการที่อ้างภาวะ “โลกร้อน” เป็นสาเหตุให้เกิดวิกฤตคลื่นกลืนกินแผ่นดินชายฝั่ง ซึ่งยังความสูญเสียไปแล้วมูลค่าหลายล้านล้านบาท อีกทั้งยังสร้างความตื่นตระหนกว่าค่อนแผ่นดินไทยจะจมไปนอนอยู่ใต้ท้องทะเล เหลือไว้แต่เพียงพื้นที่ในภาคเหนือเท่านั้น เผยมีผลวิจัยของนักวิชาการหลายสำนัก ทั้งไทยและเทศ อีกทั้งสอดรับกับนักสมุทรศาสตร์รั้ว มอ.หาดใหญ่ ที่ออกมาชี้ชัดว่า แท้จริงแล้ว “สิ่งปลูกสร้างรุกล้ำชายหาด” จากฝีมือรัฐ คือตัวการสำคัญที่ก่อมหันตภัยต่อแผ่นดินชายฝั่งทั่วไทย

    จากข้อมูลทางวิชาการที่ระบุว่า ช่วง 30 ปีมานี้ ประเทศไทยต้องสูญเสียผืนแผ่นดินไปกับปัญหาคลื่นกัดเซาะชายฝั่งทะเลไปแล้วกว่า 1 แสนไร่ คิดเป็นเฉพาะมูลค่าที่ดินที่เสียหายไปราว 1 แสนล้านบาท ขณะที่นักเศรษฐศาสตร์กำลังศึกษาวิจัยหามูลค่าความเสียหายที่แท้จริงให้ครอบคลุมในทุกๆ ด้านอยู่ในเวลานี้ โดยใช้ทฤษฎีที่เป็นที่ยอมรับและยกกรณีที่เกิดกับต่างประเทศมาเปรียบเทียบ ซึ่งมูลค่าความเสียหายอาจเพิ่มสูงขึ้นได้เป็นนับหลายล้านล้านบาท ตามที่ “ผู้จัดการายวัน” ได้นำเสนอไปแล้วนั้น

    เกี่ยวกับปรากฏคลื่นกัดเซาะชายฝั่งที่เกิดขึ้นนี้ ภาวะวิกฤตโลกร้อนที่กำลังเป็นที่ตื่นตระหนกไปทั้งโลกได้ถูกนำมาพูดถึงอย่างเคร่งเครียดในหลายๆ เวที ที่ผ่านมาถึงขั้นสร้างความหวาดวิตกให้กับคนไทยไม่น้อยว่า แผ่นดินทั้งหมดของภาคใต้ ภาคกลาง ตะวันออกและบางส่วนของภาคอีสานจะจมไปอยู่ใต้ท้องทะเลในอีกไม่กี่ปีข้างหน้านี้ จนเกิดปรากฏการณ์เสมือนยุดตื่นทองที่ผู้คนแห่ไปหาซื้อที่ดินเพื่อตั้งรกรากใหม่ในภาคเหนือ โดยเฉพาะใน จ.เชียงใหม่และ จ.เชียงรายราคาที่ดินบูมแบบสุดๆ เพื่อเตรียมการสำหรับเผชิญกับภาวะน้ำท่วมโลก ตามคำพยากรณ์ของนักวิชาการบางคน

    ยิ่งปัจจุบันสภาพชายหาดของประเทศไทยถูกกัดเซาะเสียหายอย่างรุนแรงและหนักหน่วง โดยเฉพาะในช่วงฤดูมรสุม ก็ยิ่งเร้าให้ภาวะวิกฤตโลกร้อนกลายเป็นประเด็นที่สังคมกำลังหวาดวิตกยิ่งขึ้น มีการหยิบยกหัวข้อนี้ไปพูดคุยแสดงความคิดเห็นกันอย่างกว้างขวาง หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนต่างออกมารณรงค์ให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคเพื่อลดปัญหาโลกร้อน โดยนัยว่าชะลอการละลายของน้ำแข็งขั้วโลก ยับยั้งภาวะน้ำทะเลกลืนกินชายหาด ซึ่งสังคมส่วนหนึ่งกำลังหวั่นวิตกอย่างหนัก

    แต่จากการศึกษาของนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญในเรื่องน้ำคือ ศ.ดร.สุภัทท์ วงศ์วิเศษสมใจ จากคณะวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ได้เปิดเผยว่า จากการวิเคราะห์ระดับน้ำทะเลที่บริเวณสันดอนกรุงเทพฯ ที่ จ.สงขลา ที่เกาะหลัก จ.ประจวบคีรีขันธ์ และที่ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ย้อนหลังไปถึงปี 2483-2539 พบว่าระดับน้ำทะเลเฉลี่ยลดลงด้วยอัตรา 0.36 มิลลิเมตรต่อปี หรือ 3.6 เซนติเมตรต่อ 100 ปี อีกทั้งเมื่อตรวจสอบข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยา ทั้งอุณหภูมิและปริมาณน้ำฝน พบว่า ในช่วงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม 2494-2546 ไม่พบการเปลี่ยนแปลงแต่อย่างใดเช่นกัน

    อีกทั้งยังมีงานวิจัยเมื่อปี 2521 ของนักวิชาการชื่อ Clark และคณะ จัดกลุ่มให้อ่าวไทย อินโดจีน เกาหลี และญี่ปุ่น อยู่ในกลุ่มที่ 4 ซึ่งได้รับอิทธิพลน้อยมากจากหิมะขั้วโลกละลายและการขยายตัวของน้ำทะเล ในทางกลับกันงานวิจัยของ Gregory เมื่อปี 2536 ชี้ว่า ปรากฏการณ์เอลนิโญและแผ่นดินไหวส่งผลให้น้ำทะเลในพื้นที่ดังกล่าวลดลง 0-50 มิลลิเมตรในห้วง 75 ปีด้วย

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=right border=0><TBODY><TR><TD width=5>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=300 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>หลังจากมีการก่อสร้างเขื่อนกันทรายปากคลองนาทับ อ.จะนะ จ.สงขลา ทรายถูกคลื่นพัดพามาติดอยู่ด้านใต้เขื่อน ในขณะที่หาดทรายด้านเหนือของเขื่อนถูกคลื่นกัดเซาะเสียหายอย่างรุนแรง หน่วยงานรัฐกลับแก้ปัญหาด้วยการสร้างเขื่อนกันคลื่น แต่เขื่อนกันคลื่นก็กลับส่งผลกระทบต่อหาดทรายข้างเคียงอย่างต่อเนื่อง </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> “สิ่งที่ทำให้เกิดการกัดเซาะชายฝั่งอ่าวไทยในหลายๆ จุดนั้น เป็นเพราะการลดลงของโคลนตมและมวลทรายที่ไหลลงสู่ทะเล รวมทั้งการทรุดตัวของแผ่นดินเอง อันเนื่องจากการสูบน้ำบาดาลไปใช้ ไม่เกี่ยวกับการเพิ่มขึ้นของน้ำทะเล” ข้อมูลจากการศึกษาวิจัยของ ศ.ดร.สุภัทท์ วงศ์วิเศษสมใจ ระบุ

    นอกจากนี้ยังมีข้อมูลที่น่าสนใจของ น.ส.บุศราศิริ ธนะ นักวิชาการจากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งนำมาเปิดเผยบนเวทีสัมมนาวันสิ่งแวดล้อมโลก จัดโดยคณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ (มอ.หาดใหญ่) เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2550 ว่าด้วยปัญหาโลกร้อน : การปรับตัวให้เข้ากับสภาพโลกร้อนในปัจจุบัน พบว่า จากการประเมินค่าการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเลจากแบบจำลองโดยใช้ค่าความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจกในศตวรรษที่ 20 เพื่อประมาณค่าการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเลในศตวรรษที่ 21 พบว่า ตั้งแต่ปี ค.ศ.1900 ไปจนถึงปี ค.ศ.2100 ระดับน้ำทะเลจะเพิ่มขึ้นเพียงประมาณ 0.40 มิลลิเมตรเท่านั้น

    ดังจะเห็นได้ว่าต่อจากนี้ไปอีกเกือบ 100 ปี น้ำทะเลจะเพิ่มสูงขึ้นไม่ถึง 1 เซนติเมตร ซึ่งแทบจะไม่เห็นความเปลี่ยนแปลงใดๆ เลย นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญเรื่องน้ำและสิ่งแวดล้อมสรุปว่า ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากภาวะโลกร้อนน้อยมาก โดยเฉพาะเรื่องระดับน้ำ การที่น้ำทะเลจะท่วมพื้นที่ชายฝั่งของไทยในอนาคตค่อนข้างเป็นไปได้ยาก

    ฉะนั้นอะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้ชายฝั่งของไทยสูญหายไปกว่า 1 แสนไร่ และเกิดความเสียหายอย่างมหาศาลนับล้านล้านบาทในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมา เรื่องนี้นักวิชาการผู้ศึกษาเรื่องภาวะโลกร้อน ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องน้ำ ผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อม นักสมุทรศาสตร์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ตลอดจนหลายหน่วยงานรัฐล้วนทราบสาเหตุเป็นอย่างดีว่า ตัวเร่งที่สำคัญซึ่งนำมาสู่ความพินาศของชายหาดคือ “โครงสร้างทางวิศวกรรม” หรือสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ที่รุกล้ำชายหาดและริมฝั่งทะเล

    ในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมา มีการก่อสร้างโครงสร้างทางวิศวกรรมรุกล้ำพื้นที่ชายหาดในหลายๆ จุดตลอดริมชายฝั่งทะเลไทย ทั้งภาคตะวันออก กรุงเทพฯ อ่าวไทยและอันดามัน เช่น เขื่อนปากแม่น้ำ รอดักทราย ท่าเรือ เขื่อนกันคลื่น และกำแพงกันคลื่น ซึ่งผลกระทบที่เกิดจากสิ่งปลูกสร้างเหล่านี้เกิดขึ้นในหลายพื้นที่ เช่น กรณีคลื่นกัดเซาะพื้นที่ชายฝั่งด้านทิศเหนือของเขื่อนกันคลื่นที่สร้างโดย กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี ที่บ้านบ่อโชน อ.จะนะ จ.สงขลา ขณะนี้มีการฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายเป็นมูลค่าเกือบ 200 ล้านบาทต่อศาลปกครองสงขลา และศาลก็ได้ประทับรับฟ้องไปแล้วเมื่อไม่นานมานี้

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=300 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เขื่อนกันคลื่นลักษณะนี้ถูกสร้างขึ้นในหลายจังหวัดตามแนวชายฝั่งอ่าวไทย โดยใช้งบประมาณมหาศาล เพื่อแก้ปัญหาคลื่นกัดเซาะชายฝั่งที่มีจุดเริ่มจากการสร้างเขื่อนและรอดักทรายริมปากแม่น้ำ</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=5>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> เกี่ยวกับเรื่องนี้ รศ.ดร.สมบูรณ์ พรพิเนตพงศ์ นักสมุทรศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มอ.หาดใหญ่ อธิบายถึงสาเหตุที่สิ่งปลูกสร้างทำให้ชายฝั่งทะเลไทยพังพินาศย่อยยับในหลายพื้นที่ว่า หาดทรายเป็นรอยต่อระหว่างแผ่นดินกับน้ำ ดูเผินๆ เหมือนมีสภาพกึ่งแข็งกึ่งเหลว ธรรมชาติกำหนดให้ทำหน้าที่หลักเป็นเสมือนกำแพงกันคลื่นตามธรรมชาติ ป้องกันชายฝั่งที่เป็นแผ่นดินให้ปลอดภัยจากคลื่นลมที่มากระทบ เมื่อฝั่งมีความมั่นคงต้นไม้ก็งอกงาม แผ่นดินก็ขยายใหญ่ขึ้น แผ่นดินภาคใต้ของไทยเกิดจากความสมดุลระหว่างคลื่นลมและตะกอนทรายที่ไหลมาจากแม่น้ำลำธารลงสู่ชายฝั่ง

    “ขณะที่คลื่นในทะเลเคลื่อนที่เข้าหาฝั่งนั้น เมื่อมันมาถึงชายหาด คลื่นก็เริ่มไถลขึ้นไปตามความลาดของหาดทราย โดยหอบเอาเม็ดทรายเล็กๆ ไปด้วย เมื่อมันหมดแรงลงก็จะกองเม็ดทรายเหล่านั้นทิ้งไว้บนชายหาด คลื่นทำหน้าที่เช่นนี้ซ้ำแล้วซ้ำเล่าจนเกิดเป็นกองทรายชายหาด และในที่สุดหาดทรายก็แผ่ขยายใหญ่ขึ้น”

    รศ.ดร.สมบูรณ์ กล่าวว่า ในสถานะของความเป็นวัตถุกึ่งแข็งกึ่งเหลวของหาดทรายเหล่านี้ ทำให้มีความซับซ้อนมากทั้งในเชิงกายภาพและนิเวศวิทยา ซึ่งในทางวิชาการถูกจัดให้เป็นบริเวณที่เรียกว่า ช่วงรอยต่อหรือช่วงแปรเปลี่ยน (Transition Zone) นั่นคือไม่ควรที่ใครจะไปก่อความกระทบกระเทือน เพราะจะไม่สามารถอธิบายได้ว่าอะไรจะเกิดขึ้น และสิ่งที่เกิดขึ้นจะลุกลามรุนแรงไปแค่ไหน

    นักสมุทรศาสตร์จากรั้ว มอ.หาดใหญ่ กล่าวด้วยว่า กระแสน้ำที่เกิดจากการเหนี่ยวนำของคลื่นและลมที่กระทำต่อชายฝั่งอย่างต่อเนื่อง ทำให้ชายฝั่งอยู่ในสภาวะสมดุลพลวัต (dynamic equilibrium) ซึ่งหมายถึงสมดุลบนความเปลี่ยนแปลง ดังนั้นในการพิจารณาเสถียรภาพของแนวชายฝั่งจึงต้องมองภาพโดยเฉลี่ย เช่น ต่อฤดูกาลหรือต่อปี เพื่อดูว่าแนวชายฝั่งยังคงเดิมหรือไม่

    "การเปลี่ยนแปลงสภาพของชายฝั่งด้วยวิธีต่างๆ เช่น เขื่อนกันคลื่น เขื่อนกันทรายและคลื่น และคันดักทราย (รอ) สิ่งก่อสร้างต่างๆ เหล่านี้จะขัดขวางกระแสน้ำและการเคลื่อนที่ของตะกอนชายฝั่ง นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงสมดุลพลวัต ทำให้ชายฝั่งเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างใหม่ที่ไม่พึงประสงค์ สิ่งก่อสร้างชายฝั่งทำให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนการของชายฝั่ง กล่าวคือ เปลี่ยนแปลงพลังงานและทิศทางคลื่นที่เข้าสู่ฝั่ง เปลี่ยนแปลงอัตรา และกระบวนการเคลื่อนที่ของตะกอนชายฝั่ง"

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=right border=0><TBODY><TR><TD width=5>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=300 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>แผ่นดินที่เม็ดทรายเคยเรียงตัวเป็นแนวยาวตามชายฝั่ง บ้านบ่อโชน อ.จะนะ จ.สงขลา วันนี้ถูกคลื่นกัดกินกลายเป็นเหวลึก </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> รศ.ดร.สมบูรณ์ ให้รายละเอียดส่วนประกอบที่สำคัญของชายฝั่งทะเลไว้ด้วยว่า ประกอบด้วย 1. สันทรายริมหาด ซึ่งไม่ได้รับอิทธิพลโดยตรงจากคลื่น 2. ส่วนชายหาด ซึ่งเป็นบริเวณที่คลื่นไถลขึ้นไปถึง และ 3. ส่วนที่เป็นชายฝั่ง ซึ่งเป็นตำแหน่งที่นับจากคลื่นเริ่มแตก โดยอาจมีสันดอนทรายใต้น้ำทอดตัวขนานกับชายฝั่งเป็นแนวยาว

    "ช่วงมรสุมคลื่นลมจะแรงและจะกัดเซาะชายหาดออกไปเป็นแนวตรงดิ่ง เม็ดทรายจะถูกคลื่นหอบออกสู่ท้องทะเล แล้วเม็ดทรายเหล่านั้นก็จะถูกกวาดไปกองไว้กลายเป็นสันดอนใต้น้ำ แต่เมื่อลมสงบก็จะเกิดคลื่นที่ชาวบ้านเรียกกันว่า เดิ่ง หรือคลื่นหัวเดิ่ง ซึ่งจะพัดพาเม็ดทรายที่นำไปกองไว้เป็นสันทรายใต้น้ำกลับเข้าหาฝั่งอย่างช้าๆ และก่อตัวเป็นชายหาดดังเดิม" รศ.ดร.สมบูรณ์ กล่าวและเสริมว่า

    คลื่นที่เคลื่อนเข้าหาชายฝั่งจะทำมุมเอียงกับแนวชายฝั่ง ก่อให้เกิดกระแสน้ำที่ไหลเลาะไปตามแนวชายฝั่งและพัดพาเม็ดทรายให้เคลื่อนที่ไปด้วย ถ้ากระแสน้ำนี้ถูกขัดขวางโดยสิ่งก่อสร้างรุกล้ำชายฝั่ง เช่น คันดักทราย เขื่อนกันทรายและคลื่น หรืออะไรก็ตามในลักษณะเดียวกันนี้ น้ำที่ไหลมาบรรจบกันก็จะเลี้ยวเบนออกสู่ทะเล เรียกว่า rip current ซึ่งอันตรายต่อการเล่นน้ำตามแนวชายหาด

    “อย่างที่หาดเก้าเส้งและหาดสมิหลา อ.เมือง จ.สงขลา หรือกรณีการสร้างเขื่อนกันทรายและกันคลื่นที่บ้านนาทับ อ.จะนะ จ.สงขลา เป็นตัวอย่างการเคลื่อนที่ของตะกอนชายฝั่งตามธรรมชาติที่สอนให้เรารู้ว่า ชายฝั่งตอนล่างของอ่าวไทยมีความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงใดๆ ตามแนวชายฝั่ง ดังนั้นการสร้างสิ่งปลูกสร้างรุกล้ำชายฝั่งในบริเวณนี้ เช่น รอ เขื่อนกันทราย เขื่อนกันคลื่น กำแพงตลิ่ง เหล่านี้จะก่อให้เกิดการทับถมของทรายเป็นชายหาดใหม่ทางทิศใต้ และเกิดการกัดเซาะชายฝั่งจนแผ่นดินสูญหายในทางทิศเหนืออย่างรุนแรงและไม่มีที่สิ้นสุด”

    รศ.ดร.สมบูรณ์ กล่าวเสริมด้วยว่า โครงสร้างของสิ่งปลูกสร้างที่ทำขึ้นตลอดแนวชายฝั่งทะเลของไทยจำแนกออกได้เป็น 3 กลุ่มคือ 1. สิ่งปลูกสร้างที่ยื่นออกจากชายฝั่ง เช่น รอและเขื่อนกันทราย 2. สิ่งปลูกสร้างอยู่นอกชายฝั่ง เช่น เขื่อนกันคลื่น และ 3. สิ่งปลูกสร้างริมฝั่ง เช่น กำแพงตลิ่ง ซึ่งโครงสร้างของสิ่งปลูกสร้างเหล่านี้ทำให้ชายฝั่งทะเลเกิดการเปลี่ยนแปลง อันเป็นผลมาจากการกัดเซาะของคลื่น

    “นอกจากนั้น การพัฒนาเมือง เช่น การสร้างถนนและสาธารณูปโภคล่วงล้ำแนวชายฝั่ง สิ่งเหล่านี้ก็ทำให้เกิดการกัดเซาะชายฝั่งด้วยเช่นกัน เช่น การพังทลายของหาดชลาทัศน์ ที่บ้านเก้าเส้ง อ.เมือง จ.สงขลา ซึ่งเกิดจากกำแพงตลิ่ง โดยได้ส่งผลให้หาดทรายที่อยู่ด้านหน้าของกำแพงตลิ่งถูกพัดพาออกไปจนหมด เนื่องจากการสะท้อนกลับของคลื่นที่มากระทบกับกำแพงนั้น และจุดสิ้นสุดของกำแพงตลิ่งจะเกิดการกัดเซาะชายฝั่งอย่างรุนแรง” รศ.ดร.สมบูรณ์กล่าวตบท้าย
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  20. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    "โคอาลา" อยู่ลำบากเมื่อโลกร้อนเพราะ "ยูคา" ผลิตสารพิษมากขึ้น <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">11 พฤษภาคม 2551 09:01 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> <td> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">ใบยูคาถูกปากโคอาลาน้อยลงเมื่อคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นส่งผลต่อความเป็นพิษในใบไม้เพิ่มขึ้น</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> เอพี - ไม่ใช่แค่หมีขั้วโลกที่เดือดร้อนเมื่อโลกร้อนขึ้น แต่ที่ซีกโลกใต้ "โคอาลา" ก็อยู่ลำบากเมื่อคาร์บอนไดออกไซด์สูงขึ้นได้เพิ่มความเป็นพิษให้กับ "ยูคาลิปตัส" อาหารจานหลักของสัตว์ประจำถิ่นออสเตรเลีย

    เอียน ฮูเม (Ian Hume) ศาสตราจารย์เกียรติคุณทางด้านชีววิทยาจากมหาวิทยาลัยซิดนีย์ (Sydney University) ประเทศออสเตรเลีย พร้อมด้วยทีมวิจัยพบว่าความเป็นพิษในใบยูคาลิปตัสเพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นเนื่องจากปรากฏการณ์เรือนกระจก โดยคาร์บอนไดออกไซด์ในใบยูคาลิปตัสส่งผลกระทบต่อความสมดุลของสารอาหารและสารต้านโภชนาการ (anti-nutrients) ซึ่งเป็นได้ทั้งสารที่เป็นพิษและสารที่รบกวนการย่อยสารอาหาร

    "การเพิ่มขึ้นของคาร์บอนไดออกไซด์เอื้อให้ต้นยูคาผลิตสารต้านโภชนาการซึ่งมีองค์ประกอบของคาร์บอนออกมามากกว่าสารอาหาร ดังนั้นในส่วนใบจึงกลายเป็นพิษต่อโคอาลา" ฮูเมกล่าว และยังประเมินอีกว่าระดับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในปัจจุบันจะเป็นผลให้เกิดการลดลงของประชากรโคอาลาอย่างสังเกตได้ช่วง 50 ปี เนื่องจากการขาดแคลนใบยูคาลิปตัสที่มีรสชาติถูกปาก

    ยูคาลิปตัสบางสายพันธุ์มีโปรตีนสูง แต่ก็มีสารต้านโภชนาการอย่างแทนนิน (tannin) จับกับโปรตีนดังกล่าวทำให้โคอาลาไม่สามารถย่อยโปรตีนนั้นได้ ทั้งนี้ในจำนวนยูคาลิปตัสกว่า 600 สปีชีส์ในออสเตรเลียนั้นมีเพียง 25 สปีชีส์เท่านั้นที่โคลาอาเลือกกิน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของระดับความเป็นพิษในต้นยูคาลิปตัสจะยิ่งลดความหลากหลายในการหาใบไม้ที่มีรสอร่อยของโคอาลา

    "โคอาลาออกลูกเพียงปีละ 1 ตัวเท่านั้นภายใต้เงื่อนไขที่เหมาะสม แต่หากลดคุณค่าสารอาหารของใบยูคาลิปตัสลง ก็จะกลายเป็นว่าโคอาลามีลูกได้เพียง 1 ตัวในทุกๆ 3-4 ปีเท่านั้น" ฮูเมกล่าว

    ด้านฮิวจ์ ไทน์เดล-บิสโค (Hugh Tyndale-Biscoe) นักสรีรวิทยาสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง อธิบายคำพยากรณ์ของฮูเมถึงการลดลงของจำนวนโคอาลาว่าเป็นการคาดเดาแต่ก็น่าเชื่อถือ โดยยูคาลิปตัสมีสารอาหารเพียงเล็กน้อยอยุ่แล้วและโคอาลาก็ปรับตัวให้เข้ากับอาหารที่ข้นแค้นด้วยการนอนหลับเพื่อประหยัดพลังงาน

    "การดำรงอยู่ของโคลาอาไม่มั่นคงเอามากๆ พวกมันต้องนอนถึงวันละ 20 ชั่วโมง และก็ใช้เวลาที่เหลืออีก 4 ชั่วโมงไปกับอย่างอื่น บางครั้งบางคราวก็กินใบไม้และตลอดทั้งปีอาจมีสักครั้งที่ตามโคอาลาตัวอื่นเพื่อจับคู่"

    "ตอนนี้โคอาลาได้หายไปแล้วจากพื้นที่บางส่วนของออสเตรเลีย แต่ก็ยังคงมีอยู่มากในพื้นที่อื่นๆ และไม่น่าจะถูกล้างบางเพราะการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ แต่พวกมันก็ถูกย้ายถิ่นฐานไปจากต้นไม้ที่มีสารอาหารมากซึ่งอยู่บนพื้นดินที่สมบูรณ์ เนื่องจากการขยายตัวของการทำฟาร์มเกษตรและชานเมือง" ไทน์เดล-บิวโคกล่าว.</td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     

แชร์หน้านี้

Loading...