ขอเชิญท่านที่มีความจงรักภักดีและเทิดทูนในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย จงรักภักดี, 28 เมษายน 2009.

  1. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466

    -ขอขอบพระคุณท่านผู้ประพันธ์ หนังสือจิ้มก้องและกำไร ดร.สารสิน วีระผล

    และคุณทางสายธาตุ ผู้นำเสนอ มากครับ ขออนุโมทนา สาธุ
     
  2. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    [​IMG]


    ประเทศไทยรวมเลือดเนื้อ ชาติเชื้อไทย
     
  3. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    คำประกาศของปวงชนชาวไทยต่อประชาชาติทั่วโลก

    "ราชอาณาจักรไทย เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จะแบ่งแยกมิได้ ประชาชาติไทย มีความจงรักภักดี ต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข และไม่มีวันที่จะเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่นโดยเด็ดขาด ทั้งพร้อมที่จะพลีชีวิต เพื่อพิทักษ์รักษาไว้ ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตย และผลประโยชน์แห่งชาติ จนถึงที่สุด"


    ๐๐๐Politics - Manager Online
     
  4. Fort_GORDON

    Fort_GORDON เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2008
    โพสต์:
    286
    ค่าพลัง:
    +488
    <TABLE class=tborder id=post2617550 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">[​IMG] เมื่อวานนี้, 07:15 PM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#1 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ธรรมภูต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2617550", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Aug 2008
    ข้อความ: 2,461
    Groans: 1
    Groaned at 140 Times in 106 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 3,085
    ได้รับอนุโมทนา 1,485 ครั้ง ใน 754 โพส
    พลังการให้คะแนน: 278 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]



    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2617550 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->ดูจิตโดยไม่รู้จักจิตที่แท้จริงแล้ว ย่อมเข้าใจผิดคิดว่าจิตเป็นปูเสฉวน<!-- google_ad_section_end -->

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start -->
    พอพูดถึงเรื่องจิตนี่แปลกนัก
    ทั้งๆที่ทุกคนก็รู้ทั้งรู้อยู่ว่า คนเรานั้นมีจิตคนละดวง ของใครของเค้า

    จิตอยู่ในร่างกายนี้ เอาร่างกายเป็นที่อาศัย เอาเป็นที่ใช้สอยเท่านั้น
    ถ้าไม่ใช่จิตของเรา(ตน) แล้วจะเป็นจิตของใครหละ???

    เราทำกรรมดีกรรมชั่ว ล้วนถูกบันทึกลงที่ไหนหละ?
    ถ้าไม่ใช่บันทึกลงที่จิตดวงนี้(ที่ทำกรรมดี กรรมชั่ว) แล้วบันทึกลงที่จิตดวงไหนหละ?
    เมื่อทำกรรมดี กรรมชั่วแล้วไปบันทึกลงที่จิตดวงอื่นก็ดีสิ
    ทำแล้วไม่ต้องชดใช้กรรมที่ทำ การที่คิดแบบนี้เป็นพวกโมฆบุรุษ

    ดังมีมาในพระพุทธวจนะดังนี้
    ลำดับนั้นแล มีภิกษุรูปหนึ่ง เกิดความปริวิตกแห่งใจขึ้นอย่างนี้ว่า
    จำเริญละ เท่าที่ว่ามานี้ เป็นอันว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณเป็นอนัตตา
    กรรมที่อนัตตาทำแล้ว จักถูกตนได้อย่างไร

    ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคทรงทราบความปริวิตกแห่งใจของภิกษุรูปนั้น
    ด้วยพระหฤทัย จึงรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อที่โมฆบุรุษบางคนในธรรมวินัยนี้
    ไม่รู้แล้ว ตกอยู่ในอวิชชา ใจมีตัณหาเป็นใหญ่
    พึงสำคัญคำสั่งสอนของศาสดาอย่างสะเพร่า


    การจะกล่าวร้ายใครว่า เป็นมิจฉาทิฐิ ชื่อว่าสัสสตทิฐินั้น
    ควรหันกลับมาดูตนเองด้วยว่า ตนเองเข้าใจเรื่องจิตที่แท้จริงหรือไม่?
    จึงสับสนกับคำว่า “จิตเที่ยง”

    ในความหมายคำว่า “จิตเที่ยง” ที่เข้าข่ายสัสสตทิฐินั้น หมายถึง
    ผู้ที่มีความเชื่อไปว่า เคยเกิดมาเป็นอย่างไร
    เมื่อตายไปแล้ว ก็จะกลับมาเกิดเป็นอย่างนั้นเหมือนเดิมอีก
    ไม่ว่าจะเกิด-ตายอีกกี่หนกี่ครั้ง(กี่ภพ กี่ชาติ)ก็ตาม
    ก็จะกลับเกิดมาเป็นอย่างเดิมไม่มีเปลี่ยนแปลง
    โดยที่บาปบุญคุณโทษไม่มีผลต่อการเกิดในแต่ละครั้ง
    ซึ่งเป็นมิจฉาทิฐิ ฝ่ายสัสสตทิฐิ

    ส่วนพวกที่เข้าใจว่า เมื่อตายลงไปแล้วนั้น
    จิตที่บันทึกกรรมครั้งสุดท้ายที่มาประชิดจิต เป็นคติเครื่องไปสู่ภพภูมิต่างๆ
    ตามกรรมดี กรรมชั่ว ที่บันทึกลงที่จิตในวาระสุดท้ายก่อนตาย
    จิตที่ไปเกิดนั้น ก็เป็นจิตใครจิตเค้าที่ทำกรรมดี กรรมชั่ว
    เป็นคติเครื่องไปของสัตว์(ผู้ข้องในอารมณ์)ทั้งหลาย
    ความเข้าใจอย่างนี้ย่อมเป็น สัมมาทิฐิ

    เหมือนน้ำที่สะอาดได้รับการปนเปื้อนจากสิ่งต่างๆ
    ถ้าน้ำปนเปื้อนสิ่งที่ดี ก็ได้อยู่ในที่ๆหรือภาชนะที่ดี
    ถ้าปนเปื้อนสิ่งสกปรกโสมม ก็ต้องอยู่ที่ๆหรือภาชนะที่ไม่ดี(ไม่ประณีต)

    ส่วนความเข้าใจที่ว่า การไปเกิด เป็นจิตดวงใหม่
    ที่ได้รับการสืบต่อจากจิตดวงเก่า เพื่อไปเกิดใหม่นั้น
    เป็นพวกมิจฉาทิฐินอกพุทธศาสนา

    ขอถามว่า การจะสืบต่อได้นั้น ถ้าพิจารณาตามหลักความเป็นจริงแล้ว
    จิตดวงเก่าต้องยังไม่ดับในทันที เพื่อรอจิตดวงใหม่มาเกิดก่อน
    จึงจะส่งต่อหรือสืบต่อกรรมดี กรรมชั่วให้ได้

    เมื่อเรามาพิจารณาให้ดีแล้ว เป็นการพูดขัดแย้งกันเองว่า
    “จิตใจอัตภาพร่างกายนี้เกิดแล้วดับไป เกิดจิตอีกดวงนึงในร่างกายใหม่
    คนละดวงกัน ไม่ใช่ดวงเดิม แต่มันสืบเนื่องกันไป”

    เมื่อจิตเกิด-ดับไปแล้วจะเอาช่วงเวลาตรงไหน มาถ่ายทอดกรรมดี กรรมชั่วกันล่ะ
    ก็อย่างที่บอกไว้ในตอนต้นว่า จิตดวงเก่ายังจะดับไปไม่ได้หรอก
    ต้องรอจิตดวงใหม่เกิดขึ้นมาก่อน จึงสืบต่อกรรมดี กรรมชั่วกันได้
    ซึ่งก็เป็นไปไม่ได้อีกเช่นกัน เพราะจะมีจิตพร้อมกัน ๒ ดวงในเวลาเดียวกันไม่ได้

    อีกเหตุผลนึงที่รองรับว่า จิตมีดวงเดียวเท่านั้นของใครของเค้า
    เพราะ อวิชชาจะเกิด-ดับไปตามจิตไม่ได้
    อวิชชาจะดับได้เพียงสถานเดียวเท่านั้น คือต้องปฏิบัติสมาธิกรรมฐานภาวนา
    จนกระทั่งจิตเกิดปัญญารู้เห็นตามความเป็นจริง
    เมื่อวิชชาเกิดขึ้น อวิชชาจึงจะดับไปครับ
    ถ้าจิตเกิด-ดับจริง อวิชชาก็ต้องเกิดดับไปตามจิตด้วยสิ ซึ่งเป็นไปไม่ได้

    ดังมีพุทธวจนะรับรองไว้ว่า จิตไม่เคยดับตายหายสูญ
    มีพุทธพจน์ในมหาปรินิพพานสูตร ว่าไว้ดังนี้:

    “จตุนฺนํ อริยสจฺจานํ ยถาภูตํ อทสฺสนา,
    สงฺสริตํ ทีฆมทฺธานํ ตาสุตาเสว ชาติสุ
    ความเวียนว่ายของเรา
    เข้าไปในชาติน้อยใหญ่ทั้งหลายอันยาวนานนับไม่ถ้วนนั้น
    เพราะไม่เห็นอริยสัจ ๔ ตามความเป็นจริง ดังนี้”

    หมายความว่า
    จิตของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เข้าไปเวียนว่าย
    จากพระชาติหนึ่งไปยังอีกพระชาติหนึ่งติดต่อกันไปหลายพระชาติ
    เป็นเวลาอันยาวนานนับไม่ถ้วนก่อนทรงตรัสรู้
    และจิตของพระองค์ได้ยืนตัวเป็นประธานทุกชาติ
    ไม่ว่าจะเปลี่ยนพระชาติไปกี่ครั้งกี่หนก็ตาม.

    ทั้งนี้แสดงว่า จิตเป็นสภาพธรรมที่ไม่ได้ดับตายหายสูญ
    พระพุทธองค์ทรงระลึกพระชาติได้ทุกพระชาติก่อนที่จะตรัสรู้
    เป็นการแสดงให้เห็นชัดอยู่แล้วว่า
    จิตดวงเดียวกันนี้ที่เวียนว่ายเข้าไปสู่ภพน้อยใหญ่อันยาวนานนับไม่ถ้วน
    ถ้าเป็นจิตคนละดวงแล้ว พระองค์จะทรงระลึกชาติของจิตดวงอื่นได้หรือครับ???




    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ...............................................

    อนุโมทนา สาธุ ขอรับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 พฤศจิกายน 2009
  5. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,922
    ค่าพลัง:
    +6,434
    ถ้าเจ้าแผ่นดินไม่ต้อนรับให้คนย้ายถิ่นฐานได้อาศัยแผ่นดินนี้ ไม่ถือว่าเชื้อชาติจีนเป็นคนต่างชาติ ตรงนี้อ้างอิงจากกฎหมายห้ามหญิงไทยแต่งกับต่างชาติแต่ไม่ห้ามแต่กับคนจีนที่ย้ายถิ่นฐานเข้ามา


    เจ้าแผ่นดินให้โอกาศผู้ย้ายถิ่นฐานเหล่านี้ได้มีฐานะเป็นคนไทยเสมอกัน ลูกหลานคนเหล่านี้จึงเป็นคนไทยแท้ ไทยแท้ที่ใจรักแผ่นดินเกิด รักสถาบัน รักชาติ

    กรณีศึกษาของเพื่อนบ้านบางประเทศนั้น เชื้อชาติที่แตกต่างกันไม่สามารถจะเข้ากันได้ จนเกิดเหตุทะเลาะกันเองในชาติบ่อยๆ แต่ประเทศไทยแตกต่างจากเขา ชนชาติไทยอยู่กันอย่างกลมเกลียวภายใต้ความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม

    ชาวไทยอยู่กันได้อย่างนี้มานานแล้ว และความผาสุขและสันติจะกลับมาเมื่อพวกเรากลับมาสามัคคีกัน แผนวัสสการพราหณ์นั้นมุ่งที่การทำลายความสามัคคีของชนในชาติ ยิ่งนานวันผู้ใช้แผนการนี้ชักจะเห็นว่าไม่ได้ผลก็ยิ่งต้องดำเนินแผนการที่ยิ่งรุนแรงและกล้าแสดงออกอย่างชัดเจนยิ่งกว่าเก่า มุ่งหวังผลแบบเฉียบพลัน

    ตราบใดไทยนี้ตั้งอยู่ในความสามัคคี แผนวัสสการพราหณ์นี้ก็จะอ่อนแรงไปเอง ต้องอดทนค่ะ
     
  6. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,922
    ค่าพลัง:
    +6,434
    อนุโมทนา สาธุค่ะ

    เป็นบุญแท้ที่เกิดมาได้เจอพระพุทธศาสนา

    และได้เริ่มปฎิบัติตามองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า

    เป็นบุญแท้
     
  7. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    [​IMG]


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ทหารรักษาพระองค์ ซ้อมเดินสวนสนาม ถวายสัตย์ “ในหลวง” เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>15 พฤศจิกายน 2552 18:57 น.</TD></TR></TBODY></TABLE>

    -พิธีสวนสนามของทหารรักษาพระองค์จะกระทำเป็นประจำทุกปี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยทหารจะปิดถนนราชดำเนินนอก ถนนศรีอยุธยา และถนนพิษณุโลก ในช่วงเวลา 13.00-16.00 น.ของวันอาทิตย์ทุกสัปดาห์ ตั้งแต่ปลายเดือน ต.ค.จนถึงวันที่ 2 ธ.ค. เพื่อซ้อมเดินสวนสนาม
     
  8. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    “ขอเดชะ ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ปกเกล้าปกกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า (กล่าวยศ นาม ของผู้ปฏิญาณตน) ขอถวายสัตย์ปฏิญาณต่อใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทว่า

    ข้าพระพุทธเจ้า จักยอมตาย เพื่อรักษาไว้ ซึ่งพระบรมเดชานุภาพแห่งพระมหากษัตริย์เจ้า ข้าพระพุทธเจ้า จักจงรักภักดี และถวายความปลอดภัยต่อใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท จนชีวิตหาไม่ ข้าพระพุทธเจ้า จักเชิดชู และรักษาไว้ซึ่งเกียรติยศ เกียรติศักดิ์ ของทหารรักษาพระองค์ ทั้งจักปฏิบัติตนให้เป็นที่ไว้วางพระราชหฤทัยของใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาททุกประการ”

    ข้อความข้างต้น เป็นคำกล่าวถวายสัตย์ปฏิญาณของทหารรักษาพระองค์ต่อเบื้องพระพักตร์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
     
  9. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD>กองทัพกับสงครามการเมือง


    </TD><TD vAlign=top width=155></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD>รายงานโดย :ภุมรัตน์ ทักษาดิพงษ์:

    </TD><TD>โพสต์ ทูเดย์ วันอาทิตย์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    ......ทุกคำพูดที่ทหารรักษาพระองค์กล่าวปฏิญาณมีความหมายอย่างยิ่ง และต้องหมายความตามคำพูด คำถวายสัตย์ปฏิญาณไม่ใช่เรื่องพูดเล่นๆ หรือกล่าวแล้วก็ลืมไป แต่ต้องมุ่งทำให้สำเร็จตามที่พูดด้วย โดยเฉพาะคำว่า “จักยอมตายเพื่อรักษาไว้ซึ่งพระบรมเดชานุภาพแห่งพระมหากษัตริย์เจ้า” “จักจงรักภักดี...ต่อใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทจนชีวิตหาไม่” “จักเชิดชู และรักษาไว้ซึ่งเกียรติยศ เกียรติศักดิ์ ของทหารรักษาพระองค์”

    พิธีสวนสนามและถวายสัตย์ปฏิญาณในวันที่ 2 ธ.ค. ของทุกปี ไม่ใช่เป็นเพียงพิธีการที่ทหารรักษาพระองค์แต่งเครื่องแบบสวยๆ มาเดินสวนสนามให้คนทั่วประเทศชมเท่านั้น ช่วงเวลาที่สำคัญที่สุด คือ การกล่าวคำปฏิญาณของทหารรักษาพระองค์ และการฟังพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อน้อมนำไปปฏิบัติ ทหารรักษาพระองค์ทุกคนไม่เพียงเข้าเวรยามรักษาความปลอดภัยแก่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เท่านั้น แต่ยังหมายถึงการกระทำทุกอย่างด้วยเกียรติยศและศักดิ์ศรีของทหารรักษาพระองค์ที่พร้อมจะปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์ ทั้งในยามปกติและยามสงคราม.........


    ๐๐๐ ขอขอบพระคุณท่าน ภุมรัตน์ ทักษาดิพงษ์ และ หนังสือพิมพ์โพสต์ ทูเดย์ ครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 พฤศจิกายน 2009
  10. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
    อนุสนธิจากพิธีเททองหล่อพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

    เมื่อ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๒

    <TABLE class=A14 cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=center bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    การเททองหล่อพระบรมรูปองค์สมเด็จพระ นเรศวรมหาราช ณ วัดเวียงเชียงรุ้ง ต.ทุ่งก่อ อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย ที่พระอาจารย์สัง์กา มหาปัญโญ ร่วมกับสานุศิษย์ผู้ศรัทธา เมื่อวันที่๒๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๒ เวลา ๐๙.๐๙ น.

    -กำหนดวันพิธีเปิดศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในวันที่

    ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๒ สำหรับรายละเอียดจะได้แจ้งให้ทราบ

    ต่อไป
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. จงรักภักดี

    จงรักภักดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,229
    ค่าพลัง:
    +2,466
     
  12. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,922
    ค่าพลัง:
    +6,434
    ไม่รู้จะสื่อสารกับท่านผู้อ่านอย่างไร

    คือกำลังตัดสินใจว่าจะเอาบางบทของจิ้มก้องและกำไรมาพิมพ์

    เพราะอ่านแล้วได้ความรู้ดีค่ะ แถมเกร็ดประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้าตากสิน

    ทำให้เห็นความยากลำบากของพระองค์ในการหาทั้งอาวุธและเงินเพื่อมากู้ชาติ

    อ่านแล้วน้ำตาจะไหลสำหรับส่วนเกร็ดประวัติศาสตร์เหล่านี้

    หนังสือที่คนไทยก็น่าจะได้อ่านค่ะเล่มนี้ มันสะท้อนเหตุการณ์ใหญ่ๆที่เกิดขึ้นภายในประเทศเวลานั้นได้

    กว่าจะได้เป็นบ้านเป็นเมือง บรรพบุรุษต้องเสียสละกล้ำกลืนความทุกข์ของพระองค์เองเพื่อประโยชน์สุขประชา

    แม้เข้าสู่สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชแล้วก็ตาม ยังคงต้องทรงต่อสู้กับการดำรงไว้ซึ่งชาติ เพราะมีศึกใหญ่สงครามเก้าทัพ

    กว่าจะมั่นคงจริงๆก็เข้ารัชกาลที่ 3 พอเริ่มรัชกาลที่ 4 ชาติตะวันตกก็เริ่มออกล่าอาณานิคมอีก ไม่ได้พักได้หยุด

    กว่าจะรวมเป็นชาติ บรรพบุรุษอาบเหงื่อต่างน้ำ เอาเลือดทาแผ่นดินไปกี่ล้านคน ลูกหลานจะได้รู้ค่ะ

    แล้วอยากจะอ่านกันไหมค่ะ อี เมลล์มาบอกก็ได้นะคะถ้าไม่มีล็อกอิน ^^
     
  13. Fort_GORDON

    Fort_GORDON เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2008
    โพสต์:
    286
    ค่าพลัง:
    +488


    -ขอนุโมทนาครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 พฤศจิกายน 2009
  14. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,922
    ค่าพลัง:
    +6,434
    รู้จัก ดร. สารสิน วีระผล ผู้เขียนหนังสือจิ้มก้องและกำไร การค้าไทย-จีน 2195-2396

    [​IMG]

    การศึกษา

    2517 ปริญญาเอก (ประวัติศาสตร์และภาษาเอเซียตะวันออก)มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

    2514 ปริญญาโท (เอเซียตะวันออก) มหาวิทยลัยฮาร์วาร์ด

    2509 ปริญญาตรี (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) มหาวิทยาลัยอเมริกัน

    ประวัติการทำงาน

    2539-ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหาร เครือเจริญโภคภัณฑ์

    2538-2539 รองปลัดกระทรวงการต่างประเทศ

    2535-2538 อธิบดีกรมอเมริกาและแปซิฟิกใต้ (กต.)

    2533-2535 เอกอัครราชทูตประจำประเทศฟิลิปปินส์

    2531-2533 เอกอัครราชทูตประจำกระทรวง (กต.)

    2529-2531 รองอธิบดีกรมการเมือง (กต.)

    2527-2529 อัครราชทูตที่ปรึกษา สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโตเกียว

    2526-2527 ผู้อำนวยการกองนโยบาย (กต.) ควบตำแหน่งเลขานุการของ
    พลอากาศเอกสิทธิ เศวตศิลา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ

    2524-2526 ที่ปรึกษาสำนักงานปลัดกระทรวงการต่างประเทศ

    2522-2524 เลขานุการเอก กรมการเมือง (กต.)

    2519-2522 เลขานุการโท สถานเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปักกิ่ง

    2510-2519 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    2517 ผู้ช่วยสอน มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด​
     
  15. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,922
    ค่าพลัง:
    +6,434
    หอเป่าเหอเตี้ยน (ห้องประชุมแห่งความสมานฉันท์ที่ธำรงรักษาไว้)

    [​IMG]


    คณะทูตบรรณาการของสยามได้เชิญเครื่องบรรณาการจากเมืองกวางตุ้งรอนแรมขึ้นมาถึงกรุงปักกิ่ง และทำพิธีถวายเครื่องบรรณาการนั้นที่ "กู้กง" (พระราชวังหลวง) ณ หอเป่าเหอเตี้ยน (ห้องประชุมแห่งความสมานฉันท์ที่ธำรงรักษาไว้) ที่อยู่ลึกเข้าไปด้านใน

    ห้องประชุมแห่งนี้สร้างขึ้นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 1963 (ค.ศ. 1420) ในสมัยราชวงศ์หมิง แต่มีการซ่อมแซมและเรียกชื่อต่างๆกันออกไป ในช่วงต้นราชวงศ์หมิง เรียกว่า จิ้นเซิ้นเตี้ยน (ห้องประชุมแห่งความประพฤติอย่างระมัดระวัง) สมัยราชวงศ์ชิง ได้เปลี่ยนชื่อห้องประชุมนี้ใหม่ว่า เจี้ยนจี๋เตี้ยน (ห้องประชุมแห่งองค์อธิปัตย์ของชาวประชา) เมื่อ พ.ศ.2105 (ค.ศ. 1562) และเรียกว่า เป่าเหอเตี้ยนเมื่อ พ.ศ. 2188 (ค.ศ. 1645)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 18427200.jpg
      18427200.jpg
      ขนาดไฟล์:
      104.9 KB
      เปิดดู:
      692
  16. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,922
    ค่าพลัง:
    +6,434
    บัลลังก์ของจักรพรรดิ ภายในหอเป่าเหอเตี้ยน

    [​IMG]



    ที่กลางห้องประชุมนี้มีบัลลังก์ของจักรพรรดิตั้งอยู่ ด้านหลังพระบังลังก์นั้น ได้แขวนป้ายที่เป็นลายพระราชหัตถเลขวของจักรพรรดิเฉียนหลง อ่านได้ว่า "หวงเจี้ยนโหย่วจี๋" (มาตรฐานสูงสุดสำหรับจักรพรรดิเพื่อก่อตั้งระบบการปกครอง)

    ช่วงต้นราชวงศ์ชิง จักรพรรดิซุ่นจื้อกับจักรพรรดิคังซีได้ประทับอยู่ในหอแห่งนี้ ก่อนจะปฎิสังขรณ์หอสามหลังทางด้านหลังเสร็จสิ้นสมบูรณ์ จึงเรียกว่า เว่ยยู่กง (วังแห่งสถานที่อันเหมาะสมและการอบรมสั่งสอนสิ่งต่างๆ) ในสมัยจักรพรรดิซุ่นจื้อ และใช้เป็นที่จัดงานอภิเษกสมรสของพระองค์ด้วย ในสมัยจักรพรรดิคังซี เรียกหอนี้ว่า ซิงหนิงกง (พระราชวังแห่งความสงบสุขและสันติ)

    นอกจากจะใช้เป็นสถานที่รับเครื่องราชบรรณาการจากประเทศต่างๆแล้ว จักรพรรดิในสมัยราชวงศ์หมิงทรงเปลี่ยนฉลองพระองค์ก่อนที่จะประกอบพระราชพิธีสำคัญที่นี่ ในสมัยราชวงศ์ชิง ก็โปรดให้ใช้เป็นที่จัดงานเลี้ยงรับรองให้กับบรรดาเชื้อพระวงศ์ อ๋อง และเสนาบดีของบรรดาชนกลุ่มน้อยในวันก่อนขึ้นปีใหม่และเทศกาลโคม และเมื่อ พ.ศ. 2332 (ค.ศ. 1789) พระจักรพรรดิได้เสด็จตรวจตราการสอบจอหงวนขั้นสุดท้ายที่นี่

    คำว่า "เป่าเหอ" ได้มาจากตำราแห่งการเปลี่ยนแปลง มีความหมายว่า การธำรงรักษาความกลมกลืนกันของทุกสิ่งบนโลก เพื่อให้เกิดช่วงเวลาอันยืดยาวแห่งสันติสุขและความยั่งยืน
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  17. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,922
    ค่าพลัง:
    +6,434
    หนังสือหนา 380 หน้า คิดว่าจะเริ่มที่บทที่ 3 ยุคแรกเริ่ม พ.ศ. 2195-2263 (ค.ศ. 1652-1720) ข้อจำกัดทางการค้าของจีน

    เริ่มเมื่อเข้าราชวงศ์ชิงใหม่ๆ ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง สมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมเด็จพระไชย สมเด็จพระเพทราชา

    บทที่ 3 มี 50 หน้าเต็มๆ ขอพิมพ์บางย่อหน้าของแต่ละหน้า หากหน้าใดมีเนื้อหาน่าสนใจมากจะพิมพ์ทุกย่อหน้า เลือกที่จะบ่งบอกถึงสภาพเศรษฐกิจ สภาพการเมืองในสยาม เพื่อไม่ให้เนื้อหาแน่นเกินไป หากท่านใดสนใจจะไปหาซื้ออ่านเพิ่มเติมเองก็ทำได้โดยหนังสือนี้เป็นหนังสือของมูลนิธิโครงการตำรา สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์

    เริ่มเนื้อหาวันพรุ่งนี้ คิดว่าคงจะตอนเกือบสิ้นปีหน่ะค่ะ จึงจะได้กล่าวถึงพระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เพราะหนังสือหนามากเนื้อหาแน่นค่ะ
     
  18. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,922
    ค่าพลัง:
    +6,434
    จิ้มก้อง คืออะไร

    จิ้มก้อง


    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี



    <!-- start content -->
    จิ้มก้อง หมายถึง การเจริญทางพระราชไมตรีด้วยการถวายเครื่องราชบรรณาการ จิ้มก้อง เป็นคำจากภาษาจีน จิ้ม แปลว่า ให้, ก้อง แปลว่า ของกำนัล ในการทำการค้ากับจีนในสมัยโบราณ พ่อค้ามักจะนำของกำนัลไปให้เพื่อขอความสะดวกในการทำมาค้าขาย แต่จีนมักถือว่า ผู้ที่มาจิ้มก้อง เป็นผู้ที่มาสามิภักดิ์ขอเป็นเมืองขึ้น เมื่อมีของกำนัลมาให้ นอกจากจีนจะให้ความสะดวกในการค้าแล้ว พระเจ้ากรุงจีนยังตอบแทนด้วยของกำนัลอย่างมากมายด้วย พ่อค้าไทยจึงนิยมไปจิ้มก้อง

    <SUP></SUP>
    <SUP></SUP>
    <SUP></SUP>
    ขุนวิจิตรมาตรา ให้ความหมายของจิ้มก้อง หรือ จินก้ง ว่าเป้นคำภาษาจีน บางทีใช้คำว่า ก้อง คำเดียว เป็นความหมายต่างๆ อาทิ ทวงก้อง หมายความว่า ทวงส่วย มาก้อง หมายความว่า มาส่งส่วยฐานเป็นเมืองขึ้น หรือมาขอเป็นเมืองขึ้น เมืองก้อง หมายถึง เมืองขึ้น หรือเมืองส่วย และจิ้มก้อง ก็เรียกว่า ส่งส่วย ภาษาอังกฤษเรียกว่า Tribute



    <TABLE class=toc id=toc><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>ธรรมเนียมการจิ้มก้องกับจีน

    การจิ้มก้องเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องผูกพันกันมาโดยตลอด เป็นเจตคติที่ยึดถือปฏิบัติตามบุราณราชประเพณี แต่หากได้เกิดมีลักษณะการแลกเปลี่ยนสินค้ากันขึ้น เนื้อแท้แล้วเป็นการหวังประโยชน์ต่อกันทางด้านการค้าเสียมากกว่า

    ขนบธรรมเนียมการจิ้มก้องนอกจากจะกระทำได้โดยพระมหากษัตริย์แล้วคณะทูตานุทูตจากดินแดนโพ้นทะเลก็ยังสามารถกระทำการค้าขายส่วนตัวได้ด้วย ในช่วง 270 ปีเศษของราชวงศ์หมิง (เหม็ง) จีนส่งคณะทูตมายังกรุงศรีอยุธยา 19 ครั้ง ส่วนกรุงศรีอยุธยามีคณะราชทูตไปประเทศจีน 110 ครั้ง และบรรดาสินค้าส่วนตัวที่ผู้ส่งเครื่องราชบรรณาการนำติดเข้าไปนั้น รัฐบาลราชวงศ์หมิงก็ยังผ่อนปรน มิได้เรียกเก็บภาษีผ่านด่านแต่ประการใด
    <SUP></SUP>
    <SUP></SUP>
    ประวัติ

    จิ้มก้อง จากที่มีการบันทึกเริ่มมีตั้งแต่สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ส่งทูตไปเจริญพระราชไมตรีกับพระเจ้าหงวนสีโจ๊วฮ่องเต้ (กุบไลข่าน) และก็มีบรรดาผ้าผ่อนแพรพรรณ เป็นเครื่องราชบรรณาการ ไปจิ้มก้องด้วย

    การค้าในระบบจิ้มก้องอย่างเป็นทางการระหว่างจีนกับสยาม สะดุดหยุดลงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 เมื่อราชวงศ์ชิง (แมนจู) ที่เพิ่งสถาปนาขึ้นใหม่ ประกาศห้ามชาวจีนออกทะเล เพื่อหวังป้องกันมิให้พวกคนเหล่านี้หลบหนีออกนอกประเทศ และต้องการปราบปรามพวกกลุ่มต่อต้านที่ต้องการล้มล้างราชวงศ์ชิง กอบกู้ราชวงศ์หมิง ใน ค.ศ. 1664 ต้นแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อันตรงกับปีที่ 3 จักรพรรดิคังซี ราชวงศ์ชิง เมื่อสยามส่งทูตไปจิ้มก้องตามธรรมเนียมปฏิบัติแต่เดิมมา ราชสำนักจีนปฏิเสธไม่รับของกำนัล และ ประกาศห้ามมิให้ผู้ใดรับของกำนัลจากต่างประเทศ การค้าระหว่างไทยกับจีนจึงหยุดชะงักไป 8 ปี จนต่อมาอีก 3 ปี จึงกลับมามีความสัมพันธ์อันดีต่อกันเหมือนเดิม

    จิ้มก้องนั้น ได้สะดุดหยุดลง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ รัชกาลที่ 4 ทรงส่งบรรณาการไปจีนเป็นครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ. 2396 หรือ ค.ศ. 1853
    <SUP></SUP>
    <SUP></SUP>
    เครื่องราชบรรณาการของสยามในยุคนั้น

    เครื่องราชบรรณาการที่สยามส่งให้จีน ได้แก่ ช้าง งาช้าง จันทน์หอม พริกไทย นกแก้ว นกยูง รงทอง ขี้ผึ้งขาว กำมะถัน มหาหิงคุ์ เปลือกสมุลแว้ง กรักขี เปลือกสีเสียด กานพลู มดย อบจันทน์ ชะมด จันทน์เทศ กระวานขาว ผลกระเบา ฝาง พรมลิอูด ผ้าโมรีแดง ฯลฯ


    ส่วนสิ่งที่จีนจัดมอบให้สยาม ได้แก่ เครื่องลายคราม ผ้าแพรโล่ต่วน แพรกิมต่วน เป็นต้น



    ขอปูพื้นว่า อะไรคือจิ้มก้องก่อนค่ะ จึงจะเข้าเนื้อหาซึ่งจะพิมพ์ให้อ่านเย็นๆค่ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 พฤศจิกายน 2009
  19. Fort_GORDON

    Fort_GORDON เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2008
    โพสต์:
    286
    ค่าพลัง:
    +488
    <TABLE class=tborder id=post2581837 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">[​IMG] 05-11-2009, 11:44 PM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#1 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->wellrider<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2581837", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Jan 2007
    ข้อความ: 3,510
    Groans: 0
    Groaned at 26 Times in 21 Posts
    ได้ให้อนุโมทนา: 39
    ได้รับอนุโมทนา 31,294 ครั้ง ใน 2,976 โพส
    พลังการให้คะแนน: 1458 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]



    </TD><TD class=alt1 id=td_post_2581837 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->การบริหารจิต(หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม)<!-- google_ad_section_end -->

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start -->
    [​IMG]

    เป็นความจริงที่ปรากฏชัดว่า นักเรียน นักศึกษา
    หรือใครก็ตาม ที่มีสุขภาพจิตดี ย่อมเรียนหนังสือได้ดี
    สามารถทำงานได้มาก และได้ผลดี มีประสิทธิภาพสูง
    ทั้งสามารถเข้ากับเพื่อนๆ ได้ดี และช่วยสังคมได้ดี
    เพราะมีสุขภาพจิตสูง ย่อมมีความสุข และความสำเร็จในชีวิต
    ได้มากกว่าผู้ที่มีจิตเสื่อมและอ่อนแอ
    เช่นเดียวกับผู้ที่กำลังกายสมบูรณ์แข็งแรง ย่อมมีความสุข
    และความก้าวหน้าในชีวิตได้มากกว่าคนที่มีร่างกายอ่อนแอ
    และเป็นโรค อันร่างกายจะแข็งแรงและมีพลานามัยดีได้นั้น
    ก็เพราะเจ้าของกายรู้จักรักษาสุขภาพของตน
    เช่น ออกกำลังกาย รู้จักบริหารกาย
    รู้จักบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ พักผ่อนให้เพียงพอ
    และได้อากาศบริสุทธิ์ ข้อนี้ฉันใด จิตของมนุษย์ก็เช่นเดียวกัน
    จะมีสุขภาพสมบูรณ์ได้ เพราะเจ้าของรู้จักบริหารจิตของตน
    โดยฝึกฝนอารมณ์ด้วยวิธีอันถูกต้อง

    การบริหารจิต ก็คือ การรักษาคุ้มครองจิต การฝึกฝนอบรมจิต
    หรือการทำจิตให้สงบ ให้สะอาด ปราศจากความวุ่นวายเดือดร้อน
    ให้เข้มแข็ง ให้มีสุขภาพจิตดี และให้นำมาใช้ปฏิบัติงานได้ดี
    พูดง่ายๆ ก็คือ “การพัฒนาจิต” นั้นเอง

    ประเทศชาติที่ได้การบริหารดี ได้รับการพัฒนาดีแล้ว
    ย่อมเป็นประเทศที่รุ่งเรือง ประชาชนในประเทศนั้น
    ย่อมอยู่ดีกินดี มีความสงบสุขได้ ฉันใด
    จิตที่บริหารดีแล้ว พัฒนาดีแล้วก็ฉันนั้น เหมือนกัน
    คือ ย่อมมีความเกษมและสงบสุข

    ทุกคนที่เกิดมาล้วนแต่รักสุขเกลียดทุกข์ด้วยกันทั้งสิ้น
    และความสุขที่มนุษย์ต้องการนั้นมีอยู่ ๒ อย่างคือ

    ๑. ความสุขทางกาย
    ๒. ความสุขทางใจ

    ความสุขทั้ง ๒ อย่างนี้ ต้องอาศัยกันและกัน
    คือ ถ้ากายเป็นสุขแล้ว ก็จะทำให้ใจเป็นสุขด้วย
    หรือถ้าใจเป็นสุขแล้ว ก็จะทำให้กายเป็นสุขด้วย
    เช่นเดียวกับเรื่องของความทุกข์
    เพราะกายกับจิตมีความเกี่ยวเนื่องกัน คือ รูป กับ นาม
    แม้พระพุทธศาสนาจะยอมรับความสุขทั้ง ๒ อย่างนี้
    แต่ก็ยกย่องจิตว่าประเสริฐกว่ากาย
    เพราะกายรวมทั้งสมอง เป็นผู้ปฏิบัติตามคำสั่งของจิต
    จิตเป็นผู้นำ ดังพุทธภาษิตว่า

    “มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา”
    ซึ่งแปลว่า ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า

    การฝึกจิตบริหารจิตนั้นมีคุณค่าต่อชีวิตมาก

    ๑. ถ้าเป็นนักเรียน นักศึกษา ก็สามารถเรียนหนังสือได้ผลดีเพิ่มขึ้น
    ได้คะแนนสูง เพราะมีจิตใจสงบ จึงทำให้มีความจำแม่นยำ
    และดีขึ้นกว่าแต่ก่อน

    ๒. ทำสิ่งต่างๆ ได้ดีขึ้น ไม่ค่อยผิดพลาด เพราะมีสติสมบูรณ์ขึ้น

    ๓. สามารถทำงานได้มากขึ้น และได้ผลดีอย่างมีประสิทธิภาพ

    ๔. ทำให้โรคภัยไข้เจ็บเบาบางอย่างหายไปได้

    ๕. ทำให้เป็นคนมีอารมณ์เยือกเย็น มีความสุขใจได้มาก
    มีผิวพรรณผ่องใส มีจิตใจเบิกบาน

    ๖. ทำให้อยู่ในสังคมอย่างปกติสุข เช่น อยู่ในโรงเรียน
    ก็ทำให้เพื่อนๆ และครูพลอยได้รับความสุขไปด้วย เป็นต้น

    ๗. สามารถเผชิญเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้าได้อย่างใจเย็น
    รวมทั้งสามารถแก้ไขความยุ่งยาก และความเดือดร้อนวุ่นวายในชีวิตได้
    ด้วยวิธีอันถูกต้อง

    ๘. สามารถกำจัดนิวรณ์ ที่รบกวนจิตลงได้
    หรืออย่างน้อยก็ทำให้เบาบางลงได้

    ๙. ถ้าทำได้ถึงขั้นสูง ก็ย่อมได้รับความสุขอันเลิศยิ่ง
    และอาจสามารถได้อำนาจจิตพิเศษ เช่น รู้ใจคนอื่น เป็นต้น

    คัดลอกจาก...
    http://jarun.org

    ที่ีมา ::

    <!-- google_ad_section_end -->
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    อนุโมทนา สาธุ
     
  20. ทางสายธาตุ

    ทางสายธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    2,922
    ค่าพลัง:
    +6,434
    หนังสือจิ้มก้องและกำไร การค้าไทย-จีน 2195-2396

    หนังสือ จิ้มก้องและกำไร การค้าไทย-จีน 2195-2396
    ผู้เขียน ดร. สารสิน วีระผล
    บทที่ 3 ยุคแรกเริ่ม พ.ศ. 2195-2263 (ค.ศ. 1652-1720) ข้อจำกัดทางการค้าของจีน
    หน้าที่ 28

    เมื่อราชวงศ์แมนจูเข้าครอบครองจีนทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ ก็ได้รับสืบทอดอาณาบริเวณที่ไม่เพียงแต่ช่วยสนับสนุนการค้าสำเภาอย่างคึกคักกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และที่อื่นๆ ในทะเลตะวันออกเท่านั้น แต่ดินแดนนี้ยังกลายเป็นบริเวณที่ปลอดภัยแห่งสุดท้ายของราชวงศ์ใหม่ที่ปักกิ่งด้วยเช่นกัน เกือบสี่สิบปีหลังจากที่พวกแมนจูได้เข้าสู่เมืองหลวงทางภาคเหนือด้วยชัยชนะ ผู้พิชิตที่เป็นต่างด้าวต้องประสบปัญหาความมั่นคงอย่างรุนแรงในบริเวณชายฝั่งกวางตุ้ง (กว่างตง/Kwangtung) ฮกเกี้ยน (ยู่เจี้ยน/ฟูเกี้ยน/Fukien) และจีเกียง (เจ้อเจียง /Chekiang) ที่เป็นอันตรายจากบรรดากลุ่มผู้ต่อต้านราชวงศ์แมนจูกับผู้จงรักภักดีต่อราชวงศ์หมิง ซึ่งยืนหยัดต่อต้านระบบการปกครองใหม่



    ราชสำนักสยาม ผู้ควบคุมการค้าต่างประเทศของสยามก็สามารถออกแบบวิธีการอันชาญฉลาด เพื่อขยายปริมาณการค้าให้เต็มที่ เท่าที่ระบบจะรับได้ภายใต้ภาวะที่ดูเหมือนจะเป็นข้อจำกัดนั้น อันที่จริง ชาวสยามถือว่าสมควรที่จะตีความเรื่องการยอมรับระบบการค้าบรรณาการอย่างเสรีโดยไม่ทำลายระบบ ดูเหมือนว่าช่วงก่อนการสร้างความมั่นคงทางการทหารและสภาพการณ์ทางการเมืองของจีนในตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 1650 ถึง 1860 นั้นชาวสยามได้พยายามทุ่มเททำการค้าในส่วนที่เป็นการค้าบรรณาการนี้กับจีน แม้จะเป็นที่ยอมรับกันว่าพวกเขาได้ทำการค้าโดยไม่ได้รับอนุญาตกับฮกเกี้ยนและฟอร์โมซา (พื้นที่ที่พวกต่อต้านราชวงศ์ชิงควบคุมอยู่) บ้างด้วยเช่นกัน


    หลังจากที่ราชวงศ์แมนจูพิชิตจีนได้ไม่นานนัก รัฐบาลใหม่ได้นำเอามาตรการความมั่นคงชุดหนึ่งมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของปฎิบัติการที่ดำเนินอย่างต่อเนื่องเพื่อต่อต้านกลุ่มผู้จงรักภักดีต่อราชวงศ์หมิงที่หลงเหลืออยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่น่าสังเกตุคือ คนในตระกูลเจิ้ง (Cheng) คนแรกคือ เฉิงกง หรือโคชิงกา และต่อมาคือ ลูกชายของเขา ชื่อ เจิ้งจิง / Cheng Ching) มีการประกาศห้ามเดินทางและทำการค้าโพ้นทะเลซึ่งรู้จักกันโดยทั่วไปว่า ไห่จิ้น (Hai chin) และมีรูปแบบตามที่ราชวงศ์หมิงกำหนดไว้ ทำให้ขบวนการเดินเรือระหว่างกวางตุ้ง ฮกเกี้ยน เจ้อเจียงกับเกียงหนาน/เจียงหนาน เป็นเรื่องผิดกฏหมาย และมีความพยายามทีจะใช้กำลังโยกย้ายการตั้งถิ่นฐานตามเขตชายฝั่งของกวางตุ้งและฮกเกี้ยน ให้เข้ามาสู่พื้นที่ตอนในระยะ 30 ถึง 50 ลี้ (11-18 ไมล์) ในสถานการณ์เช่นนี้ การค้าใดๆ กับต่างประเทศดูจะเป็นไปไม่ได้โดยแท้จริง แต่ด้วยความสามารถของราชสำนักสยามในการรับมือกับปัญหาและความร่วมมืออย่างเต็มใจจากฝ่ายจีน (ผ่านเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจของกวางตุ้ง ผู้เป็นตัวแทนระบบการปกครองแมนจู รวมทั้งพ่อค้าชาวจีนด้วย) การค้าจีน-สยามจึงเกิดขึ้นได้ตลอดสมัยนี้ การค้าแบบที่ดำรงอยู่ในขณะนั้นมีรูปแบบสองอย่าง


    ทางฝ่ายสยามดำเนินการในรูปการค้าระบบบรรณาการเป็นหลัก ส่วนทางฝ่ายจีนจัดการโดยพ่อค้าเอกชนภายใต้การคุ้มครองของระบบการปกครองที่เมืองกวางตุ้งของตระกูลซ่าง (ซ่างเขอสี่ /Shang K'O-hsi) เป็นผู้พิชิตกวางตุ้ง และสวามิภักดิ์ต่อแมนจูเพื่อแลกกับการได้ปกครองมณฑลนั้น กับซ่างจือสิ้น (Shang Chih-hsin บุตรของเขา) ส่วนอีกรูปแบบหนึ่งกระทำอย่างลับๆทั้งหมด คือการค้าระหว่างราชสำนักสยามกับพวกเจิ้ง ที่ฟอร์โมซาและฮกเกี้ยน



    หากประเทศใดมีขุนนางที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนและครอบครัวมากๆจนสามารถทรยศต่อประเทศตนเองได้แล้วไซร้ ประเทศนั้นๆก็จะต้องอ่อนแอลง ตัวอย่างของตระกูลซ่าง ก็เป็นแบบนี้ <!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 พฤศจิกายน 2009

แชร์หน้านี้

Loading...